The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 3 เรื่องเครื่องเจาะและงานเจาะ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jakkrit.3773, 2021-05-30 22:17:20

หน่วยที่ 3 เรื่องเครื่องเจาะและงานเจาะ

หน่วยที่ 3 เรื่องเครื่องเจาะและงานเจาะ

ในการเจาะรูบนชิ้นงานสามารถทาํ ด้วยเคร่ืองจักรกล
หลายชนิด เช่น การเจาะรูบนเครื่องกลงึ เจาะรูบนเครื่องกดั
เป็ นต้น แต่ในการเจาะรูทปี่ ระหยดั รวดเร็ว และนิยมใช้กนั
มากทสี่ ุดคอื การเจาะรูด้วยเครื่องเจาะ ดงั น้ัน เครื่องจกั รกล
พนื้ ฐานทจ่ี ะกล่าวในบทนีค้ อื เครื่องเจาะ และงานเจาะ

1 ชนิดของเคร่ืองเจาะ
2 สว นประกอบที่สาํ คัญของเคร่ืองเจาะ
3 เครื่องมือและอปุ กรณทใี่ ชก บั เครื่องเจาะ
4 ขั้นตอนการทาํ งานของเครอ่ื งเจาะ

5 การคํานวณความเรว็ ในงานเจาะ
6 การบํารงุ รักษาเคร่อื งเจาะ
7 ความปลอดภยั ในการใชเ ครื่องเจาะ

1 บอกชนิดของเครือ่ งเจาะได
2 บอกสวนประกอบที่สาํ คัญของเคร่ืองเจาะได
3 บอกเคร่ืองมือและอุปกรณที่ใชก บั เคร่อื งเจาะได
4 อธิบายขัน้ ตอนการใชเ ครื่องเคร่ืองเจาะได

5 สามารถคํานวณหาความเร็วในงานเจาะได
6 บอกวิธบี าํ รุงรกั ษาเครื่องเจาะได
7 อธบิ ายความปลอดภัยในการใชเ ครอ่ื งเจาะได

เครอ่ื งเจาะ และงานเจาะ

ในการเจาะรูบนช้ินงานสามารถทําไดดวยเคร่ืองจักรกล
หลายชนิด เชน การเจาะรูบนเครื่องกลึง เครื่องกัด เปนตน
แตในการเจาะรูที่ประหยัดเวลา รวดเร็ว และนิยมใชกันมาก
ท่ีสุด คือ การเจาะรูดวยเคร่ืองเจาะ ดังนั้น เคร่ืองจักรกล
พ้ืนฐานท่ีจะกลาวในบทน้ี คือ เคร่ืองเจาะสามารถจําแนกตาม
ลักษณะของเคร่ืองได 2 แบบ ไดแก เครื่องเจาะแบบต้ังโตะ
และเครอื่ งเจาะแบบต้งั พ้ืน

ชนดิ ของเครอ่ื งเจาะ
เคร่ืองเจาะท่ีใชในงานอุตสาหกรรมการผลิต โรงงานฝกชาง

และโรงงานซอ มบํารุง แบง ออกไดเ ปนหลายชนิด ไดแ ก

1. เครื่องเจาะแบบตัง้ โตะ

เคร่ืองเจาะตั้งโตะ (Bench Drilling Machine) เปนเครื่อง
เจาะขนาดเล็กสามารถเจาะรูไดข นาดไมเ กนิ 13 ม.ม. โดยมีความเร็ว
รอบสูง การสงกําลังโดยทั่วไปจะใชสายพานและปรับความเร็วรอบ
ดวยลอสายพาน ประมาณ 2 - 3 ขั้น เทานั้น เคร่ืองเจาะต้ังโตะ
ประกอบดวยสวนทสี่ าํ คญั และหนาท่กี ารใชงาน

เครื่องเจาะแบบตั้งโตะ

2. เคร่อื งเจาะแบบต้งั พื้น
เปนเคร่ืองเจาะขนาดใหญและเจาะรูบนชิ้นงานที่มี

ขนาดใหญ เจาะรูไดต้ังแตขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญสุดเทาท่ี
ดอกสวา นมี และใชง านอื่น ๆ ไดอยางกวางขวางการสงกําลัง
ปกติจะใชชุดเฟองทด จึงสามารถปรับความเร็วรอบไดหลาย
ระดบั และรบั แรงบดิ ไดสงู

เครื่องเจาะตั้งพ้นื

3. เครอ่ื งเจาะแบบรัศมี (Radial Drilling Machine)
เปนเครื่องเจาะขนาดใหญและ

เจาะรูบนชิ้นงานที่มีขนาดใหญกวา
เคร่ืองเจาะต้ังพ้ืน โดยที่หัวจับดอก
สวานจะเล่ือนไป-มาบนแขนเจาะ
(Arm) จึงสามารถเจาะงานไดทุก
ตําแหนง โดยติดต้ังงานอยูกับที่
สามารถเจาะช้ินงานอัตโนมัติโดยการ
หมุน และเคล่ือนที่แกนหมุนไปเจาะ
ชิ้นงานโดยชิ้นงานถูกจับยึดอยูกับที่
การสง กําลังปกตจิ ะใชช ดุ เฟอ งทด

สว นประกอบท่ีสาํ คญั ของเครื่องเจาะแบบตัง้ โตะ

แกนเพลา มอเตอร
หวั จับดอกสวาน
ชุดหัวเคร่ืองเจาะ
โตะงาน แขนปอ นเจาะ

ฐานเคร่อื งเจาะ เสาเครอื่ งเจาะ
แขนจบั ยึดโตะ งาน

สว นประกอบท่ีสาํ คญั ของเคร่ืองเจาะแบบตัง้ พ้ืน

สวติ ท เปด -ปด มอเตอร
ชุดหวั เคร่อื งเจาะ
หัวจับดอกสวา น แขนปอ นเจาะ
โตะ งาน เสาเครอื่ งเจาะ

แขนหมนุ เคลอื่ นทโ่ี ตะงาน แขนจับยึดโตะงาน
ฐานเครอ่ื งเจาะ

สว นประกอบทีส่ าํ คญั ของเครอื่ งเจาะแบบตงั้ โตะและตง้ั พื้น
1. ฐานเครอื่ ง (Base) ทาํ ดวยเหล็กหลอ เปน สว นที่รองรบั นาํ้ หนกั

ทง้ั หมดของเครอ่ื งเจาะ เครื่องเจาะแบบต้งั โตะยดึ ติดแนนบนโตะ เพ่ือ
เพ่มิ ความสงู ทาํ ใหส ะดวกในการยืนปฏิบตั ิงาน สวนฐานเครือ่ งของ
เครอ่ื งเจาะตัง้ พน้ื จะยึดตดิ อยบู นพนื้ โรงงาน เนอ่ื งจากเครอ่ื งมคี วามสงู
พอที่จะยืนปฏบิ ตั ิงานไดส ะดวก

2. เสาเครือ่ งเจาะ (Column) จะเปนเหลก็ รปู ทรงกระบอก
กลวง เปน สวนทีย่ ดึ ตดิ กับฐานเคร่อื ง เพื่อรองรับชุดหวั เครื่อง
และรองรบั โตะงาน

3. โตะ งาน (Table) สวนใหญทาํ ดวยเหล็กหลอ มที ัง้ ที่เปนรูป
วงกลมหรือเปนรปู ส่ีเหลีย่ ม เปน สว นทร่ี องรบั ช้นิ งานทตี่ องการ
เจาะ หรืออาจจะรองรับอุปกรณจบั ยดึ ชิ้นงาน เชน ปากกาจบั งาน
เปนตน โตะ งานสามารถหมุนรอบเสาเครื่องและเล่อื นข้ึนลงไดด วย
การหมนุ แขนหมนุ สงกาํ ลังดว ยชุดเฟอ งสะพาน เมือ่ ไดตาํ แหนง ที่
ตองการก็สามารถยดึ ใหแ นน กับเสาเครือ่ งได โตะ งานของเครื่อง
เจาะบางเคร่อื งอาจจะเอียงทํามุมไดอ ีกดว ย

4. ชุดหัวเคร่อื ง (Drilling Head) จะอยบู นสดุ ของเครอื่ งเจาะ

ประกอบดว ยสว นตางๆ ทส่ี าํ คัญ ดังน้ี

5. มอเตอรสงกําลัง (Motor) เปน ตน กาํ ลงั ในการขบั เคลื่อน

แกนเพลาเพอ่ื ใหหวั จับดอกสวานหมุนพาดอกสวา นเจาะชนิ้ งาน โดยทวั่ ไป
จะเปน แบบใชไฟฟา 220 โวลต

6.สายพานและลอ สายพานสงกําลงั (Belt & Pulley) เคร่ือง

เจาะแบบต้งั พื้นมีแบบสง กาํ ลังดวยเฟอ ง ทําใหส ง กําลงั ไดด ีและสามารถ
เปลี่ยนความเรว็ รอบไดส ะดวก

7.ฝาครอบ (Pulley Guard) มีไวค รอบระบบสงกาํ ลังสายพาน
หรอื เฟองเพื่อปองกนั อนั ตราย

8.หัวจับดอกสวาน (Drill Chuck) ใชจับดอกสวา นกานตรง
สวนใหญมีขนาดไมเ กิน 1/2 นิ้ว หรอื ประมาณ 12.7 มม.

9.แขนหมุนปอนเจาะ (Hand Feed Level) ใชส ําหรับปอ น
แกนเพลาเครอ่ื งเจาะ เพื่อปอนสวา นลงเจาะชนิ้ งาน
10.สวิตชป ด เปด (Switch) ใชใ นการเปด ปด มอเตอรใหท าํ งานหรอื
หยุดการทาํ งาน

สวนประกอบท่ีสําคญั ของเคร่อื งเจาะแบบรศั มี

มอเตอร มอเตอร
เสาเครอ่ื ง หวั เครอ่ื ง
สวิตซ เปด-ปด แขนรัศมี

ฐานเคร่อื งเจาะ โคมไฟสอ งสวา ง

แกนเพลา

โตะ งาน

สว นประกอบที่สําคัญของเครือ่ งเจาะแบบรศั มี

1. ฐานเครอื่ ง (Base) เปนสวนท่ีติดต้งั อยูกบั พนื้ โรงงาน ทําดวย
เหล็กหลอ เปน สว นทร่ี องรับนาํ้ หนกั ทง้ั หมดของเคร่ือง

2. เสาเครอ่ื ง (Column) มีลกั ษณะเปนเสากลมใหญกวา เสาเครอ่ื ง
เจาะธรรมดา จะยึดตดิ อยูกับฐานเครอื่ ง จะเปนท่เี คลอ่ื นข้นึ ลงและจบั
ยึดของแขนรศั มี

3. แขนรัศมี (Radial Arm) สามารถเลือ่ นขึ้นลงไดบ นเสาเครื่อง
และสามารถหมุนรอบเสาเคร่ืองไดเ พ่ือหาตาํ แหนงเจาะงาน เปนสวนท่ี
รองรบั ชุดหัวเครอ่ื ง

4. ชดุ หวั เคร่ืองเจาะ (Drilling Head) อยบู นแขนรัศมี สามารถ
เลือ่ นเขาออกไดต ามความยาวของแขนรศั มี เพื่อหาตําแหนงเจาะรู

5. แกนเพลา (Spindle) เปนรปู ทรงกระบอก ภายในเปน รูเรยี ว
สําหรับจับยดึ กานเรียวของหวั จบั ดอกสวาน หรือจบั กา นเรียวของ
ดอกสวานทีม่ ขี นาดใหญ

6. โตะงาน (Table) เปน อปุ กรณท ย่ี ึดตดิ อยบู นฐานเคร่ือง จะมี
รอ งตวั –ที เพือ่ ใชจับยดึ ชนิ้ งานโดยตรง หรือใชส ําหรบั จบั ยึดปากกา
จับงาน หรอื อุปกรณอ่ืนๆ

7. มอเตอร (Motor) เปน ตน กาํ ลงั ท่สี ง กาํ ลังไปหมุนแกนเพลา
เพอื่ หมุนดอกสวานเจาะงาน หรือสง กาํ ลงั เพอื่ ขับเคลือ่ นสวนตางๆ
อตั โนมัติ เนื่องจากชน้ิ สว นแตละสวนมีขนาดใหญ

8. สวติ ซ เปด -ปด (Switch ON-OFF) ใชส าํ หรับ เปด ปด มอเตอร
ในการปฏบิ ตั งิ าน

เคร่ืองมือ และอปุ กรณท ี่ใชกับเครอ่ื งเจาะ

1. ดอกสวา น
เปนอุปกรณช นิดหนึ่งที่ใชเจาะรูบนช้ินงานใหไดขนาด

ตามตองการเปนท่ีนิยมกันมาก เพราะสามารถใชงานไดงาย
และสะดวกประหยัดเวลา

สวนตา งๆ ของดอกสวา น

กัน่ กา นเรียว รองดอกสวา น ขอบคม สนั คม

คอสวา น

ความยาวกาน ความยาวรอ งดอกสวาน

ความยาวลาํ ตวั ดอกสวา น
ความยาวดอกสวานทัง้ หมด

สวนตา งๆ ของดอกสวา น

1) กน่ั (Tang) จะมเี ฉพาะสวา นกานเรยี วเทานนั้ จะอยูตรงปลาย

สดุ ของกานเรยี ว มไี วส ําหรับใชเ หลก็ ถอดตอกออกจากแกนเพลา
(Spindle) ของเคร่ืองเจาะหรือถอดออกจากปลอกเรยี ว

2) กา น (Shank) จะมีกานของดอกสวา นอยู 2 แบบ คอื

2.1 สวา นกานตรง (Straight Shank Drill) เปนสวานทม่ี ีขนาด
เลก็ สวนมจากมขี นาดเสนผา นศนู ยกลางไมเกิน 1/2 นว้ิ หรอื
ประมาณ 12.7 มม. เวลาใชง านจะตองจบั ดวยหัวจับดอกสวา น

2.2 สวานกา นเรยี ว (Taper Shank Drill) เปนสวา นที่มี
ขนาดใหญ สวนมากจะมขี นาดมากกวา ½ น้วิ หรอื 12.7
มม. ขึน้ ไป ตรงกานเรยี วเปนเรยี วมาตรฐานมอส เวลาใช
งานจะสวมเขา กับรูเรยี วของเครอ่ื ง เชน เครื่องเจาะ หรอื รู
ศนู ยท า ยของเครอ่ื งกลงึ ฯลฯ

3) ขอบคม (Margin) มีลักษณะเปน สันนนู ออกมาจากผิวของดอก
สวาน ทาํ ใหลดการเสยี ดสรี ะหวางผิวดอกสวานกบั ชิน้ งาน

ขอบคม สันคม

4) สันคม (Land) ผวิ สวนนจ้ี ะต่าํ กวาขอบคม เพอ่ื ลดการการเสยี ดสี
กับชิน้ งาน
5)รองเกลยี วดอกสวา น (Flutes) รอ งดอกสวานทัว่ ๆ ไปจะมี 2 รอง
การกัดรอ งดอก-สวา นทําใหเ กดิ คมตดั และรองยังเปนท่สี าํ หรับคายเศษ
โลหะท่ดี อกสวา นเจาะออกมา ถา เศษโลหะคายออกมาไมได อาจจะทําให
ดอกสวานหักได
6) มมุ บดิ ของดอกสวา น (Helix or Rake Angle) คือ มุมทรี่ อ งสวานบิด

ทํามุมกบั แกนกลางของดอกสวาน
รองเกลียวดอกสวา น มมุ บิด

7) แกนกลางดอกสวา น (Web) คอื เนื้อโลหะแกนกลางของดอก
สวา น ชว ยทําใหสวา นมคี วามแขง็ แรง เม่อื ดอกสวานสน้ั ลง
แกนกลางยง่ิ หนาขึ้นเร่อื ยๆ

แกนกลาง
ดอกสวาน

ดอกสวา นแบบตางๆ

ก. ดอกสวา นกานตรงขนาด12.7 มม. จ. สวานแบบ 2 ขั้น
ข. สวานกา นตรงมคี มตัดแบบคารไบด ฉ. สวานแบบมีรอ งน้าํ มัน
ค. สวานกา นตรงแบบคารไบด ช. สวา นแบบ Spade
ง. สวา นแบบ 3 รอ ง

ชนิดของดอกสวา น
ดอกสวา นแบงตามลักษณะได 2 ชนิด

1. สวานกานตรง เปนสวา นท่ีมี
ขนาดเลก็ และมีขนาดเสน ผาน
ศนู ยกลางไมเ กิน ½” หรอื
ประมาณ 12.7 มม. จะใชงาน
รว มกับหัวจับดอกสวา น

2. สวานกานเรียว สวนมากจะมีขนาดมากกวา ½ น้ิว หรือ
12.7 มม. ข้ึนไป ท่ีกานดอกสวานจะมีลักษณะเรียวมาตรฐาน
มอส เวลาใชงานจะสวมเขากับรูเรียวของเพลาหมุนของเครื่อง
เจาะ

ขนาดของดอกสวา น
ขนาดของดอกสวานโดยทัว่ ไปจะกําหนดขนาดไวดังนี้
1. กาํ หนดขนาดเปนมิลเิ มตร
2. กาํ หนดขนาดเปนเศษสว นของนิว้ มขี นาดตง้ั แต 1/64 ถึง 4 นิ้ว
3. กําหนดขนาดเปนตัวอักษร ต้ังแต A – Z มีขนาดต้ังแต
0.234 นิว้ ถึง 0.413 นิว้
4. กําหนดขนาดเปนนัมเบอร จะมีต้ังแตนัมเบอร 1 – 80 เปน
ระบบนิ้ว นัมเบอร 80 จะมีขนาดเล็กสุด = 0.0135 น้ิว และนัม
เบอร 1 จะมีขนาดใหญสดุ = 0.228 น้ิว

เกจตรวจขนาดดอกสวาน (Drill Gauge หรือ Wire Gauge)

2. การผายปากรู (Counter Sink)
การผายปากรูจะใชดอกผายปากรูท่ีมีมุม 60 องศา มุม 90

องศา และมีขนาดความโตหลายขนาด เพ่ือทําหนาท่ีผายปากรูท่ี
เจาะเปน มุมเพื่อฝง หัวสกรู และลบคมปากรู

การผายปากรเู ปน บาฉาก (Counter Bore)
การผายปากรใู หเปน บาฉากเพื่อฝงหวั สกรูที่เปน หวั บา ฉาก

หรอื เรียกวา สกรหู วั Socket

3. การควานละเอียด (Reaming)
รีมเมอร (Reamers) หรืองานควานเรียบ เพื่อปาดผิดของ

รูเจาะ รูควาน หรือผิวรูฝงใหเรียบรอยและสม่ําเสมอเทากัน งาน
บางอยางผิวของงานจากการเจาะยังไมเรียบพอหรืออาจจะมีขนาด
เสน ผาศนู ยกลางจากการเจาะไมไ ดพ ิกดั ตามตองการ จําเปนจะตอง
ทําการควานละเอียดอกี ครั้งหนึ่งแตการเจาะรูจะตองมีขนาดเล็กกวา
รูท่ีจะทําการควาน การกําหนดขนาดรูที่จะเจาะกอนทําการควานดู
ไดจากตาราง

ดอกรีมเมอรแบง ออกเปน 2 ชนดิ คือ
1. ดอกรมี เมอรดวยมือ (Hand Reamer)
2. ดอกรีมเมอรดวยเคร่ือง (Machine Reamer)

ดอกควา นละเอียด (Reamer)

ดอกควานละเอียดดว ยมือ

3.1 ดอกรมี เมอรดว ยมอื (Hand Reamer)
- เจาะรูใหเล็กกวาขนาดจริงดวยเคร่ืองเจาะขนาดดูไดจาก

ตาราง เชน ตองการควานรูละเอียด 20 มม. จะตองเจาะรู 20
– 0.3 เทากบั 19.7 มม.

- จบั ยึดชนิ้ งานดว ยปากกาใหม ั่นคง

- ทําการควานละเอียดดวยมือโดยใชดามตาปเกลียว หมุน
ในทิศทางตามเข็มนาฬิกา และใหหมุนในทิศทางเดียว หามหมุน
กลับเพราะจะทําใหผิวงานไมเรียบและอาจทําใหฟนดาบชํารุด
เสียหาย ถามีความจําเปนจะตองนําดอกควานรูออกใหหมุนใน
ทิศทางเดมิ แตไมตองกดดอกตาป แลว ดึงดอกตาปข้ึน

3.2 ดอกรีมเมอร์ด้วยเคร่ือง (Machine Reamer)

- จับยดึ ชน้ิ งานบนเครอื่ งเจาะ
- เจาะรูใหเล็กกวาขนาดจริง เชน ตองควานรู 20 มม. จะตองเจาะรู
ขนาด 20 – 0.30 เทากบั 19.7 มม.
- ถา ตอ งการปอนอตั โนมตั ิ ควรตง้ั อตั ราปอนอยทู ่ี 0.01 มม/รอบ
- ทําการควานละเอียดดวยความเร็วประมาณ 1/2 หรือ 1/3 ของ
ความเร็วงานเจาะ
- ทําการควานละเอียดดวยเครอื่ งเจาะ

- ทาํ การควา นละเอียดดว ยเครื่องเจาะ

4. หวั จับดอกสวาน
ทําหนาที่จับดอกสวานที่เปนกานตรง เพื่อใชเจาะงานหรือจับ
ดอกรีมเมอรกา นตรงประกอบดวย

หวั จบั ดอกสวานทีใ่ ชประแจขนั หวั จับดอกสวานท่ีใชม อื ขันจบั

5. ดอกเจาะนําศูนย (Center Drill)
เปนดอกเจาะนํากอนท่ีจะทําการเจาะดวยดอกสวานลงบน

ช้ินงาน เปนดอกเจาะท่ีใชสําหรับการเจาะรูเรียวในชวงเริ่มตนของ
การทํางาน เพื่อจะนําไปใชงานตอหรือเจาะตอ ซึ่งเรียกการเจาะน้ี
วาเจาะนาํ

6. การตาปเกลยี ว
เปนอุปกรณอีกชนดิ หนึ่งที่สามารถนํามาใชก บั เครอื่ งเจาะได ใช
ประโยชนใ นการทาํ เกลยี วเพ่อื ใชง าน ดอกตาปเกลยี วหน่ึงชดุ จะมี 3
ดอก การตาปจะเร่มิ จาก 1. Taper 2. Plug 3. Bottoming

ชุดดอกตาปทต่ี าปบนเคร่ือง (ก) Gun (ข) Stub Flute (ค) Spiral Flute

(ก)
(ข)
(ค)

7. เหลก็ ตอกนาํ ศนู ย (Center Punch)
โดยกอนทําการเจาะจะตองกําหนดตําแหนงรู โดยใชเหล็ก

ขีดหมายตําแหนงไวกอน ใชเหล็กนําศูนยตอกนํารูตรงตําแหนง
เจาะ แลว จึงจบั ยึดช้นิ งานบนแทน วางช้นิ งาน

8. ปลอกเรยี ว (Sleeve)
ใชส าํ หรบั สวมกบั กานเรยี วดอกสวา น หรอื กา นเรียวหัวจับดอก

สวา นทม่ี ขี นาดเล็ก ในกรณีเรียวในของเคร่อื งเจาะมีขนาดใหญกวา

9. ปลอกเรียวลดระดบั (Drill Socket หรือ Fitted Socket)
ใชสําหรับสวมกบั กานเรยี วดอกสวา นหรอื สวมกับกานเรียว

ของหัวจบั ดอกสวานที่มขี นาดใหญ ในกรณีเรยี วในของเครื่อง
เจาะมีขนาดเล็กกวา

10. เหล็กถอดดอกสวาน (Drill Drift)
เหลก็ ถอดดอกสวาน (Drill Drift) เปนอุปกรณท ่ใี ชถอดดอก
สวา นออกจากเรียวหรอื ถอดออกจากเครือ่ งเจาะ

11. ปากกาจับงาน (Vises)
ปากกาจับงาน (Vises) เปนอุปกรณทีจ่ ําเปนและใชม ากในงาน

เจาะเพราะทําใหจ บั ยดึ งานไดสะดวกรวดเร็ว

ขั้นตอนการทํางานของเครอ่ื งเจาะ
1. การรางแบบงานเจาะ
การรางแบบ หมายถึง การเขียนแบบงานท่ีมีรายละเอียด
เกี่ยวกับลักษณะรูปรางและขนาดของช้ินงานจากแบบส่ังงานลง
บนผิววัสดเุ พอ่ื นาํ วัสดนุ ้นั ไปผานกระบวนการตดั เฉอื นขึน้ รูปใหเปน
ชิ้นงานตอ ไป

การใชนาํ้ ยารางแบบทาชนิ้ งาน


Click to View FlipBook Version