The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 41990, 2022-09-11 10:38:11

การปกครองระบอบประชาธิปไตย

พระมหากษัตริย์

พกปราระระมปเชปหก็านาคธิกปปรษอรไังะตตรมยรุะิขยอบ์ัทนอรมบีง

จัดทำโดย



นางสาว ชาลิสา สุขศีล



ชั้น ม.6/4

การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระ
มหากษตัริยเ์ป็น ประมุข : ราชาธิปไตยภาย
ใตร้ ฐั ธรรมนูญ (constitutional
monarchy)พระราชอาํนาจของพระมหากษัตริ
ยถ์กูจำกัดอยู่ภายใต้ รัฐธรรมนูญ
พระมหากษัตริยไ์มท่รงเป็นประมุขของฝ่าย
บริหาร เพราะฝ่ายบริหารมีนายกรฐั มนตรีจาก
ประชาชนเป็นหวั หน้าหรือประมุขอยู่เเล้วการ
ปกครองแบบน้ีเรียกอีกช่ือวา่ปริมิตาญาสิทธิ
ราชย์(limitedmonarchy)ซ่ึงไมเ่หมือนกษัตรา
ชาธิปไตยโดยสมบรูณ์

พระมหากษตัริยท์รงปกเกลา้แตม่ิไดป้กครอง (The
King reigns but does not rules) คือ

1.ทรงทาํหนา้ท่ีตามรฐัธรรมนูญ เชน่ การแต่งต้งันา
ยกฯยุบสภา

2.ปฏิบตัิพระราชภารกิจอยา่งเป็น ทางการเชน่ พระ
ราชพิธีงาน พระราชกุศลต่างๆ

3.ทรงเป็นสญั ลกัษณแ์ละศนูยร์วม จิตใจของชาติ
1.องคป์ ระกอบท่ีมี ประสิทธิภาพ (efficient)

+2.องคป์ระกอบที่ทรงไวซ้่ึง เกียรติยศ (dignfied)
(Walter Bagehot,1967)

ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขจะก่อ
ให้เกิดความเป็น “ปกติสุข” และ “ประโยชน์สุข” กับประชาชน
คนไทยอย่างแท้จริงในศตวรรษที่ 21 ก็ต่อเมื่อเรามีความสมดุล
ใน 3 องค์ประกอบสำคัญ
1) มีสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นศูนย์รวมใจของคนในชาติ
2) มีรัฐที่น่าเชื่อถือ
3) มีพลเมืองที่ร่วมรับผิดรับชอบ
ทั้ง 3 องค์ประกอบนี้เชื่อมโยงสัมพันธ์กันอย่างสนิท ความ
สมบูรณ์ในแต่ละองค์ประกอบย่อมส่งผลในองค์รวม ทำให้
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขเกิด
ความเข้มแข็งและยั่งยืน

สัญญาประชาคมที่มีต่อกัน
การปกครองของไทยที่สืบเนื่องมาแต่โบราณมี “สัญญา
ประชาคม” ที่พระเจ้าแผ่นดินจะทรงยึดถือในการปฏิบัติพระ
ราชภารกิจเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของการเป็นประมุขของชาติ
อยู่ 3 ประการด้วยกัน คือ
1) ทรงไว้ซึ่งพระมหากรุณาธิคุณที่ยิ่งใหญ่และไม่มีที่สิ้นสุดต่อ
พสกนิกร
2) ทรงไว้ซึ่งทศพิธราชธรรม เป็นเครื่องกำกับพระราชจริยวัตร
โดยเฉพาะอย่างยิ่งความมั่นคงอยู่กับความถูกต้อง หรือ “อวิโร
ธนัง”
3) ทรงไว้ซึ่งการวางพระราชหฤทัยในสายกลางโดยไม่ทรง
กระทำสิ่งใดตามอำเภอใจ
หลักการทั้งสามข้อนี้กำหนดขึ้น เพื่อให้มั่นใจว่าสังคมไทยจะมี
“สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นศูนย์รวมใจของคนในชาติ”
อย่างแท้จริง
ภายใต้ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุขนั้น มี “โครงสร้างการปกครอง” ที่ออกแบบไว้ให้มีการ
แบ่งบทบาทภารกิจที่เติมเต็มซึ่งกันและกันระหว่างสถาบัน
กษัตริย์กับฝ่ายบริหาร โดยสถาบันกษัตริย์มีบทบาทภารกิจที่
สำคัญอย่างยิ่งยวดใน “กลไกกำกับความต่อเนื่อง”
(Continuing Factor) ของชาติ ฝ่ายบริหารที่ผ่านการเลือก
ตั้งมาแล้วก็ไปตามวาระ อย่างน้อยก็มีสถาบันกษัตริย์ที่คอยปก
ปักษ์รักษาความต่อเนื่องของความเป็นเอกราช เอกภาพ และ
เอกลักษณ์ของความเป็นชาติ ตลอดจนพันธกิจและวาระ
สำคัญๆของประเทศ
ในขณะที่ฝ่ายบริหารมีบทบาทภารกิจใน “กลไกขับเคลื่อน
การเปลี่ยนแปลง” (Change Factor) ที่สอดรับกับพลวัตโลก
ภายนอก ควบคู่ไปกับการสนองตอบความอยู่ดีมีสุข และ
บรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนในประเทศ


Click to View FlipBook Version