The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือ ปวช.ปวส65(1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pornsuda.1126, 2022-05-08 07:06:03

คู่มือ ปวช.ปวส65(1)

คู่มือ ปวช.ปวส65(1)

๕๑

กฎกระทรวง
กาหนดความประพฤตขิ องนักเรยี นและนกั ศึกษา

พ.ศ. ๒๕๔๘
*******************************
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๖๔ แหํงพระราชบัญญัติคุ๎มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖
อันเป็นกฎหมายท่ีมีบทบัญญัติบางประการเก่ียวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลซ่ึงมาตรา ๒๙
ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๔ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๓๙ มาตรา ๔๘ และ มาตรา ๕๐ ของ
รัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย บัญญัติให๎กระทําได๎โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหํงกฎหมาย
รัฐมนตรีวาํ การกระทรวงศึกษาธิการออกกฎกระทรวงไว๎ ดงั ตอํ ไปน้ี
ขอ๎ ๑ นกั เรยี นและนกั ศกึ ษาต๎องไมํประพฤติตน ดงั ตอํ ไปนี้
(๑) หนเี รียนหรือออกนอกสถานศกึ ษาโดยไมไํ ด๎รับอนุญาตในชํวงเวลาเรยี น
(๒) เลํนการพนัน จัดให๎มกี ารเลํนการพนัน หรอื มวั่ สมุ ในวงการพนัน
(๓) พกพาอาวุธหรอื วตั ถุระเบดิ
(๔) ซ้ือ จําหนําย แลกเปล่ียน เสพสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ส่ิงมึนเมา บุหรี่ หรือยา
เสพตดิ
(๕) ลักทรพั ย์ กรรโชกทรพั ย์ ขํมขูํ หรือบงั คับขนื ใจเพ่อื เอาทรัพยบ์ คุ คลอ่นื
(๖) กํอเหตุทะเลาะวิวาท ทําร๎ายรํางกายผู๎อื่น เตรียมการหรือกระทําการใด ๆ อันนําจะ
กอํ ให๎เกดิ ความไมสํ งบเรยี บรอ๎ ยหรอื ขัดตํอศลี ธรรมอันดีของประชาชน
(๗) แสดงพฤตกิ รรมทางชสู๎ าวซ่ึงไมเํ หมาะสมในท่สี าธารณะ
(๘) เกีย่ วขอ๎ งกับการคา๎ ประเวณี
(๙) ออกนอกสถานที่พักเวลากลางคืน เพ่อื เท่ยี วเตรหํ รือรวมกลุํม อันเป็นการสรา๎ งความ
เดือดรอ๎ น ใหแ๎ กตํ นเองหรือผู๎อ่ืน
ข๎อ ๒ ให๎โรงเรียนหรือสถานศึกษากําหนดระเบียบวําด๎วยความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษา
ได๎เทาํ ทีไ่ มขํ ดั หรอื แยง๎ กบั กฎกระทรวงน้ี
ให๎ไว๎ ณ วนั ที่ ๒๗ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๘

จาตุรนต์ ฉายแสง
รัฐมนตรวี าํ การกระทรวงศึกษาธกิ าร

หมายเหตุ : - เหตุผลในการประกาศใช๎กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๖๔ แหํงพระราชบัญญัติค๎ุมครอง
เด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ บัญญัติให๎นักเรียนและนักศึกษาต๎องประพฤติตนตามระเบียบของโรงเรียนหรือสถานศึกษา
และตามทก่ี าํ หนดในกฎกระทรวง จึงจําเปน็ ตอ๎ งออกกฎกระทรวงนี้

๕๒

ระเบียบวิทยาลัยสารพัดช่างนครศรีธรรมราช
วา่ ด้วยการปกครองนักเรยี น นักศึกษา
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔)

*****************************************************
อาศยั ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธกิ าร วาํ ด๎วยการลงโทษนกั เรยี น พุทธศักราช ๒๕๔๘ และระเบียบ
ปกครองนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยสารพัดชํางนครศรีธรรมราช ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๘ เพ่ือให๎การ
ปกครองดูแลนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยสารพัดชํางนครศรีธรรมราช เป็นไปด๎วยความเรียบร๎อยทันตํอ
ภาวการณเ์ ปล่ียนแปลงของเศรษฐกจิ สงั คม และการเมือง เพ่ือให๎แนวปฏิบัติที่ชัดเจนงานปกครอง ฝุายพัฒนา
กจิ การนกั เรียน นกั ศึกษา วิทยาลยั สารพดั ชํางนครศรีธรรมราช ไดก๎ าํ หนดแนวปฏบิ ตั ิใหก๎ ับนักเรียน ดงั นี้
๑. การลาปว่ ย/ลากจิ ของนกั เรียน นกั ศึกษา
๑.๑ ลาปุวย ลากิจ ให๎ผูป๎ กครองลงนามรบั รอง และถ๎าลาปุวยเกนิ ๓ คร้ัง ให๎แนบใบรับรองแพทย์หรือ
อยใํู นดลุ ยพนิ ิจของครปู ระจําวิชา เปน็ ผูอ๎ นญุ าต
๒. การว่ากล่าวตกั เตือน
๒.๑ ในกรณีการกระทําความผิดระเบียบของกระทรวงศึกษาธิการและระเบียบปกครองของ
สถานศกึ ษาในสถานเบาและได๎กระทาํ ผิดซ้ํา ๆ จะวาํ กลําวตักเตอื น ๓ ครงั้ และแจง๎ ผป๎ู กครองเพือ่ ทราบ
๓. การตัดคะแนนความประพฤติ ขอให๎ครูท่ีปรึกษากวดขันเร่ืองความประพฤติและการปฏิบัติตาม
กฎระเบียบของวทิ ยาลยั ฯ ซึง่ นักเรียนทล่ี ะเลยการปฏบิ ัตไิ มถํ กู ตอ๎ งจะถกู ตัดคะแนนความประพฤติ โดยคะแนน
ความประพฤติในปีการศกึ ษามีท้งั สนิ้ ๖๐ คะแนน แบงํ ออกเปน็ ภาคเรยี นละ ๓๐ คะแนน ดงั น้ี
๓.๑ ถกู ตัดคะแนนความประพฤติ ๕ คะแนน
๓.๒ ถกู ตดั คะแนนความประพฤติ ๑๐ คะแนน
๓.๓ ถกู ตัดคะแนนความประพฤติ ๒๐ คะแนน ทําทัณฑ์บน
๓.๔ ถูกตัดคะแนนความประพฤติ ๓๐ คะแนน ทํากิจกรรมบําเพ็ญประโยชน์ตํอสังคม หรือให๎
นักเรียน นักศึกษาและผ๎ูปกครองรํวมพิจารณาตนเอง กลับไปศึกษาหาความร๎ูด๎วยตนเองท่ีบ๎านพัก และอยูํใน
ความดแู ลของผู๎ปกครอง เม่ือมีความพร๎อมก็สามารถกลับเข๎าศึกษาตํอสถานศึกษาเดิมได๎ตามปกติ (ต๎องได๎รับ
ความยินยอมจากผ๎ูปกครองกอํ น)
๓.๕ การตดั คะแนนพจิ ารณาในแตํละปกี ารศึกษา (สะสมคะแนนตํอเนอ่ื งกนั ๒ ภาคเรยี น)
๓.๖ นักเรียน นักศึกษาท่ีถูกลงโทษตามข๎อ ๓.๑ ,๓.๒ ,๓.๓ หากถูกตัดคะแนนประพฤติ ๕ , ๑๐ ,
หรือในภาคเรยี นตํอไป จะถูกลงโทษในชัน้ สูงกวําทล่ี งโทษไว๎แลว๎
๓.๗ ในแตํละปีการศึกษา คนใดเคยมีประวตั ิ ถูกตัดคะแนนความประพฤตติ ั้งแตํ ๓๐ คะแนน ข้ึนไปจะ
มีผลดงั นี้

๕๓

(๑) ไมอํ อกหนังสือรบั รองความประพฤติ
(๒) ไมํพิจารณาให๎รบั ทนุ การศกึ ษาของวิทยาลัยฯ
(๓) ตดั สทิ ธิการขอโควตาศึกษาตอํ
(๔) ตัดสทิ ธข์ิ อกยู๎ ืมเงินเพื่อการศกึ ษาหรือระงับการตอํ สญั ญาเงินกป๎ู ีการศึกษาถดั ไป
๓.๘ การตัดคะแนนความประพฤติใหเ๎ ป็นไปตามเกณฑ์ ดงั นี้
๓.๘.๑ ความผิดที่ถูกตัดคะแนนครั้งละ ๕ คะแนน ได๎แกํ กระทําความผิด ดังตํอไปน้ี
(คณะกรรมการปกครอง ฝุายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษา ครูผู๎สอน ครูที่ปรึกษา หัวหน๎า งานปกครอง
หรือรองผู๎อํานวยการฝาุ ยพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษาเป็นผู๎พจิ ารณาโทษ

(๑) นกั เรยี น มาเรียนสาย นับรวมได๎ตง้ั แตํ ๓ คร้ัง ข้นึ ไป
(๒) เข๎าหรือออกนอกห๎องเรียน หรือห๎องปฏิบัติการโดยมิได๎รับอนุญาตจากครูท่ีกําลัง
สอน (ไดก๎ ลําวตกั เตือนแล๎วเกนิ ๒ ครงั้ )
(๓) ไมํรํวมกจิ กรรมเข๎าแถวเคารพธงชาติ นับรวมไดเ๎ กิน ๒ ครงั้
(๔) แตงํ กายไมเํ รยี บร๎อยขณะเขา๎ เรียนในช้ันเรยี นและไดว๎ ํากลําวตักเตือนมาแล๎วไมํน๎อย
กวาํ ๒ ครั้ง
(๕) นกั เรียน ไมํสวมหมวกกันน็อค ขณะขับข่ียานพาหนะมาเรยี นในสถานศึกษา
(๖) ใช๎โทรศัพท์มือถือขณะท่ีนักเรียน กําลังเรียน หรือทํากิจกรรมการเรียนการสอน
ในทกุ กรณี
(๗) ให๎ใสํถุงเท๎าขณะอยใูํ นบรเิ วณสถานศึกษา
หมายเหตุ จะยึดโทรศัพท์มือถอื แล๎วใหผ๎ ป๎ู กครองมารับคืนดว๎ ยตนเอง (ไดว๎ าํ กลําวตักเตือนแล๎วเกิน ๒ ครงั้ )
๓.๘.๒ ความผิดที่ถูกตัดคะแนนครั้งละ ๑๐ คะแนน ได๎แกํ การกระทําผิด ดังตํอไปน้ี
(คณะกรรมการปกครอง ฝาุ ยพัฒนากิจการนกั เรียน นกั ศึกษา) เป็นผพ๎ู ิจารณาโทษ
(๑) ออกนอกบริเวณวิทยาลยั ฯ โดยมไิ ด๎รับอนญุ าตในระหวํางเวลาเรยี น
(๒) เข๎าหรือออกนอกห๎องเรียนหรือห๎องปฏิบัติการ โดยมิได๎รับอนุญาตจากครูท่ีกําลัง
สอน (ไดว๎ ํากลําวตักเตือนแล๎วเกิน ๓ คร้ัง)
(๓) ไมรํ ํวมกจิ กรรมเขา๎ แถวเคารพธงชาติ นับรวมได๎เกิน ๓ คร้ัง แตํงกายผิดระเบียบเห็น
ชดั เจน เชนํ กระโปรงสั้นเกนิ เขาํ กางเกงผ๎ายีนส์ ผ๎าดา๎ น หรอื ขาเดป
(๔) มีอุปกรณ์การพนนั ไวใ๎ นครอบครอง
(๕) นาํ บุคคลภายนอกเขา๎ ในบริเวณวิทยาลยั โดยไมมํ ีเหตผุ ลอนั สมควร
(๖) กระทําความผิดหรือประพฤติตนไมํเหมาะสมกับสภาพนักเรียนซ่ึงคณะกรรมการ
ปกครอง ฝุายพฒั นากิจการนักเรียน นักศึกษา พิจารณาเห็นแล๎ววําผิด ทรงผมผิดระเบียบ หรือไมํ ตัดผมตาม
วนั เวลา ท่ีสถานศึกษากาํ หนด
(๗) ไมํปฏิบัติตามข๎อบงั คบั การใช๎ยานพาหนะในบริเวณวทิ ยาลยั ฯ และภายนอก
(๘) ใช๎โทรศัพท์มอื ถือขณะทีน่ ักเรยี น นกั ศึกษา กาํ ลังเรยี น หรือทํากิจกรรมการเรียนการ
สอน

๕๔

หมายเหตุ จะยดึ โทรศัพท์มือถอื แลว๎ ให๎ผู๎ปกครองมารับคืนดว๎ ยตนเอง (ไดว๎ ํากลาํ วตกั เตอื นแลว๎ เกิน ๓ คร้ัง)
๓.๘.๓ ความผิดที่ถูกตัดคะแนนครั้งละ ๒๐ คะแนน ได๎แกํ การกระทําผิด ดังตํอไปน้ี

(คณะกรรมการปกครอง ฝาุ ยพฒั นากิจการนกั เรียน นักศึกษา) เปน็ ผพู๎ ิจารณาโทษ
(๑) แสดงกิริยาวาจาไมํสุภาพก๎าวร๎าวลบหลูํตํอครู กลําววาจาหรือแสดงกิริยาอันสํอให๎

เห็นวํา ไมเํ คารพครู
(๒) กลําววาจา หรือแสดงกิริยาไมํสุภาพตํอบุคคลท่ัวไป ทั้งในและนอกบริเวณ

สถานศึกษา
(๓) แสดงกิริยาอาการหรือกลําววาจาแทะโลมพาดพิงในทางช๎ูสาวกับเพศตรงข๎ามท้ังใน

และนอกสถานศกึ ษา
(๔) พกพาสูบบุหรีใ่ นขณะแตงํ เครอื่ งแบบนักเรยี น หรือพกพาบุหร่ีในเครื่องแบบนกั เรียน
(๕) จงใจขัดคําส่งั ครแู ละฝาุ ฝืนกฎหรอื ระเบยี บของโรงเรยี น (๖) แตํงกายผิดระเบียบเป็น

อาจณิ และถูกวาํ กลาํ วตักเตอื นเป็นประจําหรือไมํ เหมาะสมกับสภาพนกั เรียน
(๖) แตงํ กายเคร่ืองแบบนกั เรยี น นักศึกษา เข๎าในสถานบรกิ ารตามกฎหมายวําด๎วยสถาน

บริการที่ไมํเหมาะสมหรือสถานท่ีอ่ืนที่คล๎ายคลึงกัน เชํน โรงรับจํานําสถานการณ์พนัน ในระหวําง ที่มีการ
เลนํ การพนนั เว๎นแตํเป็นผ๎อู ยอํู าศยั หรือเขา๎ ไปเยีย่ มญาติในสถานทีน่ ั้น

(๗) เข๎าไปในสถานทีค่ ๎าประเวณี
(๘) แตงํ เครอ่ื งแบบนกั เรยี น เขา๎ ชมมหรสพหรอื ม่ัวสุมอยใูํ นท่สี าธารณะในวันและเวลาที่
มีการเรียนการสอนหรอื ยามวิกาล
(๙) หลีกเลีย่ งการฝกึ งาน ซ่ึงสถานศึกษา สงํ ออกไปฝึกงานนอกสถานท่ี
(๑๐) นาํ ของมนึ เมาเข๎ามาในสถานศึกษา จะโดยเพือ่ ตนเองหรอื เพอ่ื คนอื่นก็ตาม
(๑๑) ปกปดิ หรอื ชวํ ยเหลือผูอ๎ ื่นในทางท่ีผดิ
(๑๒) นํารูปถําย ถํายรูปผ๎ูอ่ืนที่ไมํเหมาะสม หรือนําหนังสือลามกมาดูหรืออํานใน
สถานศกึ ษา
(๑๓) กระทําความผิด หรือประพฤติตนไมํเหมาะสมกับสภาพนักเรียน ซึ่งงาน
คณะกรรมการปกครอง ฝุายพฒั นากจิ การนกั เรียน พิจารณาเห็นวําเปน็ ความผดิ
(๑๔) มอี ุปกรณก์ ารเสพหรือยาเสพติดทุกชนิดไว๎ในครอบครอง
(๑๕) ทําใหเ๎ สื่อมเสยี ชอื่ เสยี งของสถานศกึ ษา อยํางรา๎ ยแรง
(๑๖) ฝาุ ฝืนระเบยี บข๎อบังคบั ของสถานศกึ ษา อยาํ งร๎ายแรง
(๑๗) กํอการทะเลาะวิวาทหรอื รวมกลมํุ ทะเลาะวิวาท
(๑๘) ทาํ ลายทรพั ยส์ ินของสถานศึกษา
(๑๙) ไดร๎ ับโทษอยํางอ่นื แลว๎ หรอื เปน็ ความผดิ ท่เี กิดขึ้นซาํ้ อีก
๓.๘.๔ ความผิดที่ถูกตัดคะแนนครั้งละ ๓๐ คะแนน ได๎แกํ การกระทําความผิด ตํอไปน้ี
คณะกรรมการปกครอง ฝุายพฒั นากจิ การนกั เรยี น นักศึกษาเปน็ ผ๎ู พิจารณาโทษตัดคะแนน
(๑) ม่วั สมุ กัน กํอความเดือดรอ๎ น หรือความรําคาญ อยาํ งใดอยาํ งหนึง่
(๒) ยยุ งสงํ เสรมิ ใหแ๎ ตกความสามัคคี

๕๕

(๓) เลนํ การพนันและสมรู๎ในการเลํนการพนัน
(๔) เสพของมนึ เมาในเคร่ืองแบบนกั เรยี น ท้งั ในและนอกบรเิ วณสถานศึกษา
(๕) นําหรือเสพสิ่งเสพตดิ ใหโ๎ ทษในบรเิ วณสถานศึกษาหรือนอกสถานศึกษาในเขต ๕๐๐
เมตร (ยาบา๎ ยาอี ยาเค ยาไอซ์ กัญชา บุหรี่ ใบกระทํอม หรือสํวนผสมอ่ืน ๆ ท่ีเป็นสารเสพติด อันตรายทุก
ประเภท)
(๖) มคี วามผิดทางคดี ถงึ โรงพกั หรอื ศาล อันเน่อื งจากความประพฤติช่ัวแตํไมํถึงจําคุก

(๗) มว่ั สมุ ทางเรือ่ งเพศ การพนนั ยาเสพตดิ
(๘) มีวัตถุที่อาจใช๎เป็นอาวุธได๎ไว๎ในครอบครอง เชํน มีด เหล็กขูดชาร์พ สนับมือ หรือ
อ่ืนๆ ทใ่ี ชเ๎ ป็นอาวธุ นําอาวธุ เข๎ามาในบริเวณสถานศกึ ษา หรอื อาวุธติดตวั ขณะอยใูํ นสถานศึกษา
(๙) บังคบั ขํมขูํ ฝนื ใจ ลอํ ลวง ผอ๎ู ่ืน ให๎กระทาํ ตามทีต่ นเองต๎องการ
(๑๐) แกล๎งใหร๎ ๎าย เป็นเหตุใหผ๎ ๎ูอ่นื ต๎องโทษ
(๑๑) ขโมยของผอู๎ นื่ หรอื ทําลายทรัพย์สินของผอู๎ นื่
(๑๒) ประพฤติตนทํานองชู๎สาว (อยูํในดุลยพินิจคณะกรรมการปกครอง ฝุายพัฒนากิจการ
นักเรียน)
(๑๓) นาํ วัตถรุ ะเบิดเขา๎ มาในบรเิ วณสถานศกึ ษา ลูกปะทัด ระเบดิ ปิงปอง ดนิ ปะสวิ ปืนแก๏ป
(๑๔) กระทําความผิดหรือประพฤติตนไมํเหมาะสมกับสภาพนักเรียน นักศึกษา ซ่ึงงาน
ปกครอง ฝาุ ยพัฒนากิจการนกั เรียน นกั ศึกษา พจิ ารณาเหน็ วาํ เป็นความผดิ สถานหนกั
(๑๕) กอํ การทะเลาะววิ าท โดยมหี รอื ใชอ๎ าวุธ หรอื เปน็ ความผิดสถานหนกั
(๑๖) กํอการทะเลาะวิวาท เป็นเหตุให๎ผ๎ูอื่นได๎รับบาดเจ็บสาหัส โดยมีอาวุธหรือเป็นการ
รุมทํารา๎ ย
(๑๗) กํอการทะเลาะววิ าท โดยมบี คุ คลภายนอกเข๎ารวํ มด๎วย
(๑๘) ทะเลาะวิวาทกับบุคคลอ่ืนในสถานศึกษา หรือนอกสถานศึกษาท่ีเกี่ยวข๎องกับ
สถานศึกษา
๓.๙ คณะกรรมการปกครองผ๎พู จิ ารณาโทษ ประกอบดว๎ ย
(๑) รองผอ๎ู าํ นวยการฝุายพัฒนากจิ การนกั เรียน นักศกึ ษา
(๒) หัวหน๎างานปกครอง นกั เรียน นักศกึ ษา
(๓) ครูทปี่ รกึ ษา นักเรยี น นกั ศึกษา ทก่ี ระทาํ ความผดิ
(๔) ผูแ๎ ทนครู ๑ คน
๓.๑๐ การพิจารณาความผิดใน “การทาํ ทณั ฑบ์ น” ใชเ๎ กณฑ์ดงั ตํอไปนี้
(๑) ถูกตัดคะแนนความประพฤติครั้งเดยี วหรือหลายคร้ังรวมกัน ตง้ั แตํ ๒๐ คะแนน
(๒) กระทําความผิดหรือประพฤติตนไมํเหมาะสมอ่ืน ซึ่งผ๎ูอํานวยการสถานศึกษา
รองผู๎อาํ นวยการสถานศึกษา หัวหน๎างานปกครอง หรืองานปกครอง ฝุายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษาเห็น
วาํ สมควรรบั โทษนี้
๓.๑๑ การพจิ ารณาความผดิ ให๎ทํากจิ กรรมเพอ่ื ประโยชน์ ใช๎เกณฑด์ ังตอํ ไปน้ี
(๑) ถูกตัดคะแนนความประพฤติครั้งเดียว หรือหลายคร้ังรวมกันต้ังแตํ ๓๐ คะแนน ภายใน
ภาคเรียนเดยี วกนั

๕๖

(๒) เคยถกู ลงโทษทาํ ทณั ฑบ์ นมาแลว๎ แตไํ มเํ ข็ดหลาบ
(๓) ทาํ ลายทรพั ย์สินของทางวทิ ยาลัยฯ
(๔) กระทําความผิด หรือประพฤติตนไมํเหมาะสมอ่ืนใด ซ่ึงงานปกครองฝุายพัฒนากิจการ
นักเรียน นักศึกษา เหน็ วาํ สมควรรบั โทษนี้
(๕) มียาเสพติดไว๎ในครอบครองหรือเสพยาเสพติดประเภทร๎ายแรง เชํน ยาบ๎า ผงขาว
เฮโรอีน มอร์ฟีน ยาอี ยาเค ยาไอซ์ กัญชา ใบกระทํอม และอื่น ๆ ที่เป็นยาเสพติด และการเสพติดที่
ร๎ายแรง เปน็ ต๎น
(๖) กระทําความผิดหรือประพฤติตนไมํเหมาะสมอยํางย่ิง ซึ่งคณะกรรมการเห็นวําสมควรรับโทษน้ี

(๗) นักเรียน หรอื นกั ศึกษาคนใด ประพฤติตนไมํสมควรแกํสภาพนักเรียนหรือ นักศึกษา
ตาม กฎกระทรวง ออกตามความประกาศของคณะปฏวิ ัติ ฉบับท่ี ๑๓๒ ลงวันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๔๘ หรือฝุา
ฝืนระเบยี บข๎อบังคับของสถานศึกษา หรือประพฤติผิดศีลธรรมจนเป็นที่เห็นได๎วําถ๎าให๎อยํูในสถานศึกษาตํอไป
จะทําให๎เส่ือมเสีย ให๎หัวหน๎าสถานศึกษา หรือ ฝุายพัฒนาการศึกษา เชิญบิดา มารดาหรือผ๎ูปกครอง
รับทราบเหตุผลแล๎วให๎นักเรียน นักศึกษาผ๎ูน้ันพิจารณาตนเอง ในกรณีนี้ให๎สถานศึกษาออกหลักฐานแสดงผล
การเรยี นใหด๎ ว๎ ย

๓.๑๒ การตัดคะแนนความประพฤติที่กระทําผิดตํอกฎระเบียบของสถานศึกษาไมํวําจะเป็นสถานเบา
ระดับปานกลาง ระดับหนักให๎คณะกรรมการปกครอง ฝุายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษา เพ่ือได๎พิจารณาตาม
ความผิดนน้ั ๆ

๓.๑๓ นักเรียน นักศึกษา คนใด กระทําความผิดในกรณีความผิดสถานเบาและปานกลางให๎
คณะกรรมการ สอบสวนพิจารณาโทษ มีอํานาจส่ังตัดคะแนนความประพฤติได๎ แล๎วแจ๎งให๎ครูท่ีปรึกษา
หัวหน๎าแผนก หัวหน๎างานปกครอง พัฒนาการศึกษา และรายงานผลให๎ผู๎อํานวยการทราบเป็นลายลักษณ์
อักษร

๓.๑๔ อาํ นาจการตดั คะแนนความประพฤตแิ ละการลงโทษให๎เป็นไปตามหลกั เกณฑ์ดงั ตํอไปนี้
(๑) การตัดคะแนนคร้ังละ ๕ คะแนน ให๎อยํูในอํานาจของครูผู๎สอน ครูที่ปรึกษา หัวหน๎างาน

ปกครอง หรือรองผ๎ูอาํ นวยการฝุายพัฒนากจิ การนกั เรียน นักศึกษา พิจารณาโทษ
(๒) การตดั คะแนนคร้งั ละ ๑๐ คะแนน ให๎อยูํในอํานาจของคณะกรรมการปกครอง รองฝุาย

พฒั นากิจการนักเรยี น นกั ศึกษา พจิ ารณาโทษ
(๓) การตัดคะแนนครั้งละ ๒๐ คะแนน ให๎อยํูในอํานาจของคณะกรรมการปกครอง ฝุาย

พัฒนากิจการ นกั เรยี น นกั ศกึ ษา
(๔) การตดั คะแนนครั้งละ๓๐ คะแนน ให๎อยํูในอํานาจของ ครูท่ีปรึกษาหัวหน๎าแผนกหัวหน๎า

งาน ปกครอง หรือรองผู๎อาํ นวยการฝุายพัฒนากจิ การนักเรียน นกั ศึกษาพิจารณาโทษ
(๕) การทาํ ทัณฑ์บนใหอ๎ ยํใู นอํานาจของหวั หน๎างานปกครอง และรองผ๎ูอํานวยการฝุายพัฒนา

กจิ การนกั เรยี น นักศึกษา พิจารณาโทษ
๓.๑๕ ผลการตดั คะแนนความประพฤติ
(๑) ถกู ตดั คะแนนความประพฤติรวม ๕ คะแนน ให๎กลําวตักเตือนเป็นลายลักษณ์อักษร และ

แจง๎ ผ๎ูปกครองทราบ

๕๗

(๒) ถกู ตดั คะแนนความประพฤตริ วม ๑๐ คะแนน ใหก๎ ลาํ วตักเตือนเป็นลายลักษณ์อักษรและ
แจง๎ ผูป๎ กครอง เพื่อทราบตํอไป

(๓) ถกู ตดั คะแนนความประพฤตริ วม ๒๐ คะแนน ให๎ทําทัณฑ์บน ผู๎ปกครองต๎องมารับทราบ
และลงนามรบั รอง

(๔) ถูกตัดคะแนนความประพฤติรวม ๓๐ คะแนน ให๎ทํากิจกรรมเพื่อให๎ปรับเปลี่ยน
พฤตกิ รรมยา๎ ยสถานทีเ่ รยี นหรอื นักเรยี น นกั ศกึ ษา และผปู๎ กครองรวํ มพิจารณาตนเอง กลับไปศึกษาหาความรู
ด๎วยตนเอง ที่บ๎านพัก อยูํในความดูแลของผ๎ูปกครอง เม่ือมีความพร๎อมก็สามารถกลับเข๎าศึกษาตํอใน
สถานศกึ ษาเดิมได๎ ตามปกติ (ตอ๎ งได๎รบั ความยินยอมจากผูป๎ กครองกํอน)

(๕) นักเรียน นักศึกษา คนใดได๎กระทําความผิด โดยได๎รับการวํากลําวตักเตือนด๎วยความผิด
เดียวกันซ้ํากัน ๓ คร้ัง ถูกตัดคะแนนความประพฤติ ๑๐ คะแนน ให๎ครูท่ีปรึกษาหรืองานปกครองแจ๎ง
ผู๎ปกครองนกั เรยี น นกั ศึกษา ผ๎ูนน้ั มาพบเพอื่ รับทราบและขอความรวํ มมือในการควบคุมดแู ลความประพฤติ

(๖) นักเรียน นักศึกษา คนใดได๎กระทําความผิด และเคยถูกเชิญผู๎ปกครองมาพบครูที่ปรึกษา
แลว๎ และ กระทาํ ความผิดอยาํ งเดยี วกันอกี หรือไดก๎ ระทําความผิดอ่ืน จนถูกตัดคะแนนความประพฤติ รวมกัน
ต้งั แตํ ๒๐ คะแนนขึ้นไป ให๎เชิญผ๎ูปกครองนักเรียน ผู๎นั้นมาพบหัวหน๎างาน ปกครองและรองผู๎อํานวยการฝุาย
พัฒนาการศกึ ษา เพ่ือรับทราบ และใหผ๎ ๎ูปกครองของนักเรยี น ผู๎น้ันทําทณั ฑ์บนไวเ๎ ปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษร

(๗) นักเรยี น นักศกึ ษา คนใดได๎กระทําและถูกตัดคะแนนความประพฤติจนหมด ๓๐ คะแนน
และถูกทํากิจกรรมเพ่ือปรับเปล่ียนพฤติกรรม เม่ือยังกระทําความผิดและถูกตัดคะแนนความประพฤติอีกให๎
นกั เรียน กลบั ไปบาํ บดั ตนเองที่บา๎ น เมอ่ื พฤตกิ รรมดีขน้ึ ให๎กลบั เข๎ามาเรียนตํอได๎หรือ พจิ ารณาตนเอง

(๘) การตัดคะแนนความประพฤตินักเรียน นักศึกษา เกิน ๑๐ คะแนนเป็นอํานาจของ
คณะกรรมการปกครองฝุายกิจการนักเรียนนักศึกษาเป็นผู๎พิจารณาโทษและประกาศให๎นักเรียน นักศึกษา
ทราบตลอดจนแจ๎งให๎ครูที่ปรึกษา หัวหน๎าแผนก ผ๎ูปกครอง หัวหน๎างานที่เกี่ยวข๎องทราบและเก็บไว๎เป็น
หลักฐาน

(๙) ในกรณที น่ี ักเรยี น นกั ศึกษา คนใด ถูกฟูองหรือถูกกลําวหาวํากระทําความผิดและถูกศาล
หรอื งานสอบสวนควบคุมตวั ใหส๎ ถานศกึ ษาส่ังให๎กลับไปบําบดั ตัวใหด๎ ที นั ที ถ๎าได๎รับการประกันตัวออกมาและ
กลับเข๎ามาเป็นนักเรียนหรือตามเดิมให๎บิดาหรือมารดา หรือผู๎ปกครองมาทําหนังสือรับรองวํา จะควบคุม
นักเรียน นักศึกษาผ๎ูนั้นไมํให๎ประพฤติตนเสียหายอีก หากถูกศาลพิจารณาโทษให๎จําคุกให๎สถานศึกษา แจ๎ง
ผ๎ูปกครอง งานปกครอง ฝุายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษา ให๎หยุดการศึกษาตํอ (เว๎นแตํความผิดลหุโทษ
หรือความผิดท่ีไดร๎ ับกระทาํ โดยประมาท ) หากได๎รับการรอลงอาญา ให๎บิดามารดาหรือผู๎ปกครองมาทําทัณฑ์
บนไว๎ในกรณีท่ีศาลปลํอยตัวให๎บิดามารดาหรือผ๎ูปกครองมาทําหนังสือรับรองวําจะควบคุมดูแลให๎นั กเรียน
นักศกึ ษา ผนู๎ ั้นประพฤติตนตามระเบยี บของสถานศกึ ษาระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

(๑๐) นักเรียน นักศึกษาท่ีกระทําความผิดซ่ึงสมควรได๎รับโทษสถานหนักกวําระดับโทษตาม
ข๎อ ๘ ไมํวํา จะเคยถูกตัดคะแนนความประพฤติมากํอนหรือไมํ คณะกรรมการปกครอง ฝุายพัฒนากิจการ
นักเรียน นักศึกษา เสนอสถานศึกษาลงโทษโดยการให๎ทํากิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือ ออกไป
บาํ บดั ที่บา๎ น

(๑๑) นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ทพ่ี บวาํ ตดิ ยาเสพติด ให๎กลับไปบําบัดรักษาตนเองท่ีบ๎าน พักจนกวํา
จะหาย จึงจะกลบั เขา๎ ศกึ ษาตอํ ได๎ โดยแพทย์ต๎องเป็นผรู๎ ับรอง

๕๘

๔. การขบั ขี่รถจักรยานยนต์นักเรยี นตอ้ งปฏิบตั ดิ ังนี้
๔.๑ ควรสวมหมวกกันน็อค และเม่ือขับขี่ยานพาหนะจากบ๎านมาเรียนในสถานศึกษาต๎องสวมหมวก

กนั น็อคทกุ คนหากคนใดไมํมีหมวกกันน็อค สถานศึกษา ไมอํ นญุ าตให๎นาํ ยานพาหนะเขา๎ มาจอดในสถานศึกษา
๔.๒ เม่อื ผํานประตสู ถานศึกษา ให๎จอดรถดับเคร่ืองและเข็นรถเข๎าท่ีจอด และเม่ือออกจากวิทยาลัยให๎

ดับเคร่ืองและเข็นรถออกไป
๔.๓ ต๎องจอดรถจักรยานยนต์ตามทสี่ ถานศึกษา กาํ หนดไว๎ ห๎ามจอดบรเิ วณข๎างถนนหน๎าสถานศึกษาตลอด

แนว
๔.๔ ห๎ามนักเรยี น นกั ศึกษา เขา๎ ไปบรเิ วณพน้ื ทีจ่ อดรถจกั รยานยนต์ ตัง้ แตเํ วลา ๐๘.๐๐ – ๑๔.๐๐ น.
๔.๕ ตอ๎ งไมขํ บั ขร่ี ถจักรยานยนต์ภายในบริเวณสถานศึกษา ตง้ั แตเํ วลา ๐๘.๐๐ เปน็ ต๎นไป
๔.๖ หากไมํปฏิบัติตามข๎อ ๔.๑ , ๔.๒ และ ๔.๔ เจ๎าหน๎าท่ียาม จะสํงรายชื่องานปกครอง หรือ ล็อค

รถจกั รยานยนต์แล๎วแตํกรณี
๔.๗ ต๎องไมํปรับแตํงรถจักรยานยนต์ท่ีเปลี่ยนไปจากเดิม เชํน ดัดแปลงทํอไอเสีย กระจกรถ ปรับแตํง

เครือ่ งยนต์ หรือเกดิ การรบกวนซึง่ เปน็ ปัญหากับสังคม หากฝาุ ฝืนจะไมํอนุญาตให๎จอดภายในวทิ ยาลัยฯ
๔.๘ หากรถถกู ลอ็ ค ให๎ตดิ ตํอรองผูอ๎ าํ นวยการฝาุ ยพฒั นาการศึกษา
๔.๙ ห๎ามนักเรียน นักศึกษา นํารถยนต์หรือรถมอเตอร์ไซด์ ไปจอดไว๎บริเวณบ๎านของประชาชน

บรเิ วณหน๎าวทิ ยาลยั ฯ โดยเด็ดขาด

๕. การทากิจกรรมหนา้ เสาธงภาคเชา้ ปฏิบตั ิ ดงั นี้
๕.๑ ตอนเช๎าอนุญาตให๎นักเรียน นักศึกษา รับประทานอาหารได๎กํอนเวลา ๐๗.๔๕ น. และหลัง

๐๙.๐๐ น. เทาํ นัน้
๕.๒ นักเรยี น นกั ศกึ ษา มาเขา๎ แถวตอนเช๎าเวลา ๐๗.๔๕ น.
๕.๓ นักเรยี น นักศกึ ษา ทํากจิ กรรมหน๎าเสาธง เวลา ๐๗.๔๕ - ๐๘.๐๐ น.
๕.๔ นักเรยี น นักศึกษา เข๎าชน้ั เรียน เวลา ๐๘.๑๐ น.
๕.๕ นักเรียน นักศึกษา คนใดไมํผํานกิจกรรมหน๎าเสาธงต๎องซํอมกิจกรรมเพ่ิมเติมตามท่ีงานกิจกรรม

กําหนด
๕.๖ คะแนนกิจกรรมหน๎าเสาธงชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เป็นสํวนหน่ึงของการผํานกิจกรรมใน

แตํละภาคเรียน (๘๐ % ของคะแนนเตม็ )
๕.๗ นักเรียน นักศึกษา ต๎องพบครูท่ีปรึกษาทุกเช๎าหน๎าเสาธง เพื่อตรวจสอบรายชื่อและตรวจสอบ

ความพรอ๎ มและอบรมคณุ ธรรมจริยธรรม ๘ ประการกํอนเขา๎ เรียน เวลา ๐๘.๐๐ น.
๕.๘ นกั เรยี น นักศึกษา ต๎องแตํงกายสะอาด สวยงาม และถกู ต๎องตามระเบยี บของสถานศกึ ษา
๕.๙ นักเรยี น นกั ศึกษา ทม่ี าสาย กําหนดตัง้ แตํเรม่ิ รอ๎ งเพลงชาติเชิญธงขนึ้ สูํยอดเสา
๕.๑๐ นักเรยี น นักศกึ ษา ทมี่ าสายทุกคน ตอ๎ งทาํ กิจกรรมบําเพญ็ ประโยชน์ ทีค่ รเู วรประจําวัน หรือ

งานปกครองกาํ หนดให๎จนเสรจ็ ส้นิ กํอนเข๎าหอ๎ งเรยี น
๕.๑๑ นักเรียน นักศึกษาที่มาสายทุกคนต๎องลงช่ือในสมุดตรวจสอบรายชื่อผู๎มาสายกํอนทํากิจกรรม

ตามขอ๎ ๕.๘

๕๙

๕.๑๒ นักเรียน นกั ศกึ ษา ตอ๎ งพรอ๎ ม ณ ห๎องเรยี น เวลา ๐๘.๑๐ น.
๕.๑๓ นักเรียน นักศึกษา ที่มาสายหลังเวลา ๐๘.๐๐ น. ให๎ครูเวรปกครองประจําวัน หัวหน๎างาน
ปกครอง แนะนํานักเรียนลงชื่อในแบบฟอร์มบันทึกผ๎ูมาสายทุกคน ณ ปูอมยามสถานศึกษา และนักเรียนทํา
กจิ กรรมบําเพ็ญประโยชน์ทุกคน สงํ ครทู ีป่ รกึ ษา หนา๎ เสาธง ไมตํ ๎องลงเวลาการเขา๎ รวํ มกจิ กรรมหนา๎ เสาธง
๖. นักเรียน ท่ีมาทางานหรือทากิจกรรมในวิทยาลัยฯ ในเวลากลางคืน (หลังเวลา ๑๙.๓๐ น) หรือ
วนั หยุดราชการ ตอ้ งปฏิบตั ิดังน้ี
๖.๑ ตอ๎ งทําหนังสือขออนุญาตตํอวิทยาลัยฯ โดยมคี รปู ระจําวชิ า หรือครูท่ปี รกึ ษาเป็นผร๎ู บั รอง
๖.๒ นาํ หนงั สอื ทไี่ ด๎รับอนญุ าตแจง๎ ครเู วรและยามวิทยาลัยฯ ทราบ
๖.๓ ตอ๎ งมคี รู อยคํู วบคุมดแู ลรับผิดชอบดว๎ ย
๖.๔ ต๎องได๎รบั อนุญาตจากผู๎ปกครองกํอน
๗. นักเรยี น ที่ออกบรเิ วณ หรืออยู่ในท่สี าธารณะและอย่ใู นเคร่ืองแบบนกั เรียน ของสถานศึกษา ต้องปฏิบัติ
ดังน้ี
๗.๑ ห๎ามออกนอกบริเวณสถานศึกษาต้ังแตํเวลา ๐๘.๐๐ – ๑๔.๐๐ น. หากประสงค์ออกนอก
สถานศกึ ษา ตอ๎ งขออนญุ าต ใหถ๎ กู ตอ๎ งตามระเบียบ จากฝุายพฒั นากจิ การนักเรยี น นกั ศกึ ษา
๗.๒ ต๎องขออนญุ าตออกนอกสถานศึกษาตามแบบฟอรม์ ทส่ี ถานศึกษา กาํ หนด
๗.๓ ต๎องปฏบิ ัติตนใหเ๎ หมาะสมกบั การเป็นนกั เรียน นักศึกษา
๗.๔ ต๎องไมํทําการใด ๆ รบกวนชุมชน เชํน พูดหยาบคาย สํงเสียงดัง หรือเข๎าไปในเคหะสถานของ
ผ๎อู ่ืนโดยไมไํ ดร๎ บั อนุญาต
๗.๕ กํอนใหน๎ ักเรียน นักศึกษา ออกนอกสถานศึกษา ให๎ยามรักษาการณ์ ตรวจสอบความถูกต๎องตาม
แบบขออนุญาตออกนอกสถานศึกษากํอนทุกคร้ัง
๗.๖ นักเรียน นักศึกษา คนใดหนีออกนอกสถานศึกษา โดยการเห็นชอบของยามรักษาการณ์หรือใน
ขณะท่ียามรักษาการณ์ปฏิบัติงานอยูํและเกิดปัญหาตํอสถานศึกษา ยามรักษาการณ์ต๎องเป็นผู๎รับผิดชอบทุก
กรณี
๗.๗ ห๎ามสบู บุหรี่ ดมื่ สุรา หรือของมึนเมาในท่สี าธารณะและเขตพ้นื ที่ ๕๐๐ เมตร หนา๎ วิทยาลัย
๗.๘ ห๎ามแสดงกริ ยิ าลักษณะ ชู๎สาว
๗.๙ ห๎ามนักเรยี นนักศกึ ษา ใช๎วาจาก๎าวร๎าวตํอยามรักษาการณ์ เม่ือต๎องการออกนอกสถานศึกษาต๎อง
ปฏิบัติให๎ถูกต๎องตามระเบียบ และมอบแบบฟอร์มขออนุญาตออกนอกสถานศึกษา ไว๎ท่ียามรักษาการณ์ ใน
สวํ นที่ ๑
๗.๑๐ ยามรกั ษาการณ์ เปน็ ผูอ๎ นญุ าตให๎ออกนอกสถานศึกษา ได๎เม่ือสํงแบบฟอร์มขออนุญาตของทาง
สถานศึกษาท่ีถูกต๎อง หากยามรักษาการณ์ให๎นักเรียน นักศึกษา ออกนอกสถานศึกษา โทษผิดระเบียบ ยาม
รักษาการณผ์ ๎นู ัน้ ตอ๎ งรบั ผิดชอบทกุ กรณี
๘. ครปู ระจาวิชาต้องรับผดิ ชอบวิชาทส่ี อนดังนี้
๘.๑ นักเรยี นนักศึกษา ขาดเรยี นในรายวิชาที่สอนเกนิ ๓ ครั้ง ใหค๎ รูประจาํ วชิ าแจ๎งครูท่ีปรกึ ษาทราบ
๘.๒ ครทู ่ปี รกึ ษาแจง๎ ผป๎ู กครองทราบโดยเร็ว (พร๎อมสําเนาเก็บไวเ๎ ปน็ หลกั ฐาน)
๘.๓ แบบฟอร์มแจ๎งผู๎ปกครองกรณีนักเรียนนักศึกษา ขาดเรียน ขอได๎ท่ีฝุายพัฒนากิจการนักเรียน
นักศกึ ษา

๖๐

๘.๔ ครูผ๎ูสอนทุกรายวิชา ต๎องรายงานผลนักเรียนขาดเรียนทุกภาคเรียนตํอฝุายพัฒนากิจการนักเรียน
นักศึกษา

๘.๕ ครูประจําวิชาสามารถแจ๎งผลการเรียนหรือพฤติกรรมท่ีไมํพึงประสงค์ ผําน SMS ถึงผู๎ปกครองได๎
ตลอด เวลาราชการ
๙. หนา้ ท่ีความรับผิดชอบของครูทป่ี รกึ ษา

๑. ต๎องพบปะนักเรียน นักศึกษาในความรับผิดชอบ หลังเลิกแถว เพื่ออบรมคุณธรรม จริยธรรม ๘
ประการตรวจสอบรายชื่อและเตรยี ม ความพร๎อมกํอนเข๎าเรียน

๒. นกั เรยี น นักศึกษาขาดเรยี น ๓ วัน ต๎องแจ๎งผป๎ู กครองทราบ (พรอ๎ มสําเนาเก็บไวเ๎ ปน็ หลักฐาน)
๓. ครูท่ีปรกึ ษาควบคุมดแู ลนักเรยี น นกั ศกึ ษา ทํากจิ กรรมในชวั่ โมงกิจกรรมประจาํ สปั ดาห์
๔. ให๎คําปรกึ ษาแนะนําการทําและตรวจสอบหลักฐานสญั ญาการเป็นนักเรียน นักศึกษา
๕. ปฐมนเิ ทศนกั เรยี น นักศึกษา ในความรับผดิ ชอบในดา๎ นการเรียนการสอน ความประพฤติ ระเบียบ
วินัย และข๎อบังคับตําง ๆ ของสถานศึกษา รวมทั้งให๎ความร๎ูเก่ียวกับแหลํงบริการและสวัสดิการ ตําง ๆ ของ
สถานศึกษาที่นักเรยี น นักศกึ ษา จะเข๎ามาขอความชวํ ยเหลือ
๖. ให๎ความเห็นชอบแกํนักเรียน นักศึกษา ในการลงทะเบียนรายวิชา (ลงทะเบียนเรียนหรือ
ลงทะเบยี น สอบเทยี บความรูห๎ รือประสบการณ์)
๗. ให๎คําปรึกษาและให๎ความเห็นชอบในการขอผํอนชําระเงินคําลงทะเบียนวิชาของนักเรียนท่ีอยํูใน
ความรบั ผิดชอบ
๘. จัดทํา เก็บ รวบรวมประวัติ ข๎อมูลการเรียน และพฤติกรรมของนักเรียน นักศึกษาท่ีอยูํในความ
รบั ผดิ ชอบ เพื่อเปน็ ข๎อมูลในการออกหนังสอื รบั รองตําง ๆ
๙. ตดิ ตาม ชํวยเหลอื และให๎คําปรึกษาเกี่ยวกับการเข๎ารํวมกิจกรรมชมรมตามที่กําหนดไว๎ในระเบียบ
กระทรวงศึกษาธกิ ารวาํ ด๎วยการประเมินผลการเรียนในแตรํ ะดบั แกํนักเรยี น ท่อี ยใํู น ความรบั ผดิ ชอบ
๑๐. ให๎คําปรึกษาเกี่ยวกับการเรียน การคํานวณคําระดับคะแนนเฉลี่ยแกํนักเรียนที่อยูํในความ
รบั ผิดชอบ๑๑. แนะนาํ หาทางปูองกนั และติดตามนักเรียน ท่ขี าดเรยี น
๑๒. เสนอความคิดเหน็ และขอ๎ มลู เกีย่ วกับการกําหนดรายวชิ าในการลงทะเบียนแตลํ ะภาคเรียน
๑๓. ตดิ ตํอประสานงานกับผ๎ูปกครองพร๎อมทั้งรายงานการเรียนและพฤติกรรมของนักเรียน นักศึกษา
ทอ่ี ยํูในความรบั ผิดชอบใหผ๎ ๎ูปกครองทราบ
๑๔. ตดิ ตามแนะนาํ และชวํ ยแกป๎ ัญหาใหก๎ ับนกั เรียน นักศึกษา และรายงานให๎ผบ๎ู งั คบั บญั ชาทราบ
๑๕. ให๎คําปรึกษา ตักเตือน ดูแล แก๎ไข และปรับปรุงความประพฤติของนักเรียน นักศึกษาท่ีอยํูใน
ความรับผดิ ชอบ
๑๖. นกั เรยี น นักศึกษา ต๎องทําประกันอุบัติเหตทุ ุกปีการศกึ ษา
๑๗. นกั เรียน นกั ศึกษา ต๎องตรวจสุขภาพประจําปีทกุ คน
๑๘. ครูที่ปรึกษาต๎องอบรมคุณธรรม จริยธรรม ประจําวัน และรายงานหัวหน๎า ครูท่ีปรึกษาเป็น
ประจาํ ทกุ วันหลังเลกิ แถวหน๎าเสาธงตอนเชา๎
๑๙. ครูทป่ี รกึ ษา ตอ๎ งรายงานผล การขาดเรยี น การมาสาย ของนักเรยี น นักศึกษา ประจําภาคเรียน
๒๐. ครูท่ปี รึกษา ตอ๎ งรายงานผล โฮมรมู ประจําสัปดาห์

๖๑

๒๑. ประสานงานกบั แผนกวิชาหรอื งานอื่นทเ่ี ก่ยี วข๎อง
๒๒. ครูท่ีปรึกษาคอยให๎คําปรึกษาและสอนในวิชากิจกรรมลูกเสือวิสามัญ กิจกรรมองค์การแนะนํา
สงํ เสรมิ ใหร๎ วํ มกิจกรรม ทงั้ ๓ สํวน คอื กิจกรรมในวิชาเรียน กิจกรรมชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ กิจกรนัด
หมายของสถานศกึ ษา
๒๓. ครทู ี่ปรึกษาต๎องออกเย่ยี มบา๎ นนกั เรียน นักศึกษา อยํางนอ๎ ยภาคเรยี นละ ๑ คร้ัง
๒๔. ครูท่ีปรึกษาสามารถแจ๎งผลการเรียนหรือพฤติกรรมที่ไมํพึงประสงค์ ผําน SMS ถึงผ๎ูปกครองได๎
ตลอดเวลาราชการ
๒๕. ครทู ีป่ รกึ ษาแนะนําใหก๎ ารชวํ ยเหลอื ศนู ย์ V – Cop แกํนักเรยี น นกั ศึกษา
๒๖. ปฏิบัติหนา๎ ที่อน่ื ตามท่ผี บ๎ู งั คับบัญชามอบหมาย

ท้ังน้ีใชร๎ ะเบยี บนีต้ ั้งแตวํ นั ท่ี ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ เป็นต๎นไป

(นายสุรศักด์ิ นาคาลักษณ์)
ผอ๎ู ํานวยการวทิ ยาลยั สารพดั ชาํ งนครศรีธรรมราช

๖๒

ระเบียบวทิ ยาลัยสารพัดช่างนครศรีธรรมราช
ว่าดว้ ยเครื่องแบบและการแต่งกายนักเรยี น นักศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๔

----------------------------------------------------
เพ่ือเป็นการปลูกฝังและเสริมสร๎างกิจนิสัยท่ีดีมีระเบียบวินัยตามคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ เป็นผ๎ูท่ีมี
คุณธรรม จริยธรรม และเตรียมความพร๎อมเข๎าสูํตลาดแรงงาน อาศัยอํานาจตามความในข๎อ ๑๓ แหํงระเบียบ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร วําดว๎ ยเครือ่ งแบบนักเรียน พ.ศ. ๒๕๕๑ วิทยาลัยสารพัดชํางนครศรีธรรมราช โดยความ
เห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา จึงเหน็ สมควรให๎วางระเบียบเครอ่ื งแบบและการแตงํ กายไว๎ดงั นี้
ข๎อ ๑ ระเบียบน้ีเรียกวํา “ระเบียบวิทยาลัยสารพัดชํางนครศรีธรรมราช วําด๎วยเคร่ืองแบบและการ
แตํงกาย นักเรยี น นกั ศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑”
ข๎อ ๒ ระเบียบนีใ้ หม๎ ผี ลบงั คบั ใชต๎ ้งั แตํปีการศึกษา ๒๕๖๑ เปน็ ต๎นไป
ข๎อ ๓ ระเบยี บใดทข่ี ดั หรือแยง๎ กับระเบียบน้ีให๎ใช๎ระเบยี บนี้แทน
ข๎อ ๔ ผ๎ูท่เี ขา๎ รบั การศกึ ษากํอนระเบียบนมี้ ีผลบงั คับใช๎ ใหใ๎ ช๎ระเบียบเดิมจนจบหลักสตู ร

หมวดที่ ๑
เคร่อื งแบบและการแต่งกายนกั เรียน ระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวช.)

ข้อ ๕ เครือ่ งแบบและการแต่งกายนกั เรียนชาย
๕.๑ เส้ือนักเรียนชาย ผ๎าสีขาว แบบคอเชิ้ตต้ัง แขนส้ัน ผําอกตลอดมีสาบด๎านนอก กระดุม

เรียบ สีขาว ใส กลม แบน แขนเส้ือส้ันเพียงข๎อศอก ไหลํพอดี มีกระเป๋าหน๎าอกซ๎าย ๑ ใบ ปักชื่อยํอ
วิทยาลัยฯ “วช.นศ.” ขนาดอักษรสูง ๑.๕ เซนติเมตร ไว๎ด๎านบน ปักช่ือ – สกุล ขนาดอักษรสูง ๑ เซนติเมตร
ไว๎ด๎านลําง บนอกเสื้อด๎านขวา ด๎วยไหมสีนํ้าเงิน ผูกเนคไท ผ๎าสีกรมทํา แบบมาตรฐานตามท่ีวิทยาลัยกําหนด
ยกเวน๎ สาขาวิชาการโรงแรมให๎ใชเ๎ นคไทสีแดงเลอื ดหมู และตอ๎ งสอดชายเสื้อไวใ๎ นกางเกงเรียบร๎อย

๕.๒ เส้ือฝึกปฏิบัติงาน สาขาชํางอุตสาหกรรม เป็นเสื้อแบบซาฟารี คอเชิ้ต แขนส้ัน เอวจ๊ัม
มีกระเป๋าท่ีอกด๎านซ๎าย ๑ ใบ แบบแปะ ปักเคร่ืองหมายวิทยาลัยฯ ท่ีขอบด๎านลํางเสื้อ มีกระเป๋า ๒ ใบ แบบ
เจาะ เส้ือมขี นาดพอเหมาะ ปลํอยชายเส้อื ปกั ช่อื – สกุล ไว๎ด๎านบน ปักชื่อสาขางานไว๎ด๎านลําง บนอกเส้ือ
ดา๎ นขวา ขนาดอักษรสงู ๑ เซนติเมตร ด๎วยไหมสขี าว ใชส๎ ีแยกตามสาขางานทีป่ กเสือ้ ด๎านในและท่ีเสียบปากกา
แขนเสอื้ ดา๎ นซา๎ ยดงั นี้

สาขางานยานยนต์ ใช๎ สแี ดงเลอื ดหมู
สาขางานไฟฟูากําลงั ใช๎ สสี ม๎
สาขางานอิเล็กทรอนกิ ส์ ใช๎ สฟี าู อํอน

๖๓

เส้ือฝึกปฏิบัติงานสาขาวิชาการโรงแรม เป็นเส้ือสีขาว แบบคอต้ังสีมํวง แขนสั้น ปลาย
แขน ทงั้ สองมีแถบสมี ํวง ตวั เสอ้ื แบบปูายไปทางซา๎ ย กระดุมสีมวํ ง มีกระเป๋า ขอบกระเป๋าใช๎แถบสีมํวงที่อกเสื้อ
ด๎านขวา

เส้อื ฝกึ ปฏบิ ตั ิงานสาขาวิชาพณิชยการ ใหใ๎ ช๎เส้ือนักเรียนชาย ตามข๎อ ๕.๑
๕.๓ กางเกงนักเรียนชาย เป็นแบบสากลนิยมทรงสุภาพ ขายาว ไมํรัดรูป มีหํวงสอดเข็มขัด
กว๎าง ๑ เซนติเมตร มีจีบด๎านหน๎าข๎างละ ๒ จีบ มีกระเป๋าด๎านหลังขวาเป็นแบบเจาะไมํมีฝาปิด และกระเป๋า
ตรงด๎านข๎างๆละ ๑ ใบ ห๎ามใช๎ผ๎ายีนส์ ผ๎าลูกฟูกหรือผ๎าด๎าน ไมํมีปูาย ตรา ย่ีห๎อ หรือเคร่ืองหมายใดๆ บนตัว
กางเกง
๕.๔ เขม็ ขดั หนังสีดํา ไมํมีลวดลาย หัวเข็มขัดเป็นโลหะ ดุนเครื่องหมายวิทยาลัยฯ ตามแบบ
ทว่ี ิทยาลัยกาํ หนด
๕.๕ รองเทา๎ หนังหรือผา๎ ใบสีดาํ แบบหม๎ุ ส๎น ชนิดผูกเชือก
๕.๖ ถงุ เท๎า สน้ั สดี ํา ไมมํ ีลวดลาย และต๎องดงึ ตลอดความยาวถงุ เท๎า
๕.๗ ทรงผม

(๑) รองทรงสงู ตีนผมเกรียน สํวนท่ียาวท่สี ดุ ไมเํ กนิ ๕ เซนติเมตร
(๒) หา๎ มใช๎เยลใสผํ ม หรือไวท๎ รงผมตามแฟชั่นท่ีไมํเหมาะสม
(๓) หา๎ มย๎อม โกรก ขัดสี ดัด และอ่นื ๆ ท่ีไมเํ หมาะสม
(๔) หา๎ มไว๎หนวด เครา หรือไวจ๎ อนผมยาวเกนิ ตง่ิ หู
(๕) ห๎ามโกนผม ดว๎ ยเหตุอันไมสํ มควร
๕.๘ ห๎ามใสตํ ํางหู แหวนทองคาํ สรอ๎ ยคอทองคํา และของมคี ําทุกชนดิ
๕.๙ ห๎ามสัก และเจาะหู หรอื อวยั วะสํวนใดบนรํางกาย
๕.๑๐ อนุญาตให๎ใช๎นาฬิกาข๎อมือ แหวน ๑ วง และสร๎อยพระหรือวัตถุมงคล ท่ีมีขนาด
เหมาะสมและปกปดิ ใหม๎ ิดชดิ ทัง้ นี้การสวมใสํนาฬกิ า แหวน หรอื สร๎อย ตอ๎ งคาํ นึงถึงความเหมาะสม
ข้อ ๖ เคร่อื งแบบและการแตง่ กายนกั เรียนหญงิ
๖.๑ เส้ือนักเรียนหญิง เส้ือเชิ้ต แขนส้ันสีขาว จีบแขน ไมํตํอหลัง อกเส้ือผําอกตลอด ปักช่ือ
ยํอวิทยาลัยฯ “วช.นศ.” ขนาดอักษรสูง ๑.๕ เซนติเมตร ไว๎ด๎านบน ปักชื่อ – สกุล ขนาดอักษรสูง ๑
เซนติเมตร ไว๎ด๎านลําง ด๎วยไหมสีน้ําเงิน ผูกเนคไท ผ๎าสีกรมทํา แบบมาตรฐานตามท่ีวิทยาลัยกําหนด ยกเว๎น
สาขาวชิ าการโรงแรม ให๎ใช๎เนคไทสีแดงเลอื ดหมู และตอ๎ งสอดชายเส้อื ไวใ๎ นกระโปรงให๎เรียบร๎อย
๖.๒ เสื้อฝกึ ปฏบิ ตั งิ าน
(๑) สาขาชํางอุตสาหกรรม ใหใ๎ ช๎เสอ้ื และกางเกงเหมือนนักเรียนชายโดยอนุโลม
(๒) สาขาวชิ าพณชิ ยการ ใหใ๎ ชเ๎ สอ้ื และกระโปรงนักเรยี นหญงิ ตามขอ๎ ๖.๑ และ ๖.๓
(๓) สาขาวชิ าการโรงแรม ให๎ใชเ๎ สอื้ ฝกึ ปฏิบตั งิ าน ตามขอ๎ ๕.๒ วรรค ๒
๖.๓ กระโปรงนักเรยี นหญงิ สกี รมทํา แบบสภุ าพ จีบพับสองขา๎ งๆ ละ ๓ ตะเข็บ ทั้งด๎านหน๎า
และด๎านหลัง หันจีบออกด๎านนอก เย็บทับลงมา ๖ – ๑๒ เซนติเมตร เม่ือสวมแล๎วยาวคลุมเขํา ๘ –๑๕
เซนตเิ มตร มกี ระเปา๋ ในตวั ดา๎ นขวา
๖.๔ เขม็ ขัด หนงั สดี าํ ไมมํ ลี วดลาย หัวเข็มขัดเป็นโลหะ ดุนเครื่องหมายวิทยาลัยฯ ตามแบบ
ท่วี ิทยาลัยกําหนด

๖๔

๖.๕ รองเท๎าหนังแบบห๎มุ ส๎น ห๎ุมปลายเท๎า มีสายคาดหลังเท๎า ปิดด๎วยกระดุมหรือใช๎เข็มกลัด
รดั รองเทา๎ สน๎ สูงไมํเกิน ๒ น้วิ

๖.๖ ถงุ เท๎าสีขาว ไมํมลี วดลาย สูงจากข๎อเท๎าไมํเกนิ ๔ นวิ้
๖.๗ ทรงผม

(๑) ผมสั้นทรงนกั เรียน ยาวเลยติ่งหูลงมา ไมํเกนิ ๑ เซนติเมตร หรอื
(๒) ผมยาว ใหผ๎ ูกรวบดว๎ ยโบว์สีขาว และเก็บไรผมด๎วยกิป๊ สีดาํ ใหเ๎ รยี บร๎อย
(๓) ห๎ามทําสผี ม ซอย ดดั ตํอผม และไว๎ทรงผมตามแฟชน่ั ท่ไี มํเหมาะสม
๖.๘ หา๎ มใช๎เครอ่ื งประดบั ท่ีมคี าํ ห๎ามใสํตาํ งหูทกุ ชนิด
๖.๙ ห๎ามสัก หรือเจาะอวยั วะสวํ นใดบนราํ งกาย ยกเวน๎ เจาะหู
๖.๑๐ อนุญาตให๎ใช๎นาฬิกาข๎อมือ แหวน ๑ วง และสร๎อยพระหรือวัตถุมงคล ที่มีขนาด
เหมาะสมและปกปิดใหม๎ ดิ ชิด ทัง้ น้กี ารสวมใสํนาฬิกา แหวน หรือสร๎อย ตอ๎ งคํานึงถึงความเหมาะสม

หมวดที่ ๒
เครื่องแบบและการแต่งกายนักศกึ ษา ระดับประกาศนียบตั รวชิ าชพี ระดบั สงู (ปวส.)

ข้อ ๗ เครอื่ งแบบและการแต่งกายของนกั ศึกษาชาย
๗.๑ เสื้อนักศึกษาชาย เสื้อเช้ิตสีขาว แขนยาวคอต้ัง ไมํมีลวดลาย ผําอกตลอด มีสาบด๎าน

นอก แขนเส้ือยาวเสมอข๎อมือ มีสาบปลายแขน ติดกระดุม ๒ เม็ด ไหลํพอดี ติดปูาย ช่ือ – สกุล ตามแบบท่ี
วิทยาลัยกําหนด ผูกเนคไทสีดํา ติดคลิปหนีบเนคไทเป็นโลหะ ตามแบบที่วิทยาลัยกําหนด และต๎องผูกเนคไท
จากกระดุมเส้ือเม็ดแรกยาวถึงหัวเข็มขัด (ขนาดและวิธีผูกเนคไทให๎เป็นไปตามแบบสากลนิยม) และต๎องสอด
ชายเส้อื ไว๎ในกางเกงให๎เรยี บร๎อย

๗.๒ เส้ือฝึกปฏิบัติงาน สาขาชํางอุตสาหกรรม ใช๎เส้ือซาฟารี คอเช้ิต สีเทาอํอน มีกระเป๋าที่
อกด๎านซ๎าย ๑ ใบ ปักเครื่องหมายวิทยาลัย กระเป๋าท่ีขอบด๎านลํางเส้ือ ๒ ใบ แบบแปะ เส้ือมีขนาดพอเหมาะ
ปลํอยชายเส้ือ ปักช่ือ – สกุล ไว๎ด๎านบน ปักช่ือสาขางานไว๎ด๎านลําง บนอกเส้ือด๎านขวา ขนาดอักษรสูง ๑
เซนติเมตร ด๎วยไหมสีขาว

เสื้อฝึกปฏบิ ัตงิ านนักศกึ ษาชาย สาขาวชิ าพณิชยการ ให๎ใชเ๎ สือ้ ตามข๎อ ๗.๑
เสอ้ื ฝกึ ปฏบิ ตั ิงานนกั ศึกษาชาย สาขาวชิ าการโรงแรม ให๎ใช๎เสื้อตามข๎อ ๕.๒ วรรค ๒
๗.๓ กางเกง เป็นแบบสากลนิยม ทรงสุภาพ สีดํา ขายาว ไมํรัดรูป มีจีบด๎านหน๎า ข๎างละ ๒
จีบ มกี ระเปา๋ ดา๎ นหนา๎ ตรงแนวตะเขบ็ ข๎าง ด๎านละ ๑ ใบ ดา๎ นหลังมกี ระเปา๋ แบบเจาะไมมํ ีฝาปิด ห๎ามใช๎กางเกง
เอวต่าํ และผ๎ายนี ส์ ผ๎าลูกฟกู หรอื ผ๎าดา๎ น ไมมํ ปี ูาย ตรา ย่ีหอ๎ หรือเคร่อื งหมายใดๆ บนตวั กางเกง
๗.๔ เข็มขัดหนังสีดํา ไมํมีลวดลาย หัวเข็มขัดเป็นโลหะ ดุนเครื่องหมายวิทยาลัย ตามแบบที่
วิทยาลยั กาํ หนด
๗.๕ รองเท๎าหนงั สีดํา แบบหมุ๎ สน๎ ชนิดผูกเชอื ก
๗.๖ ถงุ เทา๎ สนั้ สีดาํ ไมํมลี วดลาย
๗.๗ ทรงผม

(๑) รองทรงตํ่า ทรงสุภาพ

๖๕

(๒) ห๎ามทาํ สีผม หรอื ไวท๎ รงผมตามแฟช่นั ที่ไมเํ หมาะสม
(๓) ห๎ามไวห๎ นวด ไว๎เครา หรอื ไวจ๎ อนผมยาวเกินต่งิ หู
(๔) หา๎ มโกนผม ดว๎ ยเหตอุ ันไมสํ มควร
๗.๘ หา๎ มใสํตํางหู แหวนทองคํา สรอ๎ ยทองคํา และของมีคาํ ทกุ ชนิด
๗.๙ ห๎ามสักและเจาะอวยั วะสวํ นใดๆ บนราํ งกาย
๗.๑๐ อนุญาตให๎ใช๎นาฬิกาข๎อมือ แหวน ๑ วง และสร๎อยพระหรือวัตถุมงคล ที่มีขนาด
เหมาะสมและปกปดิ ให๎มิดชิด ท้งั นก้ี ารสวมใสนํ าฬกิ า แหวน หรอื สร๎อย ตอ๎ งคํานงึ ถึงความเหมาะสม
ขอ้ ๘ เคร่ืองแบบและการแต่งกายของนกั ศึกษาหญงิ
๘.๑ เสื้อนักศึกษาหญิง เสื้อเชิ้ต แขนส้ัน สีขาว เน้ือผ๎าเกล้ียง ไมํมีลวดลาย ไมํรัดรูป ผําอก
ตลอด ปกเสือ้ ดา๎ นซา๎ ยใสํตุง้ ติ้ง เครอื่ งหมายวิทยาลยั กระดมุ โลหะ ๕ เมด็ ตามแบบวิทยาลยั กาํ หนด ติดปูาย
ชื่อ – สกลุ ตามแบบทว่ี ิทยาลยั กําหนด และติดเข็มเครื่องหมายวทิ ยาลยั บนอกเสื้อด๎านขวา
๘.๒ เสื้อฝึกปฏิบัติงาน
(๑) สาขาชํางอุตสาหกรรม ใหใ๎ ชเ๎ ส้อื และกางเกงเหมือนนกั ศึกษาชาย โดยอนุโลม
(๒) สาขาวิชาพณิชยการ เส้ือคอเชิ้ตสีฟูาอํอน แขนยาว ผูกผ๎าพันคอสีฟูา ติด
เครื่องหมายวทิ ยาลัย ท่อี กเสื้อด๎านขวา
(๓) สาขาวชิ าการโรงแรม ให๎ใช๎เส้ือตามข๎อ ๕.๒ วรรค ๒
๘.๓ กระโปรงสีดํา ทรงตรงหรือทรงเอ แบบผําหลังซ๎อนไมํน๎อยกวํา ๓ น้ิว สูงไมํเกิน ๖ นิ้ว
สะเอวสูง เมื่อสวมแลว๎ ชายกระโปรงยาวคลุมเขํา (อยํูใตเ๎ ขาํ ๒ นวิ้ )
๘.๔ เข็มขัดหนังสีดํา ไมํมีลวดลาย หัวเข็มขัดเป็นแบบโลหะ ดุนเครื่องหมายวิทยาลัย ตาม
แบบท่ีวทิ ยาลัยกําหนด
๘.๕ รองเทา๎ คัชชู หนงั สดี าํ แบบหุ๎มส๎น หม๎ุ ปลายเท๎า ทรงสภุ าพ มสี ๎นสูงไมํเกิน ๒ น้ิว ไมํสวม
ถงุ เท๎า
๘.๖ ทรงผม
(๑) ผมสนั้ ปลอํ ยยาวเสมอไหลํ หรือ
(๒) ถา๎ ไว๎ผมยาวให๎ผูกรวบด๎วยโบว์สีขาวและเก็บผมด๎วยก๊ิปสีดําให๎เรียบร๎อย หรือใช๎
ตาขํายคลมุ ผมสดี าํ
(๓) ห๎ามทําสีผม ซอย ดดั ตํอผม และไวผ๎ มตามแฟช่นั ทไี่ มเํ หมาะสม
๘.๗ หา๎ มใชเ๎ ครอ่ื งประดบั ทม่ี ีคาํ ห๎ามใสํตาํ งหูทุกชนดิ
๘.๘ หา๎ มสัก หรอื เจาะอวยั วะสวํ นใดบนรํางกาย ยกเวน๎ เจาะหู
๘.๙ อนุญาตให๎ใช๎นาฬิกาข๎อมือ แหวน ๑ วง และสร๎อยพระหรือวัตถุมงคล ท่ีมีขนาด
เหมาะสมและปกปดิ ใหม๎ ดิ ชดิ ท้ังน้กี ารสวมใสํนาฬิกา แหวน หรอื สร๎อย ต๎องคาํ นงึ ถึงความเหมาะสม

๖๖

หมวดท่ี ๓
เคร่ืองแบบอน่ื ๆ

ข้อ ๙ ชุดฝึกพลศึกษา เสื้อและกางเกงเป็นแบบผ๎ายืด เส้ือพ้ืนสีมํวงแถบสีเหลือง กางเกงสีดํา แถบสี
มํวง ตามแบบทว่ี ิทยาลยั กาํ หนด ปกั ช่อื – สกุล ขนาดอักษรสงู ๑ เซนติเมตร ด๎วยไหมสีขาว บนอกเส้ือด๎านขวา
ปกั เครอ่ื งหมายวิทยาลยั ขนาดเส๎นผาํ ศนู ยก์ ลาง ๒ นิว้ บนกระเปา๋ เส้ือดา๎ นซ๎าย

ข้อ ๑๐ เคร่ืองแบบลูกเสือ ให๎เป็นไปตามระเบียบของสํานักงานลูกเสือแหํงชาติ วําด๎วยเครื่องแบบ
ลกู เสอื วิสามัญ

ขอ้ ๑๑ ชุดนกั ศึกษาวชิ าทหาร ใหเ๎ ป็นไปตามระเบยี บท่เี ก่ยี วข๎อง

หมวดท่ี ๔
โอกาสในการแต่งกาย

ข๎อ ๑๒ นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยสารพัดชํางนครศรีธรรมราช ต๎องแตํงกายให๎ถูกต๎องตามระเบียบ
ของวิทยาลัย ต๎องให๎ความสําคัญกับเคร่ืองแบบ เพื่อเกียรติยศ ชื่อเสียงของวิทยาลัยฯ และเพื่อพัฒนา
บคุ ลิกภาพของผ๎เู รียน ให๎พร๎อมท่ีจะทาํ งาน จงึ ตอ๎ งฝึกกิจนสิ ัยและกาลเทศะโอกาสในการแตงํ เครื่องแบบดงั น้ี

(๑) เครื่องแบบนักเรียน นักศึกษา ใช๎ในโอกาสเข๎าเรียนรายวิชาทฤษฎี การสอบภาคทฤษฏี
การลงทะเบยี นวชิ าเรียน พิธกี าร กจิ กรรมทสี่ าํ คัญ และในโอกาสตาํ งๆ ทวี่ ทิ ยาลยั กาํ หนด

(๒) ชดุ ฝึกปฏบิ ตั งิ าน ใช๎ในโอกาสเข๎าเรยี นวชิ าปฏบิ ตั ิ สอบวชิ าปฏบิ ตั ิ
(๓) กรณีที่มเี รียนทั้งรายวชิ าทฤษฏี และปฏิบตั ิ ในวนั เดียวกัน ให๎ใชช๎ ดุ ฝกึ ปฏิบัติโดยอนุโลม
(๔) เครื่องแบบฝึกพลศึกษา ใช๎ในโอกาสที่เข๎าเรียนวิชาพลศึกษา หรือรายวิชาท่ีเกี่ยวข๎อง
และในโอกาสตาํ งๆ ท่ีวทิ ยาลัยกําหนด
(๕) ในวันที่มีเรียนกิจกรรมลูกเสือวิสามัญ ให๎แตํงเคร่ืองแบบลูกเสือวิสามัญ เข๎าเรียนท้ัง
รายวิชาทฤษฏแี ละปฏิบัตดิ ๎วย

๖๗

หมวดที่ ๕
อนื่ ๆ

ข๎อ ๑๓ กรณีผู๎เข๎ารับบริการ ผ๎ูเรียนหลักสูตรระยะสั้น หรือผ๎ูเรียนอ่ืนๆ ที่ไมํได๎บัญญัติไว๎ ให๎แตํงกาย
ด๎วยชดุ สภุ าพ ตามแบบสากลนิยม

ขอ๎ ๑๔ การแตํงกายอนื่ ๆ ท่ีเก่ียวข๎องกับระเบียบน้ี แตํไมํได๎บัญญัติไว๎ในระเบียบนี้ ให๎ใช๎ตามประเพณี
นิยม หรอื สากลนยิ ม

ข๎อ ๑๕ ให๎รองผ๎ูอํานวยการฝุายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษา รักษาการให๎เป็นไปตามระเบียบนี้
รวมทงั้ ให๎มีอํานาจตคี วามและวินิจฉยั ปญั หาทเ่ี กดิ ขึ้นกบั การปฏิบัตติ ามระเบียบนี้

ประกาศ ณ วนั ที่ ๙ เดอื น กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๔

(นายสุรศักด์ิ นาคาลักษณ์)
ผู๎อาํ นวยการวิทยาลัยสารพดั ชาํ งนครศรธี รรมราช

๖๘

วิทยาลยั สารพัดชา่ งนครศรีธรรมราช

เคร่ืองแบบนักเรียน ระดับ ปวช. ช่างอุตสาหกรรม

ชดุ นกั เรียน ชุดฝึกงาน

เครือ่ งแบบนกั เรียน ระดับ ปวช.แผนกวิชาพณชิ การ การโรงแรม

ชุดนักเรยี น

๖๙

วิทยาลยั สารพดั ช่างนครศรธี รรมราช

การแต่งกายนักศกึ ษาชาย ระดบั ปวส. ชา่ งอุตสาหกรรม

การแต่งกายนักศกึ ษาหญงิ ระดับ ปวส. แผนกวิชาพณชิ การ การโรงแรม

๗๐

แนวปฏบิ ัติของสถานศึกษา
------------------------------------------

งานทะเบยี น

ขั้นตอนการลงทะเบยี นเรียนรายวชิ า
๑. ตรวจเคร่อื งแตํงกายที่งานปกครองและรบั ใบผาํ นการตรวจเครอ่ื งแตํงกาย
๒. นาํ ใบผํานการตรวจเครื่องแตํงกาย...ยน่ื ตํอครูทีป่ รึกษา เพื่อรับบัตรลงทะเบียน
๓. ดาํ เนินการลงทะเบียนตามทวี่ ิทยาลัยฯ กาํ หนด
๔. นกั เรียน นกั ศึกษาเกบ็ บตั รลงทะเบียนไว๎เพ่ือแสดงบตั รลงทะเบยี นตํอครผู ๎ูสอนในชว่ั โมงแรกทุกรายวชิ า

ขนั้ ตอนการขอแก้ “๐”
๑. นกั เรยี น นกั ศึกษา รบั บัตรลงทะเบียนแก๎ “๐” จากงานทะเบียน ติดตํอครผู ู๎สอนตามรายวิชาเพ่ือลงชื่อ
รบั ทราบ
๒. นักเรยี น นกั ศึกษา นาํ บัตรลงทะเบียนแก๎ “๐” ให๎ครูที่ปรกึ ษาลงชือ่ แล๎วสงํ คนื งานทะเบียน

ข้นั ตอนการขอคืนสภาพการเป็นนักเรยี น นกั ศึกษา
๑. นักเรยี น นักศึกษา ตดิ ตํองานทะเบียน เพื่อรับแบบคําร๎องขอคนื สภาพการเปน็ นักเรยี น นักศึกษา
๒. ผูป๎ กครองลงช่ือรบั ทราบการขอคนื สภาพนกั เรียน นักศกึ ษา
๓. นักเรียน นักศึกษานาํ คาํ ร๎องขอคนื สภาพการเปน็ นักเรียน นักศกึ ษา ให๎ครูทป่ี รึกษา และหัวหนา๎ แผนก
รบั ทราบพิจารณาและลงชื่อ และสงํ คนื ที่งานทะเบยี นเพอื่ ตรวจสอบการพ๎นสภาพ รับทราบคนื สภาพและการ
เขา๎ ช้ันเรยี น
๔. นักเรยี น นักศึกษา ทราบผล/ลงทะเบียนวิชาเรียน ชําระคาํ คนื สภาพ นักเรยี น นกั ศกึ ษา

ข้นั ตอนการขอ เพ่ิม-ถอน รายวชิ า
๑. นักเรยี น นักศึกษา รับแบบคาํ รอ๎ งขอเพิ่ม-ถอน รายวชิ า กรอกแบบคําร๎อง
๒. ตดิ ตอํ ครผู ๎ูสอนตามรายวิชาและครูท่ปี รึกษาเพอ่ื ลงชื่อรับทราบ
๓. ชาํ ระเงินตามระเบยี บ
หมายเหตุ : การเพ่ิมรายวิชา กระทาํ ภายใน ๒ สัปดาห์ หลังเปดิ ภาคเรียน

การถอนรายวิชา กระทาํ ภายใน ๑ เดือน หลังเปดิ ภาคเรียน

ขั้นตอนการขอทาบตั รนักเรยี น นักศกึ ษา
๑. นกั เรยี น นักศึกษารบั คํารอ๎ งการขอทําบตั รนักเรียน นกั ศกึ ษา ทงี่ านทะเบียน
๒. ชําระคําทําบัตรตามระเบยี บ
หมายเหตุ : กรณีสญู หายต๎องแสดงใบแจ๎งความเอกสารหาย กรณบี ตั รชํารดุ ตอ๎ งแสดงบัตรทีช่ ํารุด

ขั้นตอนการขอเอกสารต่างๆ จากงานทะเบยี น
๑. นกั เรียน นักศึกษา รบั แบบคําร๎อง ท่งี านทะเบียน พรอ๎ มกรอกแบบคําร๎อง (ระบุเอกสารท่ีตอ๎ งการ)
๒. นําแบบคําร๎องให๎ครูทป่ี รึกษาลงชอื่ และสงํ คืนทีง่ านทะเบยี น
หมายเหตุ : การขอเอกสารจากงานทะเบยี นต๎องย่นื แบบคํารอ๎ งไว๎ลํวงหนา๎ อยํางนอ๎ ย ๒ วันทาํ การ

๗๑

งานกจิ กรรมนกั เรยี น นักศึกษา

แนวปฏิบัติของนกั เรียน นักศกึ ษา ในการจัดกิจกรรมในสถานศึกษา สงั กดั คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
กิจกรรมในสถาน ศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ยึดระเบียบ

กระทรวงศึกษาธิการ การจัดกิจกรรมในสถานศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๓๒ โดยคํานึงถึง
หลกั การดังตํอไปนี้

๑. ยึดนโยบายของคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในการจัดกิจกรรมในสถานศึกษา คณะกรรมการ
อาชวี ศึกษามนี โยบายให๎จดั กิจกรรมลูกเสอื วิสามัญและกจิ กรรมองค์การวชิ าชีพฯ

๒. ในการจัดกิจกรรม วิทยาลัยฯ กําหนดกิจกรรมลูกเสือวิสามัญ ในชั้น ปวช.๑ และกิจกรรมของ
องค์การวชิ าชพี ฯ ในช้นั ปวช.๒ - ๓ และ ปวส.๑ - ๒ สาํ หรับกิจกรรมอ่ืน ๆ ให๎สถานศกึ ษาตามความเหมาะสม

๓. การดําเนินกจิ กรรมใหด๎ ําเนนิ การตามระเบียบและข๎อบงั คบั ของกจิ กรรมน้ัน ๆ ตลอดจนปฏิบัติตาม
แนวปฏบิ ตั ขิ องกิจกรรมวทิ ยาลยั ฯ กําหนด

๔. นักเรียน นักศึกษา ในสถานศึกษา ซ่ึงได๎ลงทะเบียนเรียนรายวิชาอยํางสมบูรณ์แล๎ว ต๎องเป็น
สมาชิกองคก์ ารนกั วชิ าชีพในอนาคตแหํงประเทศไทย ชมรมวิชาชพี และชมรมอื่นๆ ท่ีจัดตั้งในสถานศึกษา โดย
ต๎องเขา๎ รํวมกิจกรรมของสถานศกึ ษา ได๎แกํ

๔.๑ กิจกรรมลกู เสอื (ปวช.๑)
๔.๒ กิจกรรมชมรมวชิ าชพี (ปวช.๒ - ๓ และ ปวส.๑ – ๒)
๔.๓ กจิ กรรมทว่ี ิทยาลยั ฯ กําหนด
๕. นักเรียน นกั ศึกษา ทุกคนตอ๎ งผํานวชิ ากจิ กรรมทวี่ ทิ ยาลัยฯ กําหนดในปกี ารศึกษา นนั้ ๆ ถา๎
นกั เรียนนกั ศึกษา คนใดไมํผํานกิจกรรมจะไมํอนุญาตใหล๎ งทะเบียนวชิ ากิจกรรมในปกี ารศกึ ษาตอํ ไป
การสมคั รเขา้ เรยี นนักศึกษาวิชาทหาร
นักเรียน นักศึกษา ที่ประสงค์ที่จะสมัครเข๎าเรียนวิชาทหาร ให๎ติดตํอครูผ๎ูทําหน๎าที่ผู๎กํากับนักศึกษา
วิชาทหาร และควรเตรยี มเอกสารตาํ ง ๆ ดังนี้
๑. สําเนาทะเบียนบ๎าน จํานวน ๑ ฉบับ
๒. หลักฐานการศกึ ษา รบ. ๑ ต.
๓. หลกั ฐานลูกเสือวสิ ามัญรํนุ ใหญํ กรณคี ะแนนเฉลยี่ ไมถํ ึง ๒.๐๐ แตไํ มํตํา่ กวาํ ๑.๕๐
๔. ใบรบั รองการตรวจราํ งกาย (ใบรบั รองแพทย์)
นกั ศึกษาท่ีอยํใู นการฝึกมสี ทิ ธิ์ไดร๎ ับการยกเวน๎ ไมเํ รยี กเข๎ากองประจําการ ผูส๎ าํ เร็จวชิ าทหารต้ังแตํปที ี่
๓ ข้ึนไปมีสิทธิ์ขึน้ ทะเบียนกองประจําการ และปลดทหารกองหนนุ โดยไมํถูกเกณฑ์เข๎ารับราชการทหารได๎
การขอผอ่ นผันเข้ารบั ราชการทหาร
นักเรียน นักศึกษา ที่มีอายุครบ ๒๐ ปี บริบูรณ์และกําลังศึกษาอยูํในวิทยาลัยฯ มีความประสงค์จะ
ขอผอํ นผันการเข๎ารบั ราชการทหาร ใหเ๎ ตรียมหลกั ฐานเอกสารดงั นี้
๑. สําเนาทะเบยี นบ๎าน จํานวน ๑ ฉบับ
๒. ใบ ส.ด. ๙ (ถาํ ยสาํ เนา จาํ นวน ๒ ฉบับ)
๓. หมายเรียกเกณฑ์เข๎ารับราชการ (ถํายสําเนา ๒ ฉบับ)ให๎นักเรียน นักศึกษา ติดตํอครูผ๎ูทํา
หนา๎ ท่ผี ๎ูกํากับนักศึกษาวชิ าทหาร

๗๒

งานสวสั ดิการนกั เรยี น นักศึกษา

การบริการหอ้ งพยาบาล
๑. เปิดให๎บริการระหวาํ งเวลา ๐๘.๐๐ – ๑๖.๓๐ น.
๒. กรณีนักเรียน นักศึกษา ปุวยหรือประสบอุบัติแหตุเล็กน๎อย มียาสามัญประจําบ๎านให๎บริการและ
ปฐมพยาบาลเบ้อื งต๎น
๓. นักเรียน นักศึกษา คนใดปุวยให๎ไปเบิกยาด๎วยตนเอง โดยแจ๎งให๎หัวหน๎างานสวัสดิการหรือ
เจ๎าหนา๎ ทท่ี ราบเพ่ือจํายยาให๎ และลงบันทึกการรับยาไว๎เป็นหลักฐานทุกครั้ง หากหยิบยาโดยพลการ วิทยาลัย
ฯ จะไมํรับผดิ ชอบกรณที ี่ผลเกดิ จากการใชย๎ า
๔. กรณีนักเรียน นักศึกษา (ปุวย) ต๎องการนอนพักและส้ินสุดการใช๎บริการห๎องพยาบาล ต๎องแจ๎งให๎
หวั หน๎างานสวัสดิการหรอื เจ๎าหน๎าที่ทราบ โดยลงช่อื การใช๎บรกิ ารและตรวจสอบความเรยี บรอ๎ ย
๕. หา๎ มนาํ อุปกรณ์ เครอ่ื งใช๎ประจาํ ห๎องพยาบาลออกนอกห๎องพยาบาล
๖. วทิ ยาลัยฯ มนี โยบายตรวจสุขภาพ นักเรยี น นกั ศึกษา เปน็ ประจําทกุ ปี

-----------------------------
การประกนั อุบัติเหตุ
นกั เรยี น นกั ศึกษาทุกคน ต๎องทําประกันอุบตั ิเหตุกับบรษิ ัทประกันฯ ทว่ี ิทยาลัยฯ กาํ หนด
กรณีที่ ๑ ได๎รับบาดเจ็บสามารถเบิกเงินคํารักษาพยาบาลคืนได๎ในวงเงินไมํเกิน ๕,๐๐๐ บาท
โดยนาํ เอกสารใบรับรองแพทย์ และใบเสรจ็ รบั เงิน (ฉบับจรงิ ) ติดตอํ ทีง่ านสวสั ดิการ นักเรียน นกั ศึกษา
กรณีท่ี ๒ เสียชีวิต ได๎รับเงินชดเชย ๕๐,๐๐๐ บาท โดยผู๎ปกครองติดตํอท่ีงานสวัสดิการพยาบาล
เพอ่ื ดาํ เนนิ การขอรับเงนิ ชดเชยคําสินไหมทดแทน
-----------------------------------------------------

๗๓

งานแนะแนวอาชีพและจัดหางาน

งานแนะแนวอาชีพและจัดหางานใหบ้ ริการแกน่ กั เรียน นกั ศกึ ษา ดังน้ี

๑. ใหบ๎ รกิ ารกยู๎ ืมเงินกองทุนเพื่อการศกึ ษา (กยศ.) นักเรยี น นกั ศึกษาดาํ เนินการดงั น้ี

ขั้นตอนแรก (การยนื่ กูค้ รั้งท่ี ๑)

- เวบ็ ไซต์ เงินให๎ก๎ยู ืมการศึกษา (กยศ.) www.studentloan.or.th/ ขนั้ ตอนเข๎าเวบ็ ไซต์
หนา๎ เวบ็ ไซต์ (กยศ.) สาํ หรับนกั เรียน นกั ศึกษา (กยศ.) รายใหมํ

- วทิ ยาลัยฯ ดาํ เนินการพจิ ารณาและประกาศรายชือ่ ผู๎มีสทิ ธ์ิไดร๎ บั การกูย๎ มื
- ผูไ๎ ด๎รบั สทิ ธก์ิ ๎ูยมื ...รับแบบฟอร์มและย่ืนเอกสารตามที่...งานแนะแนวอาชีพและจัดหา

งาน
- ผ๎ูได๎รับสิทธิ์ก๎ูยืมต๎องนําผู๎ปกครองมาทําสัญญาตามระยะเวลาท่ีกําหนด (หากไมํ
เป็นไปตามกําหนดจะโดนตัดสิทธ์ิ)
- ใหผ๎ มู๎ ีสิทธิ์กย๎ู มื ทกุ คนติดตามความคบื หนา๎ ของเงินกูจ๎ ากwww.studentloan.or.th/
โดยใชร๎ หัสผาํ น ๖ หลัก และเลขประจําตวั ประชาชน (เป็นรหสั เฉพาะของผก๎ู ๎แู ตลํ ะราย จงึ ต๎องจาํ เป็นกรณี
พเิ ศษ)
ขั้นตอนท่ี ๒ (กรณที ี่ต้องการก้ใู นภาคเรยี นตอ่ ๆ ไป)
- เขา๎ เวบ็ ไซต์ เงนิ ให๎ก๎ูยมื การศกึ ษา (กยศ.) www.studentloan.or.th/ เพ่ือยืนยันใน
การใช๎สิทธ์ิกู๎ยืมทุกๆ ภาคเรียน หากไมํเข๎ายืนยันตามเวลาที่กําหนดจะถูกตัดสิทธ์ิในการก๎ูยืมตลอดการศึกษา
หากมคี วามประสงค์จะกูย๎ ืมอกี นกั เรียน นักศึกษาจะต๎องดาํ เนินการตามข้ันตอนแรกทกุ ประการ
๒. กรณีนักเรียน นักศึกษา จบการศึกษา ระดับ ปวช. หรือ ปวส. และไปศึกษาตํอท่ีอื่น หากต๎องการ
ใช๎สิทธ์ิก๎ูยืมให๎ติดตํอ...ท่ีงานแนะแนวอาชีพและจัดหางานเพื่อรับสําเนาสัญญาก๎ูยืมไปยืนยันสิทธิ์กับการศึกษา
นน้ั ๆ
๓. จัดหาทุนการศึกษาให๎แกํนักเรียน นักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ หรือมีผลการเรียนดี และมี
ประพฤตเิ รียบร๎อยชํวยเหลอื กจิ กรรมสํวนรวํ มดี และบรกิ ารเงนิ ก๎ูยมื เพื่อการศกึ ษา
๔. ให๎คาํ ปรกึ ษาและบรกิ ารการทาํ งานระหวาํ งเรยี น

๗๔

ขัน้ ตอนการกูย้ ืมเงินของนกั เรียน/นักศึกษา กรณผี ู้กู้ยมื เงินรายใหม่ ภาคเรยี นที่ 1

1 Per-Register นักเรียน / นกั ศกึ ษาท่ีมีความประสงค์ขอกย๎ู ืมสามารถลงทะเบยี น เพื่อรบั
รหัสผํานของระบบ e-Studentioan โดยกองทนุ จะนําข๎อมูลท่ไี ด๎ไป

ตรวจสอบคณุ สมบตั ิเบื้องตน๎ กับกรมการปกครอง

2 ยื่นแบบคําขอกย๎ู ืมเงิน นกั เรยี น / นักศึกษา ยน่ื แบบคาํ ขอก๎ูยืมเงินกองทนุ ผํานระบบ e-
Studentioan พรอ๎ มพิมพ์แบบคาํ ขอกู๎ยืม และแนบเอกสารประกอบ

เพื่อนาํ สํงให๎สถานศึกษาที่ตนเองจะเขา๎ ศึกษา

(นักเรียน/นักศึกษาต๎องย่ืนแบบคําขอก๎ยู ืมเพื่อแจ๎งความประสงค์ขอกู๎ยืม

ภายในระยะเวลาท่ีกองทนั กาํ หนด)

3 สัมภาษณ์ และคดั เลอื ก คณะกรรมการของสถานศึกษาจะเรยี กนักเรียน / นกั ศึกษาสมั ภาษณ์
และตรวจสอบคุณสมบัติ เพ่ือพจิ ารณาอนุมตั ิการให๎ก๎ยู ืม

4 ตรวจสอบผลการอนมุ ัติ นกั เรียน / นกั ศึกษา ตรวจผลการพจิ ารณาอนุมตั จิ ากประกาศของ
สถานศกึ ษา หรือตรวจผลการพิจารณาอนมุ ตั ิผาํ นระบบ e-

Studentioan

5 นักเรยี น นกั ศึกษาเปดิ บญั ชี นักเรยี น / นักศกึ ษาเปิดบัญชเี งินออมทรัพย์ ณ สาขาของ
ธนาคาร ธนาคารกรุงไทยหรอื ธนาคารอิสลามแหํงประเทศไทยที่ตนเองประสงค์
จะใชบ๎ ริการ ถ๎ามีบญั ชอี อมทรพั ยธ์ นาคารกรงุ งไทยหรอื ธนาคารอิสลาม

แหงํ ประเทศไทยทสี่ ามารถใช๎ไดอ๎ ยูํและประสงคจ์ ะใช๎กไ็ มตํ ๎องเปดิ บญั ชี

ใหมํ

6 ทาํ สัญญากู๎ยืมเงนิ นกั เรียน / นกั ศึกษาบันทึกข๎อมลู ในสญั ญาผํานระบบ e-Studentioan
และพิมพ์สัญญา 2 ชุด และจัดหาเอกสารประกอบสัญญา พรอ๎ มลง

ลายมือช่อื ให๎ครบถ๎วนแล๎วนาํ สงํ สถานศึกษาท่ีตนเองศกึ ษา

7 บนั ทึกจาํ นวนเงนิ คาํ เลาํ เรยี นและ นกั เรยี น / นักศึกษา บันทึกจํานวนเงินคําเลาํ เรียน และคําใช๎จาํ ยท่ี
คาํ ใชจ๎ ํายที่เกยี่ วเนอื่ งกบั การศกึ ษา เกีย่ วเนอ่ื งกับการศกึ ษาโดยไมํเกนิ จํานวนท่ีสถานศึกษาเรยี กเก็บผาํ น
ระบบ e-Studentioan

8 ตรวจสอบและบนั ทกึ จาํ นวนเงนิ กย๎ู มื สถานศึกษาตรวจสอบและบนั ทกึ จํานวนเงินคาํ เลําเรียน และคําใชจ๎ ํายที่
ในการลงทะเบยี นเรยี น/แบบยนื ยัน เกี่ยวเนอ่ื งกบั การศึกษา พร๎อมพมิ พ์เอกสารแบบลงทะเบียนเรียน/แบบ
จํานวนเงนิ คาํ เลาํ เรียนคาํ ใช๎จาํ ยที่ ยืนยันจาํ นวนเงนิ คําเลาํ เรียน คําใช๎จาํ ยทเ่ี กี่ยวเน่ืองกับการศึกษา และคํา

เก่ียวเนื่องกบั การศกึ ษา ครองชีพ ให๎ผู๎กยู๎ มื เงนิ ตรวจสอบความถูกต๎อง ถา๎ ถูกต๎องแล๎วให๎ลงลายมือ

ช่ือไวเ๎ ป็นหลกั ฐาน ทง้ั ผกู๎ ูย๎ ืมเงิน และสถานศึกษา

9 การจาํ ยเงนิ กยู๎ ืม กองทุนจะโอนเงนิ คําครองชีพเข๎าบัญชีของผู๎กยู๎ ืมทุกเดือน สําหรบั คําเลาํ
เรียนและคําใชจ๎ ํายที่เกยี่ วเน่ืองกบั การศกึ ษา กองทนุ จะโอนเขา๎ บญั ชีของ

สถานศึกษา

๗๕

ขนั้ ตอนการก้ยู ืมเงนิ ของนกั เรียน/นกั ศึกษาผ้กู ูย้ ืมเงินรายเก่า

ทไี่ มเ่ ปล่ียนแปลงระดบั การศึกษา และไม่เปล่ียนสถานศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี 1

1 ย่ืนแบบคาํ ขอกู๎ยืมเงิน นกั เรียน / นักศกึ ษา ยนื่ แบบคําขอก๎ยู มื เงนิ กองทนุ ผํานระบบ e-
Studentioan (นกั เรียน/นกั ศึกษาต๎องยื่นแบบคาํ ขอกย๎ู ืมเพื่อแจง๎ ความ

ประสงคย์ นื ยันการขอกย๎ู ืมภายในระยะเวลาที่กองทนั กําหนด)

2 สัมภาษณ์ และคดั เลือก คณะกรรมการของสถานศึกษาจะเรยี กนักเรียน / นักศึกษาสัมภาษณ์
และตรวจสอบคุณสมบตั ิ เพื่อพจิ ารณาอนมุ ัติการให๎ก๎ูยืม

3 ตรวจสอบผลการอนุมัติ นักเรียน / นกั ศกึ ษา ตรวจผลการพิจารณาอนุมัตจิ ากประกาศของ
สถานศกึ ษา หรอื ตรวจผลการพจิ ารณาอนุมัตผิ าํ นระบบ e-

Studentioan

4 บนั ทึกจํานวนเงนิ คําเลําเรยี นและ นกั เรียน / นักศกึ ษา บนั ทึกจํานวนเงินคําเลําเรียน และคําใช๎จํายท่ี
คําใชจ๎ ํายทเ่ี กยี่ วเนื่องกับการศกึ ษา เกี่ยวเนอื่ งกบั การศกึ ษาโดยไมํเกินจํานวนท่สี ถานศึกษาเรยี กเกบ็ ผําน
ตามทสี่ ถานศึกษาเรียกเกบ็ ระบบ e-Studentioan

5 ตรวจสอบและบันทึกจาํ นวนเงินกยู๎ มื สถานศกึ ษาตรวจสอบและบนั ทึกจาํ นวนเงนิ คําเลําเรยี น และคําใช๎จาํ ยท่ี
ในการลงทะเบยี นเรยี น/แบบยืนยัน เกย่ี วเนือ่ งกับการศึกษา พร๎อมพิมพเ์ อกสารแบบลงทะเบียนเรยี น/แบบ
จํานวนเงินคาํ เลาํ เรียนคําใช๎จาํ ยท่ี ยนื ยันจํานวนเงนิ คาํ เลําเรยี น คาํ ใชจ๎ าํ ยทเี่ ก่ยี วเนื่องกับการศึกษา และคํา

เกย่ี วเนื่องกบั การศกึ ษาและคาํ ครอง ครองชพี ใหผ๎ ๎ูกูย๎ มื เงนิ ตรวจสอบความถกู ต๎อง ถ๎าถูกต๎องแล๎วใหล๎ งลายมอื
ชีพ ชอื่ ไวเ๎ ป็นหลกั ฐาน ท้งั ผก๎ู ย๎ู ืมเงิน และสถานศึกษา

6 การจํายเงินก๎ูยืม กองทุนจะโอนเงินคําครองชีพเข๎าบญั ชขี องผู๎กู๎ยืมทกุ เดือน สําหรับคาํ เลาํ
เรียนและคาํ ใช๎จํายทีเ่ กี่ยวเน่อื งกบั การศกึ ษา กองทุนจะโอนเข๎าบญั ชขี อง

สถานศกึ ษา

๗๖

งานวิทยบรกิ ารและห้องสมุด

การให้บริการงานวิทยบริการและหอ้ งสมุด
ห๎องสมดุ : เปกิ ทําการวนั ราชการ เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๖.๐๐ น.

การให้บรกิ าร
- หนังสือ วารสาร ส่งิ พมิ พ์
- ส่อื โสตทัศนูปกรณ์
- สอ่ื การเรียนการสอน
- ศนู ยก์ ารเรียนร๎ูด๎วยตนเอง

การทาบัตรห้องสมุด
นักเรยี น นักศึกษาทําบตั รห๎องสมดุ ดว๎ ยตวั เองเมื่อเข๎าเปน็ นักเรยี น นักศึกษา ของวิทยาลัยสารพัดชําง

นครศรธี รรมราชและสามารถใชไ๎ ดต๎ ลอดจนจบการศึกษา
หลักฐานประกอบการทาบัตรห้องสมดุ

- รูปถํายนกั เรียน นกั ศกึ ษา ขนาด ๑ นวิ้ ๑ รูป
- เงนิ คาํ บตั รหอ๎ งสมุด ๕ บาท
การยืม - คืนหนงั สือห้องสมุด
- ใช๎บัตรห๎องสมุดของตนเองในการยืม – คืน หนังสือห๎องสมุด ห๎ามใช๎บัตรของผ๎ูอื่น ถ๎าฝุาฝืนเมื่อ
เจา๎ หน๎าทขี่ องห๎องสมดุ ตรวจพบบัตรนัน้ ถกู ทําลาย
- การให๎บริการ ยืม – คืน หนังสือห๎องสมุด วันจันทร์ – ศุกร์ เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๕.๓๐ น. เว๎น
วันหยดุ ราชการและวันปดิ ภาคเรยี น
- การยืมหนงั สอื ให๎นําบัตรของตนเองเขียนชื่อและนามสกลุ ของผ๎ูยืมอยํางชัดเจนอยํางงํายในชํองยืม
เลขทะเบียนหนงั สอื ในชอํ งเลขทะเบยี นหนังสือใหเ๎ จา๎ หนา๎ ที่ประทับยืม
- หนังสือทั่วไปยืมได๎ครั้งละไมํเกิน ๓ เลํม ระยะเวลา ๗ วัน เม่ือยืมเกินกําหนดปรับวันละ ๑ บาท
หนังสอื วารสารยมื ไดไ๎ มเํ กนิ ๒ ช่วั โมง เมอื่ ไมคํ นื ภายในกาํ หนด เวลาปรบั วนั ละ ๕ บาท
- หนงั สืออ๎างอิง วารสารเย็บเลมํ ห๎ามยืมออกนอกหอ๎ งสมุดเกนิ ๒ ช่ัวโมง ถา๎ มคี วามจําเป็นต๎องนําไป
ถํายเอกสารหรือปรึกษาครูผู๎สอน ให๎นําหนังสือนั้นพร๎อมบัตรยืมไปแจ๎งเจ๎าหน๎าท่ีเพื่อจดเลขทะเบียนหนังสือ
และยึดบตั รยืมไว๎และจะคนื ใหเ๎ มื่อคนื หนงั สือ
- กรณีหนังสอื หาย ให๎แจ๎งเจา๎ หนา๎ ท่หี ๎องสมุดและชื้อหนังสือใช๎คืนใหก๎ บั ห๎องสมุด

๗๗

ระเบียบการใชง้ านระบบเครอื ข่ายอินเตอรเ์ น็ตและห้องอินเตอรเ์ น็ต

สาหรับนกั เรยี น/นักศึกษา
นกั เรียน นักศึกษาทกุ คนจะได๎รับสิทธใิ นการใช๎อนิ เตอรข์ องวิทยาลยั ฯ โดยอัตโนมัติ เมือ่ นักเรียน

นักศึกษาลงทะเบยี นเรยี นกับทางวทิ ยาลัยฯ
สามารถติดตํอขอใช๎ชื่อใช๎ผู๎ใช๎( Username) และรหัสผําน (Password) ได๎ที่ครูเอกชัย คุ๎มภัยรันต์

วทิ ยาลัยสารพดั ชํางนครศรีธรรมราช
ระบบนักเรียน นักศกึ ษาสามารถเช็ดเวลาเรียน และดูระบบการเรียนระบบ RMS 2016 ของวิทยาลัย

ฯ ได๎ตลอดทุกทีท่ กุ เวลาทม่ี อี นิ เตอรเ์ นต็
นักเรยี น นักศกึ ษาสามารถงานทํา หรือสมคั รงานผาํ น www.v-cop .net ได๎โดนตรง
ผู๎ใช๎งานระบบเครือขํายอินเตอร์เน็ต วิทยาลัยสารพัดชํางนครศรีธรรมราช จะต๎องรับผิดชอบช่ือผ๎ูใช๎

( Username) และรหัสผําน (Password ) ของตนเอง และต๎องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวําด๎วย การกระทํา
ความผดิ เกย่ี วกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ทุกประการ

หากฝุาฝนระเบียบอนั ถือวําเป็นความผดิ ร๎ายแรง ผใ๎ู ช๎งานจะต๎องยินยอมให๎ดําเนินการเพ่ือเอาโทษทาง
วนิ ัย และหรือ ดําเนนิ คดไี ด๎ตามกฎหมาย

๗๘

โครงสร้างหลกั สตู ร

ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2562

๗๙

ปวช.

วิทยาลยั สารพดั ช่างนครศรธี รรมราช

หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี พุทธศกั ราช 2562
แผนการเรียนมุงํ เนน๎ สมรรถนะอาชพี
ปกี ารศกึ ษา 2565-2567

๘๐

วิทยาลัยสารพัดชา่ งนครศรธี รรมราช
แผนการเรียนหลกั สตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ พทุ ธศักราช 2562 ชัน้ ปวช. 1-3

ประเภทวิชา อตุ สาหกรรม สาขาวิชา ชํางยนต์
สาขางาน ยานยนต์

ภาคเรยี น 1 / 2565

๘๑

วทิ ยาลยั สารพัดชา่ งนครศรธี รรมราช
แผนการเรียนหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี พทุ ธศักราช 2562 ช้นั ปวช. 1-3

ประเภทวชิ า อุตสาหกรรม สาขาวิชา ชํางยนต์
สาขางาน ยานยนต์

ภาคเรยี น 2 / 2565

๘๒

วิทยาลยั สารพดั ช่างนครศรธี รรมราช
แผนการเรยี นหลักสตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพ พทุ ธศกั ราช 2562 ช้นั ปวช. 1-3

ประเภทวชิ า อตุ สาหกรรม สาขาวชิ า ชาํ งยนต์
สาขางาน ยานยนต์

ภาคเรยี น 1 / 2566

๘๓

วิทยาลยั สารพดั ช่างนครศรีธรรมราช
แผนการเรยี นหลักสตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพ พทุ ธศกั ราช 2562 ช้นั ปวช. 1-3

ประเภทวชิ า อตุ สาหกรรม สาขาวชิ า ชาํ งยนต์
สาขางาน ยานยนต์

ภาคเรยี น 2 / 2566

๘๔

วทิ ยาลยั สารพัดชา่ งนครศรธี รรมราช
แผนการเรียนหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี พทุ ธศักราช 2562 ช้นั ปวช. 1-3

ประเภทวชิ า อุตสาหกรรม สาขาวิชา ชํางยนต์
สาขางาน ยานยนต์

ภาคเรยี น 1 / 2567

๘๕

วิทยาลัยสารพดั ชา่ งนครศรธี รรมราช
แผนการเรียนหลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชีพ พทุ ธศักราช 2562 ชั้น ปวช. 1-3

ประเภทวิชา อตุ สาหกรรม สาขาวชิ า ชํางยนต์
สาขางาน ยานยนต์

ภาคเรยี น 2 / 2567

๘๖

วิทยาลัยสารพัดช่างนครศรธี รรมราช
แผนการเรยี นหลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี พทุ ธศักราช 2562 ชน้ั ปวช. 1-3

ประเภทวิชา อตุ สาหกรรม สาขาวชิ า ชาํ งยนต์ (ทวิภาคี)
สาขางาน ยานยนต์

ภาคเรยี น 1 / 2565

๘๗

วิทยาลัยสารพัดช่างนครศรธี รรมราช
แผนการเรยี นหลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี พทุ ธศักราช 2562 ชน้ั ปวช. 1-3

ประเภทวิชา อตุ สาหกรรม สาขาวชิ า ชาํ งยนต์ (ทวิภาคี)
สาขางาน ยานยนต์

ภาคเรยี น 2 / 2565

๘๘

วิทยาลัยสารพัดช่างนครศรธี รรมราช
แผนการเรยี นหลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี พทุ ธศักราช 2562 ชน้ั ปวช. 1-3

ประเภทวิชา อตุ สาหกรรม สาขาวชิ า ชาํ งยนต์ (ทวิภาคี)
สาขางาน ยานยนต์

ภาคเรยี น 1 / 2566

๘๙

วิทยาลัยสารพัดช่างนครศรธี รรมราช
แผนการเรยี นหลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี พทุ ธศักราช 2562 ชน้ั ปวช. 1-3

ประเภทวิชา อตุ สาหกรรม สาขาวชิ า ชาํ งยนต์ (ทวิภาคี)
สาขางาน ยานยนต์

ภาคเรยี น 2 / 2566

๙๐

วิทยาลัยสารพัดช่างนครศรธี รรมราช
แผนการเรยี นหลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี พทุ ธศักราช 2562 ชน้ั ปวช. 1-3

ประเภทวิชา อตุ สาหกรรม สาขาวชิ า ชาํ งยนต์ (ทวิภาคี)
สาขางาน ยานยนต์

ภาคเรยี น 1 / 2567

๙๑

วิทยาลัยสารพดั ชา่ งนครศรธี รรมราช
แผนการเรยี นหลักสตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ พทุ ธศกั ราช 2562 ชั้น ปวช. 1-3

ประเภทวิชา อุตสาหกรรม สาขาวชิ า ชาํ งยนต์ (ทวภิ าค)ี
สาขางาน ยานยนต์

ภาคเรยี น 2 / 2567

๙๒

วิทยาลยั สารพดั ชา่ งนครศรีธรรมราช
แผนการเรยี นหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพ พทุ ธศักราช 2562 ชน้ั ปวช. 1-3

ประเภทวิชา อุตสาหกรรม สาขาวิชา ชํางไฟฟูากําลัง (ทวิภาคี)
สาขางาน ไฟฟาู กาํ ลงั

ภาคเรยี น 1 / 2565

๙๓

วทิ ยาลยั สารพดั ชา่ งนครศรีธรรมราช
แผนการเรยี นหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี พุทธศกั ราช 2562 ช้ัน ปวช. 1-3

ประเภทวชิ า อุตสาหกรรม สาขาวิชา ชํางไฟฟูากําลัง (ทวิภาคี)
สาขางาน ไฟฟูากําลงั

ภาคเรยี น 2 / 2565

๙๔

วทิ ยาลัยสารพดั ชา่ งนครศรธี รรมราช
แผนการเรยี นหลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ช้นั ปวช. 1-3

ประเภทวิชา อุตสาหกรรม สาขาวชิ า ชํางไฟฟูากําลัง (ทวภิ าคี)
สาขางาน ไฟฟูากาํ ลงั

ภาคเรยี น 1 / 2566

๙๕

วิทยาลยั สารพดั ชา่ งนครศรีธรรมราช
แผนการเรยี นหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพ พทุ ธศักราช 2562 ชน้ั ปวช. 1-3

ประเภทวิชา อุตสาหกรรม สาขาวิชา ชํางไฟฟูากําลัง (ทวิภาคี)
สาขางาน ไฟฟาู กาํ ลงั

ภาคเรยี น 2 / 2566

๙๖

วิทยาลยั สารพัดชา่ งนครศรธี รรมราช
แผนการเรียนหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี พทุ ธศักราช 2562 ชั้น ปวช. 1-3

ประเภทวิชา อตุ สาหกรรม สาขาวชิ า ชํางไฟฟูากําลงั (ทวิภาคี)
สาขางาน ไฟฟูากําลงั

ภาคเรยี น 1 / 2567

๙๗

วิทยาลยั สารพัดชา่ งนครศรธี รรมราช
แผนการเรียนหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี พทุ ธศักราช 2562 ชั้น ปวช. 1-3

ประเภทวิชา อตุ สาหกรรม สาขาวชิ า ชํางไฟฟูากําลงั (ทวิภาคี)
สาขางาน ไฟฟูากําลงั

ภาคเรยี น 2 / 2567

๙๘

วทิ ยาลัยสารพดั ชา่ งนครศรธี รรมราช
แผนการเรียนหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี พทุ ธศกั ราช 2562 ช้ัน ปวช. 1-3

ประเภทวชิ า อุตสาหกรรม สาขาวิชา ชาํ งอเิ ล็กทรอนิกส์
สาขางาน อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

ภาคเรียน 1 / 2565

๙๙

วทิ ยาลัยสารพัดช่างนครศรธี รรมราช
แผนการเรยี นหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ พุทธศกั ราช 2562 ช้ัน ปวช. 1-3

ประเภทวิชา อตุ สาหกรรม สาขาวชิ า ชาํ งอิเล็กทรอนิกส์
สาขางาน อเิ ลก็ ทรอนิกส์

ภาคเรยี น 2 / 2565

๑๐๐

วทิ ยาลยั สารพัดช่างนครศรธี รรมราช
แผนการเรยี นหลักสตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ พุทธศกั ราช 2562 ชัน้ ปวช. 1-3

ประเภทวชิ า อตุ สาหกรรม สาขาวชิ า ชํางอิเลก็ ทรอนกิ ส์
สาขางาน อิเลก็ ทรอนกิ ส์

ภาคเรยี น 1 / 2566


Click to View FlipBook Version