The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือ ปวช.ปวส65(1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pornsuda.1126, 2022-05-08 07:06:03

คู่มือ ปวช.ปวส65(1)

คู่มือ ปวช.ปวส65(1)



คมู่ ือนักเรยี น นกั ศึกษา

ระดบั ชัน้ ปวช. ปวส.
วิทยาลยั สารพัดชา่ งนครศรีธรรมราช

ปีการศึกษา ๒๕๖๕

วิทยาลยั สารพัดช่างนครศรีธรรมราช
Nakhon Si Thammarat Polytechnic College
214 หม่ทู ี่ 1 ต.ปากพนู อ.เมอื ง จ.นครศรีธรรมราช
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร



คานา

วิทยาลัยสารพัดชํางนครศรีธรรมราชขอแสดงความยินดีและต๎อนรับนักศึกษาใหมํ เข๎าสํูรั้วมํวงเหลือง
ท่ีมีความหลากหลายในการให๎บริการวิชาชีพแกํนักศึกษา และชุมชนมาอยํางตํอเน่ือง นับตั้งแตํปีพุทธศักราช
๒๕๓๑ อันเป็นปีแรกทีเ่ รามกี ารกํอสร๎างวิทยาลัยสารพัดชํางนครศรีธรรมราช จวบจนถึงปัจจุบัน ในทุกๆ ปีที่มี
นักศกึ ษาเขา๎ มาศกึ ษาตอํ มคี วามจาํ เป็นที่จะตอ๎ งมีความรคู๎ วามเข๎าใจในการเรียนและการปฏิบัติตนตามระเบียบ
หลักเกณฑ์และข๎อปฏิบัติตํางๆสามารถนําไปปฏิบัติและกํากับชีวิตการเป็นนักศึกษา ตลอดหลักสูตรได๎อยํางมี
ประสทิ ธภิ าพ

วิทยาลัยสารพัดชํางนครศรีธรรมราช จึงได๎จัดทําคูํมือนักศึกษา สําหรับนักศึกษาใหมํ เน้ือหาสาระใน
คํูมือเลํมน้ีประกอบด๎วย ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ที่เกี่ยวข๎องกับการจัดการศึกษาการปกครองระเบียบ
วิทยาลัยสารพัดชํางนครศรีธรรมราชแผนการจัดการเรียนร๎ูเพ่ือให๎ผู๎ปกครองนักศึกษาได๎ใช๎เป็นแนวทางกํากับ
และตรวจสอบการเรียนของนักศึกษา ในทุกๆ ภาคเรียน จนสําเร็จการศึกษาได๎อยํางมีคุณภาพและมี
ประสิทธภิ าพ

วิทยาลัยสารพัดชํางนครศรีธรรมราช หวังอยํางย่ิงวําคูํมือนักศึกษา เลํมน้ี เป็นสํวนหนึ่งในการ
เสรมิ สร๎างทักษะ สมรรถนะ และทัศนคติท่ีดีตํอการศึกษาสายอาชีพของผู๎ปกครองและนักศึกษา และสํงผลตํอ
วัตถุประสงค์ นโยบายการจัดการศึกษาของประเทศ กระทรวงศึกษาธิการ วิทยา ลัยสารพัดชําง
นครศรีธรรมราช ตลอดจนตอบสนองความต๎องการของนักศึกษา ให๎ประสบความสําเร็จในชีวิตเม่ือเข๎าสํูโลก
ของอาชีพในอนาคต

วทิ ยาลัยสารพัดชาํ งนครศรธี รรมราช



สารบญั

เรอื่ ง หน้า

ปรชั ญาและวิสัยทศั น์ ๔

ประวตั วิ ทิ ยาลยั สารพัดชาํ งนครศรีธรรมราช ๕

บคุ ลากรวิทยาลัยสารพดั ชาํ งนครศรีธรรมราช ๗

แผนภมู ิบรหิ ารสถานศกึ ษา ๑๐

ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรื่อง การใหใ๎ ชห๎ ลักสตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ ๒๕๖๒

ประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้นั สูง ๒๕๖๓ ๑๑

ประกาศคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ๓๐

พระราชบัญญัติเครื่องแบบนักเรยี น พ.ศ. ๒๕๕๑ ๓๖

ระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการวําดว๎ ยเครือ่ งแบบนักเรยี น พ.ศ. ๒๕๕๑ ๓๘

ระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการวําดว๎ ยการลงโทษนักเรยี น นักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ ๔๔

กฎกระทรวง กําหนดหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขในการจัดระบบงาน

และ กจิ กรรมในการแนะแนว ๔๖

คาํ ส่ังกระทรวงศึกษาธิการ เร่ืองแนวทางปฏบิ ตั ิการดาํ เนินงานปูองกันและ

แก๎ไขปญั หายาเสพติดในสถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๖ ๔๘

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ “เร่อื ง ผป๎ู กครองนักเรียน นักศกึ ษา” ๕๐

กฎกระทรวง กาํ หนดความประพฤตขิ องนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ ๕๑

ระเบยี บวิทยาลยั สารพัดชํางนครศรีธรรมราช วาํ ดว๎ ยการปกครองนักเรยี น นักศึกษา

(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔) ๕๒

ระเบียบวิทยาลยั สารพัดชาํ งนครศรธี รรมราช วําดว๎ ยการแตํงกายของ

นักเรียน นักศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๕ ๖๒

ภาพการแตํงกายนักเรยี น นักศึกษา ๖๘

แนวปฏิบตั ขิ องสถานศกึ ษา ๗๐

งานทะเบียน ๗๐

งานกจิ กรรมนักเรียน นกั ศกึ ษา ๗๑

งานสวสั ดกิ ารนกั เรยี น นกั ศึกษา ๗๒

งานแนะแนวอาชพี และจัดหางาน ๗๓

งานวิทยบรกิ ารและห๎องสมุด ๗๖

ระเบียบการใช๎งานระบบเครอื ขํายอินเตอร์เนต็ และหอ๎ งอินเตอร์เนต็ ๗๗

แผนการเรียนระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชัน้ สงู (ปวช.) ๗๘

แผนการเรียนระดับประกาศนียบตั รวชิ าชพี ช้ันสงู (ปวส.) ๑๓๐

ข๎อบงั คบั ชมรมผป๎ู กครองและครวู ิทยาลยั สารพัดชํางนครศรีธรรมราช ๑๔๓



ปรัชญาและวิสัยทัศน์

ปรัชญา : “ทักษะยอด มารยาทเยยี่ ม เปย่ี มวินัย ใฝุพฒั นา”

วสิ ัยทัศน์
วิทยาลยั สารพัดชาํ งนครศรธี รรมราช มุํงผลติ กาํ ลังคนดา๎ นอาชวี ศกึ ษา พฒั นาอาชีพ การบรกิ าร อยําง
มคี ุณภาพ สูสํ ังคมทยี่ ั่งยนื

พันธกจิ

๑. ผลิตกาํ ลังคนด๎านอาชีวศึกษาที่มีคุณภาพ
๒. สงํ เสรมิ และพฒั นากาํ ลงั คนดา๎ นอาชวี ศึกษา
๓. การบริการวิชาชีพอยํางมีคุณภาพ
๔. สรา๎ งงานและพฒั นาอาชีพสํูสังคมทย่ี ่งั ยืน

อัตลักษณ์ : บรกิ ารและพัฒนาอาชพี
เอกลักษณ์ : สร๎างอาชีพ
สปี ระจาวทิ ยาลยั : มํวง เหลอื ง
ตน้ ไมป้ ระจาวทิ ยาลยั : ตน๎ ตะแบก



ประวตั ิ วิทยาลัยสารพัดช่างนครศรีธรรมราช

วิทยาลัยสารพัดชํางนครศรีธรรมราช ตั้งอยูํที่ ๒๑๔ หมูํที่ ๑ ตําบลปากพูน อําเภอเมือง

จังหวดั นครศรีธรรมราช เดิมช่อื โรงเรยี นสารพัดชํางนครศรีธรรมราช ประกาศจัดต้ังวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๓๑

เปิดสอนครัง้ แรกในหลักสตู รวิชาชพี ระยะส้ัน เมอ่ื วนั ท่ี ๙ กรกฎาคม ๒๕๓๓ โดยใชส๎ ถานที่ (ชั่วคราว) ภายใน

โรงเรยี นอํามาตย์พทิ ยานุสรณ์ ซง่ึ เปน็ โรงเรียนเอกชนของ อาจารย์สมบรู ณ์ ภารพบ

พ.ศ.๒๕๓๕ ได๎ย๎ายมาอยํู ณ สถานที่ปัจจุบัน คือ หมํูที่ ๑ ตําบลปากพูน ในพ้ืนท่ี ๑๐ ไรํเศษ โดยการ

บริจาคของนางเคล๎า ผลาวรรณ และนายคล๎อย นางจริยา บุญสิน ตํอมาได๎รับการยกฐานะเป็นวิทยาลัย

สารพัดชํางนครศรีธรรมราช เมอ่ื วันท่ี ๗ มิถุนายน ๒๕๓๔ พรอ๎ มกับโรงเรียนสารพัดชํางอื่นๆ ท่วั ประเทศ

วทิ ยาลยั สารพัดชาํ งนครศรธี รรมราช มผี ู๎บริหารตราบจนถงึ ปจั จบุ นั ๑๒ ทําน เรียงตามลาํ ดบั ดังนี้

๑. นายอํานาจ เตม็ สงสัย พ.ศ.๒๕๓๑ - ๒๕๓๔

๒. นายณรงค์ แกนํ แทนํ พ.ศ.๒๕๓๔ - ๒๕๓๗

๓. นายสมหมาย พลเดช พ.ศ.๒๕๓๗ - ๒๕๓๙

๔. นางรอยพมิ พ์ใจ เพชรกลุ พ.ศ.๒๕๓๙ - ๒๕๔๑

๕. นายประเสริฐ ชแู สง พ.ศ.๒๕๔๑ - ๒๕๔๒

๖. นายบุญสม พง่ึ ปาน พ.ศ.๒๕๔๒ - ๒๕๔๗

๗. นางพงศท์ ิพย์ รตั นวิชา พ.ศ.๒๕๔๗ - ๒๕๕๐

๘. นายมาโนชญ์ เนาวส์ ินธ์ พ.ศ.๒๕๕๐ - ๒๕๕๑

๙. นายสรุ ศกั ดิ์ รอดสวุ รรณนอ๎ ย พ.ศ.๒๕๕๑ - ๒๕๕๖

๑๐. นายสมบูรณ์ ชดชอ๎ ย พ.ศ.๒๕๕๖ - ๒๕๖๑

๑๑. นายสายันต์ แสงสุรยิ นั ต์ พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๖๓

๑๒. นายสรุ ศกั ด์ิ นาคาลักษณ์ พ.ศ.๒๕๖๓ - ปัจจุบัน

วิทยาลัยสารพดั ช่างนครศรธี รรมราช มีจดุ ประสงคใ์ นการจัดการศกึ ษา ดังนี้
๑. จัดการเรียนการสอนเพื่อสํงเสริมและพัฒนาอาชีพให๎กับประช าชนผู๎ด๎อยโอกาส
ผ๎ูสูงอายุ กลุํมอาชีพในท๎องถิ่น โดยเปิดโอกาสให๎ผู๎เรียนสามารถเลือกเรียนอาชีพได๎ตามความถนัด เพ่ือหา
ชํองทางในการประกอบอาชพี ในเวลาอันรวดเรว็ หรือต๎องการเปล่ียนอาชีพใหมํตามท่ีตนต๎องการ หรือต๎องการ
เรียนเพ่ือนาํ ผลการเรียนไปเทยี บโอนเป็นวิชาในหลักสตู รในระบบ
๒. จัดการเรียนการสอนเพ่ือผลิตแรงงานระดับก่ึงชํางฝีมือ ระดับชํางฝีมือและระดับชํางเทคนิค
ตามความต๎องการของตลาดแรงงาน หรอื ตามความต๎องการแรงงานของชาตเิ พือ่ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
โดยให๎มที ักษะและสมรรถนะเพอื่ การประกอบอาชีพหรือเพ่ือการศกึ ษาตํอในระดับที่สงู ขนึ้ ไปไดเ๎ ปน็ อยํางดี
๓. จัดฝกึ อบรมอาชพี แกปํ ระชาชน เยาวชนในท๎องถิน่ หรอื ถ่ินทุรกันดารอ่นื ๆ



วิทยาลัยสารพัดชํางนครศรีธรรมราช เร่ิมเปิดสอนหลักสูตรระยะสั้น ปีการศึกษา ๒๕๓๓

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ปีการศึกษา ๒๕๓๗ และเปิดสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

(ปวส.) ปกี ารศึกษา ๒๕๔๓ ตามลาํ ดบั ปจั จุบนั เปดิ สอนสาขาวชิ าดังน้ี

๑. ระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ (ปวช.)

๑.๑ ระบบปกติ

(๑) สาขางานยานยนต์

(๒) สาขางานอิเล็กทรอนกิ ส์

(๓) สาขางานการบัญชี

(๔) สาขางานการโรงแรม

(๕) สาขางานไฟฟาู กาํ ลงั (กลํุมผ๎ูด๎อยโอกาส)

๑.๒ ระบบทวภิ าคี

(๑) สาขางานยานยนต์

(๒) สาขางานไฟฟาู กาํ ลัง

(๓) สาขางานเทคนิคคอมพวิ เตอร์

(๔) สาขางานการตลาด

(๕) สาขางานจักรยานยนต์

๒. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี ช้นั สงู (ปวส.)

ระบบทวิภาคี

(๑) สาขางานเทคนคิ ยานยนต์

(๒) สาขางานไฟฟูากาํ ลงั

(๓) สาขางานคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์

(๔) สาขางานการบัญชี

(๕) สาขางานธุรกิจคา๎ ปลีกทว่ั ไป

(๖) สาขางานบรกิ ารอาหารและเครื่องดมื่

(๗) สาขางานธรุ กิจความงาม

๓. หลักสูตรระยะส้นั

๓.๑. ชํางเสรมิ สวย ๓.๑๐. การเย็บประดิษฐจ์ ากผ๎า

๓.๒. การขบั รถยนต์ ๓.๑๑. อาหาร ขนม

๓.๓. ตดั ผมชาย ๓.๑๒. ศลิ ปะประดิษฐ์ จัดดอกไม๎

๓.๔. ตดั ผมชายฟรีสไตล์ ๓.๑๓. ชํางซอํ มเครอื่ งใชไ๎ ฟฟาู

๓.๕. การนวดฝุาเทา๎ ๓.๑๔. ชาํ งซอํ มคอมพิวเตอร์

๓.๖. การแตํงหน๎า ๓.๑๕. บัญชี พมิ พด์ ีดดว๎ ยคอมพวิ เตอร์

๓.๗. ศิลปะโลหะเทยี ม ๓.๑๖. ชาํ งเช่อื ม ชาํ งเหล็กดัด มงุ๎ ลวด

๓.๘. จับจีบผ๎า ฯลฯ

๓.๙. ซลิ คส์ กรนี



บคุ ลากรวทิ ยาลัยสารพัดชา่ งนครศรีธรรมราช

--------------------------------------------

ผบู้ รหิ าร

นายสุรศักดิ์ นาคาลกั ษณ์ ผอู๎ ํานวยการวิทยาลยั

นายวชั ระ เพชรแก๎ว รองผูอ๎ ํานวยการวิทยาลยั

นางสมพศิ โยมา รองผอ๎ู าํ นวยการวิทยาลัย

นายอภริ กั ษ์ สุขเกษม รองผ๎ูอาํ นวยการวิทยาลยั

แผนกวิชาชา่ งยนต์

นายโชคประสทิ ธิ์ ทองเลี่ยมนาค หวั หน๎าแผนกวชิ า

นายสวุ ิทย์ ใจเพียร

นายวัชรนิ ทร์ สริ พฒั นพพิ ฒั น์

นายจรญั กําจดั ภัย

นายมงคลชยั จงจิตร

แผนกวิชาชา่ งไฟฟ้ากาลัง

นายสวาท ครองนชุ หัวหนา๎ แผนกวิชา

นายอภิรักษ์ สขุ เกษม

นายสุริยา เสนา

นายสุขเกษม โต๏ะแจะ

นายพอเจตต์ จงบุรี

นางสาวพรสดุ า สุขขี

นายจามีกร รัตนานุกูล

แผนกวชิ าชา่ งอเิ ล็กทรอนิกส์

นายวรพจน์ ศรีโลพนั ธุ์ หวั หน๎าแผนกวิชา

นายปรีชา วรรณปทมุ จนิ ดา

นางรชั นีย์ ไชยรัตน์

แผนกวชิ าการบญั ชี หวั หนา๎ แผนกวิชาการบัญชี

นางปตั นิ แกว๎ เนิน
นายสมชาย ระยะไมตรี
นางปัญชลกิ า ปันเจรญิ
นางสาววิมลรตั น์ ชัยยศ



แผนกวิชาการตลาด หวั หนา๎ แผนกวชิ าการตลาด

นางสาวณฐั กานต์ สายวิจิตร
นางสาวจติ รา ธนูศร
นางธมลวรรณ นาคาลกั ษณ์
นางธญั ญาณภ์ ัช ขาวแก๎ว
นางศริ ินดา สงพราหม์

แผนกวชิ าการโรงแรมและการทอ่ งเทีย่ ว

นางพรทิพา อวริ ุตม์ หัวหนา๎ แผนกวชิ า

นางสาวอรศิ รา มสุ าเหม

นางสาวสุลารตั น์ จงจิตร

แผนกวิชาช่างเทคนิคพน้ื ฐาน

นายชํานาญ จันทมาศ หวั หนา๎ แผนกวชิ า

นายวชั รา บวั ทอง

นางสาวพรนภา มูสกิ ะสง

แผนกวชิ าสามัญสมั พันธ์

นางสาวกัลยา เรืองรอง หวั หน๎าแผนกวชิ า

นายสมบรู ณ์ ทพิ ย์มนุ ี

นางสาวอาทติ วรรณ ตํวนศริ ิ

นายพรชยั บุษยากลุ

นางสาวอนสุ รา มาลีชนั

นางสาววรษิ า ฤทธิราช

นางสาวดวงใจ เจรญิ เลศิ

คหกรรมศาสตร์/ระยะส้ัน

นางสาวดรณุ ี พลพันธุ์ หวั หน๎าแผนกวิชาหลักสตู รวิชาชพี ระยะสน้ั

นางพัชรี พฤศวานิช ครูสอนเสริมสวย

นางสาววรี วลั ย์ สายชลเชยี่ ว ครผู ๎าและเคร่ืองแตงํ กาย

๙ พนักงานพัสดุ

ลูกจ้างประจา เจา๎ หน๎าทง่ี านงานวิจัยฯ
เจ๎าหน๎าทงี่ านการเงนิ
นางจุไรรตั น์ ชูจินดา เจ๎าหน๎าทงี่ านการเงนิ
เจ๎าหนา๎ ทงี่ านบัญชี
ลกู จ้างชั่วคราว เจ๎าหน๎าทง่ี านครูทปี่ รึกษา
เจา๎ หน๎าทง่ี านวัดผลฯ
นางสาววันวิสาข์ จุลภักดิ์ เจ๎าหน๎าทงี่ านพัฒนาหลักสตู ร
นางสาวขนษิ ฐา มสุ า เจา๎ หน๎าที่งานอาชวี ศกึ ษาทวภิ าคี
นางสาวสุดารตั น์ พนั ธมาศ เจา๎ หน๎าทงี่ านบุคลากร
นางสาวปยิ ภา บาํ รุงพนั ธ์ เจ๎าหนา๎ ทงี่ านวางแผนฯ
นางปรีดาพร ทิพยม์ นุ ี เจา๎ หน๎าทงี่ านสํงเสริมผลติ ผลฯ
นางศศธิ ร อนิ ทร์แกว๎ เจา๎ หน๎าทง่ี านกิจกรรมฯ
นางสาวศริ ิรัตน์ หอแปนู เจ๎าหน๎าทง่ี านทะเบยี น
นางธญั ญารตั น์ ธานรี ัตน์ เจ๎าหนา๎ ทง่ี านบริหารงานท่วั ไป
นางปยิ ะพร ทวสี ิทธิ์ เจา๎ หนา๎ ทงี่ านพัสดุ
นางสวุ ิมล รัตนบรุ ี เจ๎าหนา๎ ทง่ี านประกันคุณภาพ
นางสาวปทมุ เอยี งกลบั พนักงานขบั รถ
นางสาวเยาวลกั ษณ์ วรรณมาศ ยามรักษาการณ์
นางสาวอารรี ัตน์ ศรีชะวะ ยามรักษาการณ์
นางดลพร บรบิ รู ณ์ ยามรักษาการณ์
นางสาวปาณิสา ทศภพ คนงาน
นางอโนมา ตาํ ลิม่ คนงาน
นายสายัญห์ วิหกฤทธิ์
นายณรงค์ ขันใส
นายถาวร สพุ นั ธภกั ดี
นายนริ ตุ ณ พัทลงุ
นางสมใจ ทองถนอมวงศ์
นางสาวกิตติมา ผลาวรรณ

๑๐

แผนภมู บิ ริหารสถานศกึ ษา
วทิ ยาลัยสารพัดช่างนครศรีธรรมราช

คณะกรรมการบริหารสถานศกึ ษา ผู้อานวยการวทิ ยาลัย คณะกรรมการวิทยาลยั

ฝา่ ยบริหารทรัพยากร ฝา่ ยแผนงานและความร่วมมือ ฝ่ายพฒั นากจิ การนกั เรยี น นกั ศกึ ษา ฝ่ายวิชาการ

งานบริหารงานท่วั ไป งานวางแผนและงบประมาณ งานกิจกรรมนกั เรียนนักศกึ ษา แผนกวชิ า

งานบคุ ลากร งานศูนย์ขอ๎ มลู สารสนเทศ งานครทู ่ปี รกึ ษา งานพัฒนาหลักสตู ร
งานการเงนิ การเรยี นการสอน
งานการบัญชี งานความรวํ มมอื งานปกครอง
งานพสั ดุ งานวัดผลและ
งานอาคารสถานที่ งานวิจยั พฒั นานวตั กรรม งานแนะแนวอาชพี ประเมนิ ผล
งานทะเบยี น และสิ่งประดิษฐ์ และการจัดหางาน
งานประชาสมั พนั ธ์ งานวทิ ยบรกิ าร
งานประกันคุณภาพและ งานสวสั ดกิ ารนกั เรยี นนักศกึ ษา และหอ๎ งสมดุ
มาตรฐานการศกึ ษา
งานโครงการพเิ ศษและ งานอาชวี ศกึ ษา
งานสํงเสรมิ ผลติ ผลการค๎าและ การบริการชุมชน ระบบทวิภาคี
ประกอบธุรกิจ
งานสื่อการเรยี นการสอน

๑๑

๑๒

๑๓

๑๔

๑๕

๑๖

๑๗

๑๘

๑๙

๒๐

๒๑

๒๒

๒๓

๒๔

๒๕

๒๖

๒๗

๒๘

๒๙

๓๐

๓๑

๓๒

๓๓

๓๔

๓๕

๓๖

พระราชบญั ญัติ
เครอ่ื งแบบนกั เรียน

พ.ศ. ๒๕๕๑

ภูมิพลอดลุ ยเดช ป.ร.
ให๎ไว๎ ณ วนั ที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑

เป็นปที ่ี ๖๓ ในรัชกาลปัจจบุ ัน

พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา๎ ฯ ใหป๎ ระกาศวาํ
โดยทเ่ี ป็นการสมควรปรบั ปรงุ กฎหมายวาํ ด๎วยเครือ่ งแบบนักเรียน
พระราชบัญญตั นิ ้มี บี ทบัญญัตบิ างประการเกีย่ วกับการจํากดั สิทธิและเสรีภาพของบุคคลซึ่งมาตรา ๒๙
ประกอบกับมาตรา ๓๒ ของรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย บัญญัติให๎กระทําได๎โดยอาศัยอํานาจตาม
บทบญั ญตั แิ หงํ กฎหมาย
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล๎า ฯ ให๎ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว๎โดยคําแนะนําและยินยอมของสภานิติ
บัญญตั ิแหงํ ชาติ ดงั ตํอไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ีเรียกวาํ “พระราชบัญญตั เิ ครื่องแบบนกั เรียน พ.ศ. ๒๕๕๑”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตนิ ใ้ี หใ๎ ชบ๎ ังคับตง้ั แตวํ นั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเปน็ ตน๎ ไป
มาตรา ๓ ให๎ยกเลิกพระราชบัญญัตเิ ครื่องแบบนักเรียน พุทธศักราช ๒๔๘๒
มาตรา ๔ ในพระราชบญั ญตั ินี้

“นักเรียน” หมายความวํา ผ๎ูซ่ึงศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและผู๎ซ่ึงศึกษาใน
ระดบั อดุ มศกึ ษาต่ํากวาํ ปรญิ ญาตามกฎหมายวําด๎วยการศึกษาแหํงชาติ

“สถานศึกษา” หมายความวํา สถานศึกษาตามกฎหมายวําด๎วยการศึกษาแหํงชาติแตํไมํ
รวมถึงสถานศึกษาในระดบั อดุ มศึกษาระดบั ปริญญา

“เครื่องแบบนักเรียน” หมายความวํา เคร่ืองแตํงกาย ส่ิงประกอบเครื่องแตํงกายและ
เครือ่ งหมายตําง ๆ ที่กําหนดใหน๎ กั เรียนแตํงตามพระราชบัญญัตนิ ี้

มาตรา ๕ ให๎นักเรียนแตํงเครื่องแบบนักเรียนลักษณะของเครื่องแบบนักเรียน วิธีการแตํง เงื่อนไขใน
การแตํงและการยกเว๎นไมํต๎องแตํงเครื่องแบบนักเรียน ให๎เป็นไปตามระเบียบที่กระทรวงศึกษาธิการกําหนด
นักเรียนผใ๎ู ดไมํแตงํ เคร่อื งแบบนกั เรียนโดยไมํได๎รับยกเว๎นตามวรรคสองอาจได๎รับโทษ ทางวินัยตามระเบียบท่ี
กระทรวงศึกษาธิการกําหนด

๓๗

มาตรา ๖ สถานศึกษาใดมีความประสงค์จะขอใช๎เครื่องแบบนักเรียนเป็นอยํางอ่ืน นอกเหนือจากท่ี
กําหนดตามมาตรา ๕ วรรคสอง ให๎ย่ืนคําขออนุญาตตํอกระทรวงศึกษาธิการ ตามระเบียบท่ี
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารกาํ หนด

มาตรา ๗ ผู๎ใดแตํงเคร่ืองแบบนักเรียนโดยไมํมีสิทธิที่จะแตํงหรือแตํงกายเลียนแบบ เคร่ืองแบบ
นกั เรียนถา๎ ไดก๎ ระทําเพ่อื ให๎บคุ คลอื่นเชื่อวําตนเป็นนักเรยี น ต๎องระวางโทษปรบั ไมํเกนิ หนงึ่ พันบาท

มาตรา ๘ บรรดาระเบียบ ประกาศ และคําส่ังที่ออกโดยอาศัยอํานาจตามพระราชบัญญัติ เครื่องแบบ
นักเรียน พุทธศักราช ๒๔๘๒ ท่ีใช๎บังคับอยูํในวันกํอนวันที่พระราชบัญญัติน้ีใช๎บังคับให๎ใช๎บังคับได๎ตํอไปเทําท่ี
ไมํขัดหรือแย๎งกับบทบัญญัติในพระราชบัญญัติน้ี ทั้งน้ี จนกวําจะได๎มีการออกระเบียบตามบทบัญญัติแหํง
พระราชบญั ญตั ินี้

มาตรา ๙ ให๎รฐั มนตรีวําการกระทรวงศึกษาธกิ ารรกั ษาการตามพระราชบัญญัตินี้

ผรู๎ บั สนองพระบรมราชโองการ
พลเอก สรุ ยุทธ์ จลุ านนท์
นายกรัฐมนตรี

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช๎พระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ โดยท่ีพระราชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน
พุทธศักราช ๒๔๘๒ ใช๎บังคับมาเป็นเวลานาน บทบัญญัติบางประการจึงไมํเหมาะสมกับ

สภาวการณ์ในปัจจุบัน สมควรปรับปรุงโดยกําหนดให๎มีเครื่องแบบนักเรียนไว๎เป็นมาตรฐานกลาง เพื่อ
ประโยชน์ในการประหยัดและความเป็นระเบียบเรียบร๎อย และสร๎างวินัยให๎แกํนักเรียน รวมทั้งเป็นการ
คม๎ุ ครองเพอ่ื มิใหบ๎ คุ คลอ่นื แตํงเครื่องแบบนักเรยี นโดยไมํมสี ิทธ์ิท่ีจะแตงํ จึงจําเป็นต๎องตราพระราชบัญญัตินี้

๓๘

ระเบียบกระทรวงศึกษาธกิ ารวา่ ดว้ ยเครื่องแบบนกั เรยี น
พ.ศ. ๒๕๕๑

********************************
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ และ ๖ แหํงพระราชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. ๒๕๕๑
รัฐมนตรีวําการกระทรวงศึกษาธกิ าร จงึ วางระเบียบไวด๎ งั ตํอไปนี้
ข๎อ ๑ ระเบียบนีเ้ รียกวํา “ระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ ารวําดว๎ ยเคร่ืองแบบนักเรยี น ๒๕๕๑”
ข๎อ ๒ ระเบียบนใ้ี หใ๎ ชบ๎ งั คับตัง้ แตวํ นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานุเษกษา เปน็ ตน๎ ไป
ขอ๎ ๓ ให๎ยกเลกิ

(๑) ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธิการวาํ ด๎วยเคร่ืองแบบนักเรียนและ นักศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๒๗
(๒) ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวําด๎วยเครื่องแบบนักเรียนและ นักศึกษา (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.
๒๕๔๐
(๓) ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวําด๎วยเครื่องแบบนักเรียนและ นักศึกษา (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.
๒๕๔๒
(๔) ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวําด๎วยเครื่องแบบนักเรียนและ นักศึกษา (ฉบับที่๔) พ.ศ.
๒๕๔๖ บรรดาระเบียบ ข๎อบังคับ หรือคําสั่งอื่นใดในสํวนที่กําหนดไว๎ในระเบียบน้ี หรือซึ่งขัด หรือแย๎งกับ
ระเบียบนใี้ หใ๎ ช๎ระเบียบนแ้ี ทน
ข๎อ ๔ ระเบียบนี้ให๎ใช๎บังคับแกํนักเรียน ผ๎ูซึ่งศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและสถานศึกษาระดับต่ํา
กวําปรญิ ญาตามกฎหมายวําด๎วยการศึกษาแหํงชาติ เว๎นแตํสถานศึกษาน้ันจะมีกฎหมายกําหนดเร่ืองการแตํง
กายไวเ๎ ปน็ การเฉพาะแลว๎
ขอ๎ ๕ ลกั ษณะของเครือ่ งแบบนกั เรียนแหํงตามระดบั และประเภทการศึกษา ดงั นี้
(๑) เคร่ืองแบบนกั เรยี นระดับกํอนประถมศึกษา
(๒) เครื่องแบบนักเรยี นระดบั ประถมศกึ ษา
(๓) เครื่องแบบนกั เรียนระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน๎
(๔) เครือ่ งแบบนกั เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายประเภทสามัญศึกษา
(๕) เครือ่ งแบบนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายประเภทอาชีพ และระดับอุดมศึกษาระดับ
ตํา่ กวาํ ปรญิ ญา
(๖) เครอื่ งแบบนักเรยี นสําหรบั สถานศกึ ษาเอกชนสอนศาสนาอสิ ลาม
(๗) เคร่ืองแบบนักเรียนซ่ึงนับถือศาสนาอิสลามในสถานศึกษาอื่นนอกจากสถานศึกษาเอกชน
สอนศาสนาอิสลาม
ขอ๎ ๖ เครอ่ื งแบบนักเรียนระดับกอํ นประถมศึกษา
นักเรยี นชาย
(๑) เสอ้ื ผา๎ สีขาว แบบคอเชติ้ หรือคอปกกลม แขนส้นั

๓๙

(๒) เครอื่ งหมาย ใช๎ช่อื อักษรยอํ ของสถานศกึ ษาปกั ทีอ่ กเสอ้ื เบ้ืองขวา บนเน้ือผ๎า ด๎วยด๎ายหรือ
ไหมโดยสถานศึกษารฐั ใชส๎ นี าํ้ เงนิ สถานศกึ ษาเอกชนใชส๎ ีแดง

(๓) กางเกง ผ๎าสีดาํ สนี าํ้ เงนิ สีกรมทําหรือสแี ดง ขาส้นั
(๔) รองเท้า หนังหรือผ๎าใบสดี าํ แบบหุม๎ ส๎นหมุ๎ ปลายเท๎า ชนดิ ผูกหรือมีสายรดั หลังเท๎า
(๕) ถุงเทา้ สนั้ สีขาว
นกั เรียนหญงิ
(๑) เสอ้ื ผ๎าสขี าว แบบคอเชต้ิ หรอื คอปกกลม แขนสนั้
(๒) เครอ่ื งหมาย ใชช๎ อ่ื อักษรยํอของสถานศกึ ษาปักท่ีอกเสอ้ื เบื้องขวา บนเน้ือผ๎า ด๎วยด๎ายหรือ
ไหมโดยสถานศกึ ษารัฐใช๎สนี า้ํ เงิน สถานศึกษาเอกชนใชส๎ แี ดง
(๓) กระโปรง ผ๎าสีดํา สีน้ําเงิน สีกรมทําหรือสีแดง แบบจีบรูดรอบตัว หรือยาวเพียงใต๎เขํา
แบบจบี ทบ
(๔) รอบเอว หรือพับเป็นจีบข๎างละสามจีบทั้งด๎านหน๎าและด๎านหลัง เมื่อสวมแล๎ว
ชายกระโปรงคลมุ เขํา
(๔) รองเท้า หนงั หรือผา๎ ใบสดี าํ แบบหม๎ุ ส๎นห๎มุ ปลายเท๎า ชนิดผกู หรอื มสี ายรัดหลังเท๎า
(๕) ถุงเท้า สัน้ สีขาว
ขอ๎ ๗ เครือ่ งแบบนักเรยี นระดบั ประถมศกึ ษา
นักเรียนชาย
(๑) เสื้อ ผ๎าสีขาว แบบคอเช้ิต เชิต้ โปโล หรอื คอปกกลม แขนสั้น
(๒) เครือ่ งหมาย ใช๎ชื่ออักษรยํอของสถานศึกษาปักท่ีอกเสื้อเบ้ืองขวาบนเนื้อผ๎า ด๎วยด๎ายหรือ
ไหมโดยสถานศกึ ษารฐั ใชส๎ นี ํ้าเงนิ สถานศกึ ษาเอกชนใชส๎ แี ดง
(๓) กางเกง ผ๎าสดี าํ สีนํ้าเงนิ สกี รมทาํ หรือสกี ากี แบบสภุ าพ ขาส้นั
(๔) รองเทา้ หนงั หรือผา๎ ใบสีดาํ แบบหุม๎ ส๎นห๎มุ ปลายเท๎า ชนดิ ผูกหรือมสี ายรดั หลังเท๎า
(๕) เขม็ ขัด หนัง สีดําหรือสีนา้ํ ตาล หวั เข็มขัดเป็นโลหะรูปสีเ่ หล่ียมผืนผ๎า ชนดิ หัวกลัดนักเรียน
ทเ่ี ปน็ ลูกเสือจะใช๎เข็มขดั ลูกเสือแทนกไ็ ด๎
(๖) ถงุ เท้า สั้น สีขาวหรือสีนาํ้ ตาล
นักเรยี นหญิง
(๑) เสือ้ ผ๎าสีขาว แบบคอเชิ้ต คอบัว หรือคอปกกลาสี ผูกด๎วยผ๎าผูกคอ ชายสามเหล่ียม เงื่อน
กลาสี สดี ําหรือสกี รมทาํ แขนส้ัน
(๒) เครื่องหมาย ใช๎ชื่ออักษรยํอของสถานศึกษาปักที่อกเส้ือเบื้องขวาบนเน้ือผ๎า ด๎วยด๎าย หรือ
ไหม โดย สถานศกึ ษารฐั ใชส๎ ีนา้ํ เงิน สถานศึกษาเอกชนใช๎สีแดง
(๓) กระโปรง ผ๎าสีดาํ หรือสีกรมทํา แบบจีบรูดรอบตัวหรือจีบทบรอบเอว หรือพับเป็นจีบข๎าง
ละสามจบี ท้งั ดา๎ นหน๎าและดา๎ นหลัง เมอื่ สวมแลว๎ ชายกระโปรงคลมุ เขา๎
(๔) รองเทา้ หนงั หรือผ๎าใบสีดาํ แบบห๎ุมสน๎ หม๎ุ ปลายเทา๎ มีสายรดั หลงั เทา๎
(๕) ถงุ เท้า สน้ั สขี าว
ขอ๎ ๘ เครื่องแบบนักเรียนระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต๎น

๔๐

นักเรยี นชาย
(๑) เส้อื ผ๎าสขี าว แบบคอเชต้ิ แขนสัน้
(๒) เครื่องหมาย ใชช๎ ่ืออักษรยอํ ของสถานศกึ ษาปกั ที่อกเส้ือเบื้องขวาบนเนื้อผ๎า ด๎วยด๎าย หรือ

ไหม โดย สถานศกึ ษารัฐใชส๎ นี ้าํ เงิน สถานศกึ ษาเอกชนใชส๎ ีแดง
(๓) กางเกง ผ๎าสีดํา สนี ้าํ เงนิ สีกรมทําหรอื สกี ากี แบบสุภาพ ขาสัน้
(๔) เข็มขัด หนัง สีดําหรือสีน้ําตาล หัวเข็มขัดเป็นโลหะรูปสี่เหลี่ยมผืนผ๎า ชนิดหัวกลัด

นกั เรียนทเ่ี ป็นลูกเสอื จะใชเ๎ ข็มขัดลกู เสอื แทนก็ได๎
(๕) รองเทา้ หนงั หรือผ๎าใบ สดี ําหรอื สนี าํ้ ตาล แบบหม๎ุ สน๎ ชนดิ ผูก
(๖) ถงุ เท้า สน้ั สขี าวหรอื สนี าํ้ ตาล

นกั เรยี นหญงิ
(๑) เสื้อ ผ๎าสีขาว แบบคอปกกลาสีผูกด๎วยผ๎าผูกคอชายสามเหลี่ยมเง่ือนกลาสี สีดําหรือ

สีกรมทํา แขนส้ัน
(๒) เครอ่ื งหมาย ใชช๎ อ่ื อักษรยํอของสถานศกึ ษาปักทอี่ กเสื้อเบื้องขวาบนเน้ือผ๎า ด๎วยด๎าย หรือ

ไหม โดยสถานศกึ ษารัฐใช๎สีน้าํ เงนิ สถานศึกษาเอกชนใชส๎ ีแดง
(๓) กระโปรง ผ๎าสีดําหรือสีกรมทํา แบบสุภาพ พับเป็นจีบข๎างละสามจีบท้ังด๎านหน๎าแล

ด๎านหลัง เมอื่ สวมแลว๎ ชายกระโปรงคลมุ เข๎า
(๔) รองเทา้ หนังหรือผา๎ ใบสีดาํ แบบห๎มุ ส๎นห๎มุ ปลายเท๎า มีสายรัดหลงั เท๎า
(๕) ถุงเท้า สน้ั สีขาว

ขอ๎ ๙ เคร่อื งแบบนกั เรยี นระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลายประเภทสามัญศกึ ษา
นักเรยี นชาย

(๑) เสื้อ ผ๎าสีขาว แบบคอเช้ิต แขนสั้น
(๒) เคร่ืองหมาย ใช๎ช่ืออักษรยํอของสถานศึกษาปักท่ีอกเส้ือเบ้ืองขวาบนเน้ือผ๎าด๎วยด๎ายหรือ
ไหมโดยสถานศกึ ษารฐั ใช๎สีน้ําเงนิ สถานศึกษาเอกชนใช๎สแี ดง
(๓) กางเกง ผ๎าสีดํา สีน้าํ เงนิ สีกรมทาํ หรือสีกากี แบบสุภาพ ขาสน้ั
(๔) เข็มขัด หนัง สีดําหรือสีนํ้าตาล หัวเข็มขัดเป็นโลหะรูปสี่เหล่ียมผืนผ๎า ชนิดหัวกลัด
นกั เรยี นทเ่ี ป็นลกู เสือจะใช๎เขม็ ขดั ลกู เสอื แทนก็ได๎
(๕) รองเท้า หนงั หรือผา๎ ใบ สดี าํ หรือสนี ํ้าตาล แบบหม๎ุ ส๎นชนิดผูก
(๖) ถุงเทา้ สัน้ สีขาวหรือสนี าํ้ ตาล
นกั เรยี นหญงิ
(๑) เสื้อ ผา๎ สขี าว แบบคอเชิ้ต แขนสัน้
(๒) เครอื่ งหมาย ใชช๎ ่ืออักษรยํอของสถานศกึ ษาปักท่อี กเสอ้ื เบ้ืองขวาบนเนื้อผ๎า ด๎วยด๎าย หรือ
ไหม โดยสถานศกึ ษารฐั ใชส๎ ีนํา้ เงิน สถานศกึ ษาเอกชนใช๎สีแดง
(๓) กระโปรง ผ๎าสีดําหรือสีกรมทํา แบบสุภาพ พับเป็นจีบข๎างละสามจีบ ทั้งด๎านหน๎า และ
ด๎านหลังเม่อื สวมแลว๎ ชายกระโปรงคลมุ เขา๎

๔๑

(๔) เขม็ ขดั หนงั หรือผ๎าสีดํา หัวเข็มขัดเป็นโลหะรูปส่ีเหลี่ยมผืนผ๎า ชนิดหัวกลัด หุ๎มด๎วยหนัง
หรอื ผา๎ สีเดยี วกบั เข็มกลดั

(๕) รองเท้า หนังหรอื ผ๎าใบสีดํา แบบหมุ๎ ส๎นห๎มุ ปลายเท๎า มสี ายรดั หลงั เทา๎
(๖) ถงุ เท้า สั้น สีขาว
ข๎อ ๑๐ เครื่องแบบนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายประเภทอาชีพและระดับอุดมศึกษาระดับ
กวําปรญิ ญาตรี
นักเรยี นชาย
(๑) เสอื้ ผา๎ สขี าว แบบคอเช้ติ ผกู เนคไท แขนส้นั หรอื แขนยาว
(๒) เครอ่ื งหมาย ตดิ เขม็ เคร่อื งหมายของสถานศกึ ษาท่ีอกเสื้อเบ้ืองขวา
(๓) กางเกง ผ๎าสดี าํ หรือสีกรมทํา แบบสภุ าพ ขายาว
(๔) เข็มขัด หนงั สีดาํ หัวเขม็ ขัดเป็นโลหะตราของสถานศกึ ษา
(๕) รองเทา้ หนงั หรือผ๎าใบสดี าํ แบบหมุ๎ สน๎ ชนิดผกู
(๖) ถงุ เทา้ ส้นั สดี ํา
นักเรียนหญิง
(๑) เส้อื ผ๎าสีขาว แบบคอเช้ิต แขนสั้น
(๒) เครือ่ งหมาย ตดิ เขม็ เคร่อื งหมายของสถานศึกษาท่อี กเส้ือเบื้องขวา
(๓) กระโปรง ผา๎ สดี าํ หรอื สีกรมทาํ แบบสุภาพ เมื่อสวมแลว๎ ชายกระโปรงคลมุ เข๎า
(๔) เขม็ ขัด หนังสดี าํ หัวเขม็ ขัดเป็นโลหะตราของสถานศกึ ษา
(๕) รองเท้า หนงั หรอื ผ๎าใบสีดํา แบบหมุ๎ ส๎นห๎มุ ปลายเทา๎ มสี น๎ สูงไมเํ กิน ๒ นว้ิ
ข๎อ ๑๑ เคร่ืองแบบนกั เรยี นสําหรับสถานศึกษาเอกชนสอนศาสนาอสิ ลาม
นกั เรียนชาย
(๑) เส้ือ ผา๎ สีขาว แบบคอเช้ิต แขนสนั้ หรอื แขนยาว
(๒) เครือ่ งหมาย ใช๎ชื่ออักษรยํอของสถานศึกษาปักท่ีอกเสื้อเบื้องขวา บนเนื้อผ๎าด๎วยด๎ายหรือ
ไหมสีแดง
(๓) หมวก ใชห๎ มวกสีขาว (กะปิเยาะห)์ หรอื หมวกสดี ํา (ซอเกาะห์ ) ในโอกาสอนั สมควร
(๔) กางเกง ผ๎าสีดํา สีนํ้าเงิน หรือสีกรมทาํ แบบสุภาพ ขายาว
(๕) เข็มขดั หนังสีดาํ หวั เข็มขดั เปน็ โลหะชนดิ กลดั หรอื หวั เขม็ ขดั เปน็ ตราของสถานศึกษา
(๖) รองเทา้ หนงั หรอื ผ๎าใบสดี าํ แบบห๎มุ ส๎น
(๗) ถุงเทา้ สน้ั สีดํา
นักเรยี นหญิง
(๑) เสื้อ กรุ งสพี ืน้ ไมมํ ีลวดลาย แบบคอกลมไมํมปี ก
(๒) เคร่ืองหมาย ใช๎ชื่ออักษรยํอของสถานศึกษาปักที่อกเส้ือเบ้ืองขวาและที่ผ๎าคลุมศีรษะ
บนเนอื้ ผ๎าด๎วยดา๎ ยหรอื ไหมสแี ดง
(๓) ผ้าคลุมศีรษะ ผ๎าสีพ้ืนไมํมีลวดลาย ลักษณะเย็บเป็นถุง หรือตัดเย็บในลักษณะอ่ืน
ซึ่งตอ๎ ง คลุมศรี ษะทง้ั หมด เวน๎ ใบหน๎า ชายผา๎ คลุมศีรษะคลมุ ไหลํ

๔๒

(๔) กระโปรงหรอื โสร่ง
กระโปรง ผ๎าสพี นื้ ไมมํ ลี วดลาย แบบทรงปลายบาน ไมํมีจีบหรือมีจีบหรือเกล็ดความยาว

เม่อื สวมแลว๎ ชายประโปรงคลมุ ขอ๎ เท๎า
โสร่ง มีลักษณะเชํนเดยี วกับผา๎ ถงุ หรอื ผ๎าโสรํงทวั่ ไป เป็นผ๎าสีพื้น ไมํมีลวดลาย ขนาดกว๎าง

พอเหมาะ ไมํผาํ ขา๎ งหรือรัดรปู เมอ่ื สวมแลว๎ ชายผ๎าโสรํงคลุมขอ๎ เท๎า
(๕) รองเทา้ หนงั หรือผา๎ ใบสีขาว แบบหมุ๎ สน๎ หุ๎มปลายเทา๎
(๖) ถุงเท้า สนั้ สีขาว

ข๎อที่ ๑๒ เครื่องแบบนักเรียนซ่ึงนับถือศาสนาอิสลามในสถานศึกษาอ่ืน นอกจากสถานศึกษาเอกชน
สอนศาสนาอิสลามนักเรียนชาย

(๑) เสื้อ ผา๎ สีขาว แบบคอเชิ้ต แขนสั้น
(๒) เคร่ืองหมาย ใช๎ชื่ออักษรยํอ สัญลักษณ์หรือเข็มเครื่องหมายของสถานศึกษา ตามท่ี
สถานศึกษากําหนดปกั หรือตดิ ท่อี กเสื้อเบ้อื งขวา
(๓) กางเกง ใชผ๎ ๎าสีเดียวกันกับสีผ๎ากางเกงนกั เรยี นท่ัวไป ท่ีใช๎ในสถานศึกษาน้ัน ขายาว ระดับ
ตาตุมํ ปลายขาพบั เข๎าดา๎ นใน
(๔) เข็มขัด หนงั สดี าํ หรือสนี ้าํ ตาล หัวเขม็ ขัดเป็นโลหะรปู สเี่ หล่ียมผนื ผ๎า ชนดิ หัวกลัด สําหรับ
ผู๎ท่ี เป็นลูกเสอื จะใช๎เขม็ ขัดลกู เสือแทนกไ็ ด๎ หรอื หวั เขม็ ขดั เป็นตราของสถานศกึ ษา
(๕) รองเทา้ หนงั หรือผา๎ ใบสีดาํ หรือสีนาํ้ ตาล แบบห๎มุ ส๎นชนดิ ผูก
(๖) ถงุ เทา้ สน้ั สีขาว สนี ้าํ ตาล หรือสีดํา
นักเรยี นหญิง
(๑) เสื้อ ผ๎าสขี าวคอปกบวั ผําด๎านหน๎าตลอด แขนยาว ปลายแขนจีบรูด มีสาบกว๎างไมํเกิน ๕
เซนตเิ มตร ตัวเสื้อยาวคลุมสะโพก ไมํรัดรูป
(๒) เคร่ืองหมาย ใช๎ช่ืออักษรยํอ สัญลักษณ์หรือเข็มเคร่ืองหมายของสถานศึกษาตามท่ี
สถานศกึ ษากําหนด ปักหรือตดิ ที่อกเส้อื เบ้ืองขวาผา๎ คลุมศีรษะ
(๓) ผา้ คลมุ ศรี ษะ ใชผ๎ ๎าสขี าวเกลย้ี งไมมํ ลี วดลาย หรอื สีเดียวกันกับสีผ๎าของกระโปรงนักเรียน
ทั่วไปที่ใช๎ในสถานศึกษานั้น แบบสุภาพ พับเป็นจีบข๎างละสามจีบ ทั้งด๎านหน๎า และด๎านหลัง เมื่อสวมแล๎ว
ชายกระโปรงคลุมขอ๎ เท๎า
(๔) กระโปรง ใช๎ผ๎าสีเดียวกันกับสีผ๎าของกระโปรงนักเรียนทั่วไปท่ีใช๎ในสถานศึกษานั้น แบบ
สภุ าพพับเป็นจีบขา๎ งละสามจบี ท้งั ดา๎ นหน๎าและด๎านหลัง เม่ือสวมแล๎วชายกระโปรงคลุมขอ๎ เทา๎
(๕) รองเท้า หนังหรือผ๎าใบสีดํา มีสายรัดหลังเท๎าหรือแบบห๎ุมส๎น ห๎ุมปลายเท๎า มีส๎นสูง ไมํ
เกิน ๒ นวิ้ ไมํมีลวดลาย
(๖) ถุงเท้า สั้นสีขาว ไมํมีลวดลาย ปลายถุงเท๎าไมํพับ นักเรียนซ่ึงนับถือศาสนาอิสลามใน
สถานศึกษาเอกชน สอนศาสนาอิสลาม อาจเลือกแตํงเคร่ืองแบบนักเรียนตามวรรคหนึ่งหรือ ตามแบบที่
สถานศกึ ษากาํ หนดไวต๎ ามสมัครใจ
ข๎อ ๑๓ ให๎สถานศึกษาโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาเป็นผู๎กําหนด รายละเอียด
เกย่ี วกบั การแตงํ วธิ ีการ และเงื่อนไขในการแตงํ เครื่องแบบนักเรียน

๔๓

(๑) ชนดิ และแบบของเคร่อื งแบบ รวมท้งั จัดทาํ รปู เคร่ืองแบบตามระเบียบนไี้ ว๎เป็นตวั อยาํ ง
(๒) เครอ่ื งหมายของสถานศกึ ษา
ข๎อ ๑๔ สถานศึกษาใดมคี วามประสงคจ์ ะขอใช๎เคร่ืองแบบเป็นอยํางอื่นนอกจากที่กําหนดในระเบียบน้ี
ให๎ขออนุญาตตํอผบ๎ู ังคบั บญั ชาหรือข้ึนไปอกี ชน้ั หนงึ่ หรอื ผู๎กํากบั ดูแลสถานศึกษาน้ัน แลว๎ แตํกรณี
ข๎อ ๑๕ สถานศึกษาใดจะกําหนดให๎นักเรียนแตํงเครื่องแบบลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด นักศึกษา
วิชาทหารหรือแตํงชุดพ้ืนเมือง ชุดไทย ชุดทดลอง ชุดฝึกงาน ชุดกีฬา ชุดนาฏศิลป์ หรือชุดอื่น ๆ แทน
เครอ่ื งแบบนักเรียน ตามระเบียบน้ใี นวนั ใด ใหเ๎ ป็นไปตามที่สถานศกึ ษากําหนด โดยคาํ นึงถึงความประหยัดและ
เหมาะสม
ข๎อ ๑๖ ในกรณีมีเหตุจําเป็นหรือเหตุพิเศษให๎สถานศึกษาพิจารณายกเว๎นหรือผํอนผัน การแตํง
เครอื่ งแบบนักเรียนได๎ตามเหมาะสม
ขอ๎ ๑๗ นกั เรียนซึ่งศึกษาในสถานศึกษาที่จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให๎แตํงกาย
สภุ าพ
ข๎อ ๑๘ นักเรียนผ๎ูใดไมํแตํงเครื่องแบบนักเรียน โดยไมํได๎รับยกเว๎นตามระเบียบนี้ให๎สถานศึกษา
พิจารณาลงโทษทางวินัยตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวําด๎วยการลงโทษนักเรียนและนักศึกษาตามความ
เหมาะสม
ข๎อ ๑๙ สถานศึกษาใดท่ีใช๎เครื่องแบบนักเรียนอยูํแล๎วตามระเบียบเดิม หรือใช๎เคร่ืองแบบเป็นอยําง
อื่นโดยได๎รบั อนญุ าตจากกระทรวงศกึ ษาธกิ ารกอํ นวนั ท่ีระเบยี บนี้ใชบ๎ ังคบั ใหค๎ งใชไ๎ ด๎ตํอไป
ข๎อ ๒๐ ให๎ปลัดกระทรวงศึกษาธิการรักษาการให๎เป็นไปตามระเบียบน้ี และให๎มีอํานาจตีความและ
วนิ จิ ฉัยปัญหาเกย่ี วกบั การปฏิบตั ติ ามระเบียบนี้

ประกาศ ณ วันที่ ๒๒ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๑

นายศรเี มือง เจริญศริ ิ
(นายศรีเมือง เจริญศริ )ิ
รฐั มนตรีวาํ การกระทรวงศึกษาธิการ

๔๔

ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
วา่ ดว้ ยการลงโทษนักเรียนและนกั ศึกษา พทุ ธศักราช ๒๕๔๘

*************************************
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๖๕ แหํงพระราชบัญญัติคุ๎มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖
รฐั มนตรวี าํ การกระทรวงศกึ ษาธิการ จงึ วางระเบียบวําด๎วยการลงโทษนกั เรียนและนกั ศกึ ษาไว๎ดงั ตอํ ไปน้ี
ข๎อ ๑ ระเบียบน้ีเรยี กวาํ “ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการ วาํ ดว๎ ยการลงโทษนกั เรียนและนักศึกษา พ.ศ.
๒๕๔๘”
ขอ๎ ๒ ระเบียบนใ้ี หใ๎ ชบ๎ ังคบั ต้ังแตวํ นั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นตน๎ ไป
ขอ๎ ๓ ให๎ยกเลิกระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธิการวําดว๎ ยการลงโทษนักเรียนหรอื นักศึกษา พ.ศ.๒๕๔๓
ขอ๎ ๔ ในระเบียบน้ี
“ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา” หมายความวํา ครูใหญํ อาจารย์ใหญํ ผ๎ูอํานวยการ อธิการบดี
หรอื หวั หน๎าของโรงเรยี นหรอื สถานศึกษาหรอื ตาํ แหนํงทีเ่ รียกชือ่ อยํางอืน่ ของโรงเรียนหรือสถานศึกษานนั้
“กระทาความผิด” หมายความวํา การท่ีนักเรียนหรือนักศึกษาประพฤติฝุาฝืนระเบียบ ข๎อบังคับของ
สถานศึกษา หรือของกระทรวงศกึ ษาธิการ หรอื กฎกระทรวงวําด๎วยความประพฤติของนกั เรียนและนักศึกษา
“การลงโทษ” หมายความวํา การลงโทษนกั เรียนหรือนักศกึ ษาทก่ี ระทําความผิด โดยมีความมํุงหมาย
เพ่อื การอบรมสงั่ สอน
ขอ๎ ๕ โทษท่จี ะลงโทษแกนํ กั เรยี นหรือนักศกึ ษาที่กระทาํ ความผดิ มี ๔ สถาน ดังนี้

(๑) วํากลาํ วตักเตอื น
(๒) ทําทัณฑบ์ น
(๓) ตดั คะแนนความประพฤติ
(๔) ทาํ กิจกรรมเพ่ือให๎ปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรม
ข๎อ ๖ หา๎ มลงโทษนักเรยี นและนกั ศกึ ษาด๎วยวธิ ีรนุ แรง หรือแบบกล่ันแกล๎ง หรือลงโทษด๎วยความโกรธ
หรือด๎วยความพยาบาท โดยให๎คํานึงถึงอายุของนักเรียนหรือนักศึกษา และความร๎ายแรงของพฤติการณ์
ประกอบการลงโทษดว๎ ย
การลงโทษนักเรยี นหรือนักศกึ ษาให๎เปน็ ไปเพ่ือเจตนาที่จะแก๎นิสัยและความประพฤติไมํดีของนักเรียน
หรอื นกั ศกึ ษาใหร๎ ๎สู าํ นกึ ในความผดิ และกลบั ประพฤตติ นในทางที่ดตี อํ ไป
ให๎ผ๎ูบริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา หรือผ๎ูท่ีผู๎บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษามอบหมายเป็นผู๎มี
อํานาจในการลงโทษนักเรยี น นกั ศกึ ษา
ข๎อ ๗ การวาํ กลําวตักเตอื น ใช๎ในกรณีนักเรียนหรอื นกั ศกึ ษากระทําความผดิ ไมํร๎ายแรง

๔๕

ข๎อ ๘ การทําทัณฑ์บนใช๎ในกรณีนักเรียนหรือนักศึกษาที่ประพฤติตนไมํเหมาะสมกับสภาพนักเรียน
หรือนักศึกษา ตามกฎกระทรวงวําด๎วยความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา หรือกรณีทําให๎เส่ือมเสียช่ือเสียง
และเกยี รติศักด์ขิ องสถานศกึ ษา หรือฝาุ ฝืนระเบียบของสถานศึกษา หรือได๎รับโทษวํากลําวตักเตือนแล๎ว แตํยัง
ไมเํ ขด็ หลาบ

การทําทัณฑบ์ นใหท๎ าํ เป็นหนังสือ และเชิญบิดามารดาหรือผ๎ูปกครองมาบันทึกรับทราบความผิดและ
รบั รองการทาํ ทัณฑ์บนไวด๎ ว๎ ย

ข๎อ ๙ การตัดคะแนนความประพฤติ ให๎เป็นไปตามระเบียบปฏิบัติวําด๎วยการตัดคะแนนความ
ประพฤตินักเรยี นและนักศกึ ษาของแตํละสถานศึกษากาํ หนด และใหท๎ าํ บนั ทกึ ข๎อมูลไว๎เปน็ หลักฐาน

ข๎อ ๑๐ ทาํ กิจกรรมเพ่ือให๎ปรับเปล่ียนพฤติกรรม ใช๎ในกรณีที่นักเรียนและนักศึกษากระทําความผิดท่ี
สมควรตอ๎ งปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรม

การจดั กิจกรรมใหเ๎ ปน็ ไปตามแนวทางที่กระทรวงศึกษาธิการกาํ หนด
ข๎อ ๑๑ ให๎ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ รักษาการให๎เป็นไปตามระเบียบน้ีและให๎มีอํานาจตีความและ
วนิ ิจฉัยปัญหาเกีย่ วกบั การปฏบิ ัติตามระเบยี บน้ี

ประกาศ ณ วันท่ี ๑๘ มกราคม พ.ศ.๒๕๔๘

อดศิ ัย โพธารามกิ
(อดศิ ัย โพธารามกิ )
รฐั มนตรวี าํ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

๔๖

กฎกระทรวง
กาหนดหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเงอื่ นไขในการจัดระบบงานและกิจกรรม

ในการแนะแนว ให้คาปรกึ ษาและฝกึ อบรมแกน่ ักเรียน นักศกึ ษา
และผู้ปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๘

**************************************************
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๖๓ แหํงพระราชบัญญัติคุ๎มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖
อันเป็นกฎหมายท่ีมีบทบัญญัติบางประการเก่ียวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลซ่ึงมาตรา ๒๙
ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๔ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๓๙ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๕๐ ของ
รัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย บัญญัติให๎กระทําได๎โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหํงกฎหมาย
รฐั มนตรีวําการกระทรวงศกึ ษาธิการออกกฎกระทรวงไว๎ ดังตอํ ไปนี้
ข๎อ ๑ ในกฎกระทรวงน้ี
“กิจกรรมในการแนะแนว” หมายความวํา กิจกรรมท่ีเกี่ยวกับการแนะแนว การให๎คําปรึกษาและ
ฝึกอบรมเพ่ือสํงเสริมความประพฤติท่ีเหมาะสม ความรับผิดชอบตํอสังคม และความปลอดภัยแกํนักเรียน
นกั ศกึ ษา และผูป๎ กครอง
“นักเรียนหรือนักศึกษาท่ีเสี่ยงต่อการกระทาผิด” หมายความวํา นักเรียนหรือนักศึกษาท่ีมีลักษณะ
ดังตอํ ไปนี้

(๑) ประพฤตติ นไมํสมควรกับสภาพการเป็นนกั เรียนหรอื นักศึกษา
(๒) ประกอบอาชีพในทางผิดกฎหมายหรือขดั ตํอศีลธรรมอนั ดี
(๓) คบหาสมาคมกับบุคคลทีน่ าํ จะชกั นําไปในทางกระทําผิดกฎหมายหรอื ขดั ตอํ ศีลธรรมอนั ดี
(๔) อยูใํ นสภาพแวดลอ๎ มหรอื สถานที่อันอาจชักนําไปในทางเสยี หาย
ข๎อ ๒ ให๎โรงเรียนและสถานศึกษาจัดให๎มีระบบงานและกิจกรรมในการแนะแนวให๎คําปรึกษาและ
ฝึกอบรมแกํนกั เรียน นักศกึ ษา และผู๎ปกครอง ทั้งนี้ ตามระดบั ของโรงเรยี นหรอื สถานศกึ ษา
ข๎อ ๓ ใหโ๎ รงเรียนและสถานศกึ ษามหี น๎าท่ี ดังตอํ ไปน้ี
(๑) พัฒนาระบบงานแนะแนวที่จะชํวยเหลือดูแลนักเรียนและนักศึกษาเป็นรายบุคคลพร๎อม
ท้ังสํงเสริมให๎ครูทุกคนมีบทบาทในการแนะแนว ร๎ูจักและเข๎าใจผู๎เรียน สามารถค๎นพบและจัดการเรียนร๎ูที่จะ
พัฒนาศักยภาพของผู๎เรียน และให๎คําปรึกษาด๎านการดํารงชีวิต การปรับเปล่ียนพฤติกรรม การศึกษาตํอและ
การมีงานทํา ทัง้ น้ี ให๎มรี ะบบข๎อมลู ตั้งแตแํ รกเขา๎ เพ่ือติดตามดูแลอยํางตํอเน่ืองจนจบการศึกษา
(๒) สํารวจ เฝูาระวัง และติดตามนักเรียนและนักศึกษาที่เส่ียงตํอการกระทําผิดเพื่อจัด
กจิ กรรม ในการพัฒนาและปรับเปลยี่ นพฤติกรรมอยาํ งเปน็ ระบบและตํอเน่ือง

๔๗

(๓) แจง๎ ให๎ผ๎ูปกครองของนักเรยี นและนักศึกษาที่เส่ียงตํอการกระทําผิดได๎ทราบถึงพฤติกรรม
และหาแนวทางแก๎ไขปัญหารํวมกัน ทั้งน้ี อาจกําหนดให๎นักเรียนหรือนักศึกษาดังกลําวเข๎ารํวมกิจกรรมตามท่ี
เหน็ สมควร

(๔) จัดให๎มีมาตรการสํงเสริมความปลอดภัย ปูองกัน และแก๎ไขปัญหาความรุนแรง โดยมี
แผนงาน ผ๎ูรบั ผิดชอบ และการตดิ ตามตรวจสอบ เพอ่ื ให๎เกดิ ประสทิ ธิภาพ

(๕) สนับสนุนให๎ผ๎ูปกครองและชุมชนมีสํวนรํวมรับผิดชอบในการสํงเสริมความประพฤติและ
ความปลอดภัยของนักเรียน และนักศกึ ษา

(๖) จัดให๎มีระบบการติดตามประเมินผล และรายงานผลการดําเนินงานตํอสํวนราชการต๎น
สงั กดั อยาํ งน๎อยปีการศึกษาละหน่งึ คร้งั

ให๎ไว๎ ณ วนั ที่ ๒๗ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๘

จาตรุ นต์ ฉายแสง
รฐั มนตรีวําการกระทรวงศึกษาธิการ

หมายเหตุ : เหตผุ ลในการประกาศใช๎กฎกระทรวงฉบบั น้ี คอื โดยที่มาตรา ๖๓ แหงํ พระราชบญั ญัตคิ ม๎ุ ครอง
เด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ บญั ญตั ิให๎โรงเรยี นและสถานศกึ ษาต๎องจัดให๎มีระบบงานและกจิ กรรมในการแนะ
แนวใหค๎ าํ ปรึกษาและฝึกอบรมแกํนักเรยี น นักศกึ ษา และผปู๎ กครอง เพอ่ื สํงเสริมความประพฤตทิ ่ี
เหมาะสมความรบั ผิดชอบตํอสังคม และความปลอดภยั แกํนกั เรียนและนักศกึ ษา ตามหลักเกณฑ์
วธิ กี ารและเงอื่ นไขทกี่ าํ หนดในกฎกระทรวง จึงจาํ เปน็ ต๎องออกกฎกระทรวงน้ี

๔๘

๔๙

๕๐

ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร
เร่อื ง ผ้ปู กครอง นักเรยี น นกั ศกึ ษา
*****************************************
โดยทเี่ ปน็ การสมควรปรบั ปรุงประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรอ่ื งผป๎ู กครองนักเรียนให๎เหมาะสมย่ิงข้ึน
ฉะนน้ั อาศยั อาํ นาจตามขอ๎ ๒๓ แหํงประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ ๒๑๖ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๑๕ จึงให๎
ยกเลกิ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ืองผู๎ปกครองนักเรียน ลงวันท่ี ๑๙ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๐๓ และ
ให๎ผ๎ูปกครอง นักเรียน หรือนักศึกษา ท่ีกําลังรับการศึกษาระดับต่ํากวําปริญญาตรี ในสถานศึกษาของ
กระทรวงศกึ ษาธิการปฏบิ ัตดิ งั นี้
๑. "ผ๎ูปกครอง" หมายความวํา บุคคลซึ่งรับนักเรียน หรือนักศึกษาไว๎ในความปกครองหรืออุปการะ
เล้ียงดหู รอื บคุ คลทน่ี ักเรยี น หรือนักศกึ ษาน้ันอาศยั อยํู
๒. ให๎นกั เรยี นหรือนักศกึ ษา ท่ีกาํ ลังรบั การศกึ ษาในหลักสตู ร ระดับ ปวส. , ป.กศ.สูง หรือเทียบเทําลง
มาในสถานศึกษาในสังกัด หรือในความควบคุมดูแลของกระทรวงศึกษาธิการ เว๎นแตํการศึกษาผู๎ใหญํมี
ผป๎ู กครอง ตลอดระยะเวลาทศี่ กึ ษาอยูํ
๓. ในวันมอบตัวนักเรียน นักศึกษาใหมํ ให๎ผ๎ูปกครองมามอบตัวนักเรียน นักศึกษา ท่ีสถานศึกษา
พร๎อมกับ สํงหลกั ฐานเอกสารตาํ งๆ ตามที่สถานศกึ ษากําหนด
๔. ผู๎ปกครองจะต๎องรํวมมือกับสถานศึกษา เพ่ือควบคุมความประพฤติและการศึกษาเลําเรียนโดยให๎
นักเรียน นักศึกษา แตํงกาย แตํงเคร่ืองแบบและประพฤติตนตามระเบียบข๎อบังคับ หรือคําสั่งของสถานศึกษา
และหรอื ของกระทรวงศึกษาธิการ หรอื ตามท่ีกฎหมายกําหนด
๕. ผู๎ปกครองติดตํอกับสถานศึกษาอยํูเสมอ เพื่อจะได๎รับทราบปัญหาตํางๆ เก่ียวกับการศึกษาของ
นกั เรียน นักศึกษาและจําได๎ชํวยสถานศึกษาแกป๎ ัญหานัน้ ๆ
๖. เมื่อผ๎ูปกครองย๎ายท่ีอยูํ หรือความเป็นผู๎ปกครองส้ินสุดด๎วยประการใดๆ ให๎ผู๎ปกครองแจ๎งให๎
สถานศกึ ษาทราบ
๗. สําหรับนักเรียน นักศึกษา ท่ีรับการศึกษาอยํูในสถานศึกษาอยูํแล๎ว ให๎สถานศึกษาตรวจสอบ
ติดตาม หลักฐานการเป็นผ๎ูปกครองของนักเรียน นักศึกษา หากเห็นวํานักเรียน นักศึกษาคนใดไมํมีผ๎ูปกครอง
หรอื มีผป๎ู กครองไมเํ หมาะสม ก็ใหส๎ ถานศึกษาดาํ เนนิ การให๎เปน็ ไปตามประกาศนี้
ประกาศ ณ วันท่ี ๑๒ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๒

(ลงชอื่ ) กอ่ สวัสดิ์พาณชิ ย์
(นายกํอ สวัสด์พิ าณชิ ย)์

รัฐมนตรีชํวยวําการ ปฏบิ ตั ิราชการแทน
รัฐมนตรีวาํ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร


Click to View FlipBook Version