The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงงาน-ครูอาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 0947794822yammy, 2022-03-07 09:10:43

โครงงาน-ครูอาย

โครงงาน-ครูอาย

โครงงานประเภททดลอง
เรอ่ื ง การเปรียบเทียบประสทิ ธภิ าพของสมนุ ไพรในการกาํ จัดแมลงสาบ

คณะผศู กึ ษา
นางสาวจันธิรา เทพคํา ม.6/1 เลขท่ี 5
นางสาวอรโุ ณทัย ทิศอุน ม.6/1 เลขที่ 11
นายกฤษฎา เงนิ มา ม.6/1 เลขที่ 12
นางสาวจฬุ าลกั ษณ ขาวฟอง ม.6/1 เลขที่ 16

ครทู ี่ปรึกษา
ครูณัฐลติ า บญุ เพียร
กลุมสาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร
รายวิชา เคม(ี ว33247)

โรงเรยี นปลอ งวิทยาคม
สาํ นกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาเชยี งรายาเขต 36

โครงงานประเภททดลอง
เรอ่ื ง การเปรียบเทียบประสทิ ธภิ าพของสมนุ ไพรในการกาํ จัดแมลงสาบ

คณะผศู กึ ษา
นางสาวจันธิรา เทพคํา ม.6/1 เลขท่ี 5
นางสาวอรโุ ณทัย ทิศอุน ม.6/1 เลขที่ 11
นายกฤษฎา เงนิ มา ม.6/1 เลขที่ 12
นางสาวจฬุ าลกั ษณ ขาวฟอง ม.6/1 เลขที่ 16

ครทู ี่ปรึกษา
ครูณัฐลติ า บญุ เพียร
กลุมสาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร
รายวิชา เคม(ี ว33247)

โรงเรยี นปลอ งวิทยาคม
สาํ นกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาเชยี งรายาเขต 36



บทคัดยอ

โครงงานเคมีเรื่อง การเปรยี บเทียบประสิทธภิ าพของสมนุ ไพรในการกาํ จดั แมลง การทดลองนม้ี ีจดุ มุงหมายเพอื่
ทดสอบหาวาสมนุ ไพรชนิดใดทส่ี ามารถกําจัดแมลงสาบไดม ีประสิทธิภาพสงู ทสี่ ุด ระหวา ง มะกรูด ตะไครหอม และ
ชะอม โดยการนาํ ขวดฉดี พน ท่ีมนี ้าํ สมนุ ไพรของแตล ะชนิดไปฉดี ใสแ มลงสาบทอี่ ยใู นขวดที่เจาะรทู ้ังสามขวด และ
สังเกตกุ ารทดลอง
ผลการศกึ ษาพบวา ใบชะอมมีประสิทธิภาพ ในการกาํ จดั แมลงสาบไดดีทสี่ ุด โดยแมลงสาบท่ีฉดี ดว ยน้ําชะอม จะมี
การเคลือ่ นไหวชาลง และตายในเวลา ประมาณ 5-10 นาที รองลงมาคอื นาํ้ ใบมะกรดู จะตายภายในเวลาประมาณ
15 -20นาที อนั ดับสุดทายใบตะไครหอม ไมส ามารถทาํ ใหแมลงสาบตาย เพยี งแค เคลอื่ นไหวชาลง สงบนง่ิ และฟน
มาภายหลงั

คํานาํ

สมาชิกกลมุ โครงงานเคมีไดจ ดั ทําเอกสารฉบบั นข้ี นึ้ เพอื่ ประกอบการเสนอโครงงานเคมี
เรื่องการเปรยี บเทยี บประสทิ ธิภาพของสมุนไพรในการกําจดั แมลงสาบ เก่ยี วกบั คุณสมบัติของสมนุ ไพรมาชวย
กําจดั แมลงสาบ และวิธกี ารดําเนินงาน การวเิ คราะหขอมูล แลวนําผลมาสรปุ อภปิ ราย และขอ เสอแนะตาง ๆ ใน
การจัดทําโครงงาน

คณะผูจ ัดทําหวงั เปน อยางยิง่ วาเอกสารฉบับน้จี ะเปน ประโยชนตอ ผสู นใจโครงงานนี้

คณะผูจัดทาํ



กิตตกิ รรมประกาศ

โครงงานเคมี เรอื่ ง การเปรยี บเทียบประสิทธิภาพของสมนุ ไพรในการกําจัดแมลงสาบ จัดทาํ ขน้ึ เพื่อศึกษาวา
สมุนไพรชนิดใดที่มีประสทิ ธภิ าพในการกําจัดแมลงไดส งู สดุ โดยไดรบั การสนบั สนนุ จากทานคุณครู ครปุ ระจําวิชา
และขอขอบพระคุณที่ไดใ หค ําปรึกษาในการจดั ทําโครงงานและไดรบั ความอนเุ คราะหจากพอแมผปู กครองที่ไดใ ห
ขอเสนอแนะ แนะนําเอกสารตําราตา ง ๆ ใหศึกษาคน ควาคณะผจู ดั ทาํ ขอขอบพระคุณทุกทานดังทีไ่ ดกลา วถึงมา

ขา งหนาและที่ไมไ ดกลา วถึงไว ณ ท่ีนเี้ ปนอยางสงู

นางสาวจันธริ า เทพคาํ

นางสาวอรุโณทยั ทศิ อุน

นายกฤษฎา เงินมา

นางสาวจฬุ าลกั ษณ ขาวฟอง

สารบัญ หนา
เร่ือง ก
บทคัดยอ ข
กิจกรรมประกาศ
บทท่ี 1 บทนาํ 1
1
ทม่ี าและความสาํ คัญ 2
จดุ ประสงคข องการศกึ ษา ขอบเขตของการศึกษา
นิยามศพั ทเฉพาะ 3-4
บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กย่ี วของ 4
ลกั ษณะท่ัวไป 5
ประโยชนแ ละสรรพคณุ
ลักษณะพฤกษศาสตร 5-6
การใชประโยชน 7-8

งานวิจัยท่ีเก่ียวขอ ง 9
9-10
บทท่ี 3 วธิ ีการดําเนนิ โครงงาน
วัสดุและอุปกรณ หนา
ข้นั ตอนการทดลอง

สารบญั (ตอ)
เรือ่ ง

บทที่ 4 ผลการศกึ ษา 11
ตารางผลการศกึ ษาทดลอง 12
ผลการศกึ ษาของการทดลอง
13
บทท่ี 5 สรุปผลการศกึ ษาและขอ เสนอแนะ 13
สรปุ ผลการศึกษา 14
15
อภิปรายผล 16
17-20
ขอเสนอแนะ

บรรณนานุกรม
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก ประวตั ิผูจ ัดทํา

1

บทที่ 1
บทนาํ

1.1 ทีม่ าและความสําคัญของโครงงาน
แมลงสาบเปน แมลงศัตรสู าํ คัญท่พี บไดท ั่วไปตามบา นเรือน ทอระบายนํ้า โรงอาหาร โรงเรอื น
คอกสตั ว รา นอาหาร ฯลฯ จัดเปนแมลงทมี่ ีความสาํ คัญทางการแพทย โดยเปน แมลงทีก่ อใหเ กิดความราํ คาญ และ
เปนแมลงท่ีนําโรคตางๆ มาสูมนษุ ยไดหลายชนดิ เชน อาหารเปน พษิ บิด ทองรว ง ทองเสีย กระเพาะอาหารอักเสบ
ไทฟอยด โรคผวิ หนัง โรคระบบทางเดนิ หายใจ โรคเยื่อจมกู อกั เสบ ไอจาม ผิวหนงั ผน่ื แดง โรคภูมแิ พ เปนตน
สาํ หรบั การปองกนั กําจัดแมลงสาบน้ัน ผูค นสวนใหญจ ะมุงเนน การกําจดั โดยใชสารเคมี เพราะเปน วิธกี ารที่งาย
และสะดวกในการปองกันกาํ จัด แตว ิธนี ้กี จ็ ดั เปนอนั ตรายตอตวั ผูใ ชเ อง ซึง่ หากผูใชไ ดร บั สารเคมีเขา ไปในรา งกาย
มากๆ ก็จะกอใหเ กดิ อันตรายตอ รางกาย โดยทําใหเกิดอาการแพส ารเคมี เบือ่ อาหาร อาการคลน่ื ไส หอบหืด มผี ล
ตอระบบหายใจ และสมอง ผิวหนงั อักเสบ นอกจากน้ี หากมีการใชสารเคมี ตัวใดตัวหนง่ึ หรอื กลุมใดกลมุ หนึ่ง เปน
ระยะเวลาติดตอกันนานๆ จะทําใหแ มลงสาบสามารถสรา งความตา นทานตอสารเคมที ี่ใชได
จากปญ หาดงั กลา ว คณะผศู ึกษาจึงมีความสนใจทจี่ ะศกึ ษา สมุนไพรพน้ื บานกาํ จดั แมลงสาบ ซึ่งวิธีการน้จี ดั เปน
วธิ กี ารที่ปลอดภัยตอ ผใู ช ไมเปนพิษตอมนุษย และไมม สี ารพษิ ตกคา งในธรรมชาติ
1.2 วัตถปุ ระสงคข องโครงงาน
เปรียบเทยี บประสิทธภิ าพของสมุนไพร ใบมะกรูด ใบตะไครหอม และใบชะอม ในการกําจดั
แมลงสาบ
ศกึ ษาถึงประโยชนของการใชสมนุ ไพรในการกําจัดแมลง
1.3 สมมติฐานของโครงงาน
สมุนไพรไทย ใบมะกรูด ใบตะไครหอม และใบชะอม สามารถกําจัดแมลงสาบได แตสมนุ ไพรแตล ะชนิด มี
ประสทิ ธภิ าพในการกําจัดแมลงสาบไมเทา กัน

2

1.4 กรอบแนวคดิ การทดลอง
ตัวแปรตน ใบมะกรูด ใบตะไครห อม ใบชะอม
ตัวแปรตาม ประสิทธิภาพในการกาํ จดั แมลงสาบ
ตัวแปรควบคุม ชนดิ ของแมลงสาบ ปริมาณของสมุนไพรทใี่ ช ระยะเวลา สถานที่ จํานวนแมลงสาบ

1.5 ขอบเขตของการทําโครงงาน
1. สมุนไพรทีใ่ ชในการศึกษามี 3 ชนดิ คอื ใบชะอม ใบมะกรูด ใบตะไครหอม
2. ใชเฉพาะแมลงสาบเปนตวั ทดลอง
1.6 ประโยชนท ่ีคาดวาจะไดรบั
1. ทราบถงึ ประสิทธภิ าพของสมนุ ไพร ใบมะกรูด ใบตะไครหอม และใบชะอม ในการกําจดั แมลงสาบ
2. ทราบถึงชนิดของสมุนไพร ใบมะกรดู ใบตะไครห อม และใบชะอม วาชนิดใดกําจัดแมลงสาบไดด ีกวา กัน
3. ทราบถึงประโยชนข องการใชสมนุ ไพรในการกําจัดแมลง
1.7 นยิ ามศพั ทเ ฉพาะ
สมนุ ไพร หมายถึง พืชท่ีใช ทําเปน เครอื่ งยา สมนุ ไพรกาํ เนิดมาจากธรรมชาติและมีความหมายตอ ชีวิตมนษุ ย
โดยเฉพาะ ในทางสุขภาพ อันหมายถงึ ทั้งการสง เสรมิ สขุ ภาพและการรักษาโรค ความหมายของยาสมนุ ไพรใน
พระราชบัญญตั ิยา พ.ศ. 2510 ไดร ะบวุ า ยาสมุนไพร หมายความวา ยาทไ่ี ดจาก พฤกษาชาตสิ ัตวห รอื แรธาตุ ซ่ึง
มิไดผสมปรงุ หรือแปรสภาพ เชน พืชก็ยงั เปน สวนของราก ลาํ ตน ใบ ดอก ผลฯลฯ ซงึ่ มิไดผานขั้นตอนการแปรรปู
ใด ๆ แตในทางการคา สมนุ ไพรมักจะถูกดัดแปลงในรูปแบบตาง ๆ เชน ถกู หั่นใหเ ปน ชน้ิ เล็กลง บดเปน ผงละเอียด
หรอื อัดเปนแทงแตใ นความรูส ึกของคนท่วั ไปเมื่อกลาวถึงสมุนไพร มักนกึ ถึงเฉพาะตน ไมท่ีนํามาใชเ ปน ยาเทานน้ั
กําจดั หมายถึง ขบั ไล ปราบ ทําใหสิ้นไป

3

บทท่2ี
เอกสารทเ่ี กีย่ วขอ ง

ตะไครหอม (Citronella Grass, Sarah Grass)

ตะไครห อม ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Cymbopogon nardus rendle
ชอ่ื สามัญ : Citronella grass วงศ : GRAMINEAE

เปน พืชสมนุ ไพรจาํ พวกหญา ซึง่ ตะไครห อมนั้นมีตนกาํ เนดิ จากเขตรอนของเอเชยี เปนพืชสมนุ ไพรท่ีมนี ้ํามัน
หอมระเหยอยูซึ่งใชส าํ หรับไลยงุ ได ไมน ิยมนํามาประกอบอาหารรับประทานเหมือนกับตะไคร โดยมกี ารนําตะไคร
หอมเขา มาจากอินเดยี ซึ่งผทู ีเ่ รมิ่ นําตะไครหอมเขามาในประเทศไทยของเราก็คอื คุณหลวงมติ รธรรมพทิ ักษ โดยเร่ิม
ปลกู จากจังหวดั ชลบุรแี ลวจึงแพรกระจายปลกู ไปทวั่ ทุกภาคของประเทศ

4
ลักษณะท่ัวไปของตะไครหอม
สาํ หรบั ตนตะไครหอมน้ันจัดวา เปน พชื ลมลกุ จําพวกหญา ที่มอี ายุไดหลายป มีความสงู ของลําตน ประมาณ 2
เมตร โดยมเี หงาอยูใตด นิ ลาํ ตน ตรงลกั ษณะเปน ขอๆ และแตกจากเหงา ออกเปน กอ มกี ลิ่นหอมๆ สว นใบน้ันจะ
ออกเปนใบเด่ียวออกแบบเรียงสลบั กนั รูปทรงขอบขนาน ผิวเกลยี้ ง สเี ขยี ว ปลายแหลมและหอยลง แตกตางจาก
ตะไครบ านตรงที่มีใบยาวและนมิ่ กวา และเนื่องจากตน และใบนน้ั มกี ลนิ่ ฉุนมากทาํ ใหไมสามารถนํามาประกอบ
อาหารรับประทานได และดอกของตนตะไครหอมนั้นจะออกเปนชอ มีขนาดใหญสนี ํา้ ตาลอมแดง ออกดอกมาจาก
กลางตน ลักษณะคลายกาบ โดยชอยอ ยๆ จํานวนมากของตะไครหอมน้นั จะมีใบประดับอยูบรเิ วณโคน 2 ใบ ปลาย
ใบจะแหลม และผลน้ันจะเปนผลแหง แบบเมล็ดเดยี วและไมแตก
ประโยชนแ ละสรรพคณุ ของตะไครหอม

ทัง้ ตน – สามารถใชตนสดนาํ มาทุบแลววางไวใชส าํ หรับกนั ยุงไดด ี รวมทั้งชวยแกอาการริดสดี วงในปาก
ชวยขับโลหติ ทาํ ใหมดลกู บีบตัว ทาํ ใหแทง ตลอดจนแกอาการแนนทอง ชวยขับลมในลาํ ไส และทํายาฆาแมลง
ดงั น้ันจะเห็นไดว าตะไครหอมนน้ั เปนพืชสมุนไพรทีม่ ปี ระโยชนและสรรพคณุ มากมายเลยทีเดยี ว โดยเฉพาะการ
ปองกันยุงหรอื แมลงรบกวนที่เปน สาเหตหุ ลกั ของโรคไขเ ลือดออก โรคมาลาเรีย และเทาชาง

ใบมะกรดู

มะกรดู : ชื่อวทิ ยาศาสตร : Citrus hystrix
ช่อื สามัญ : Citrus hystrix วงศ: Rutaceae

5
เปนพชื ในสกุลสม (Citrus) มถี ิ่นกาํ เนิดในประเทศลาว อนิ โดนีเซยี มาเลเซยี และไทย ในเอเชียตะวันออกเฉียง
ใต นยิ มใชใ บมะกรูดและผิวมะกรูดเปนสว นหนงึ่ ของเคร่อื งปรุงอาหารหลายชนดิ นอกจากในประเทศไทยและลาว
แลว ยังมีความนยิ มในกัมพชู าเวียดนาม มาเลเซีย และอินโดนีเซยี (โดยเฉพาะบาหลี)
ลกั ษณะพฤกษศาสตร
เปน ไมยนื ตนขนาดเลก็ เปนไมเ นอ้ื แข็ง ลาํ ตน และก่ิงมหี นามยาวเลก็ นอย ใบเปนใบประกอบชนิดลดรูป มใี บยอย 1
ใบ เรยี งสลบั รปู ไข คือมลี กั ษณะคลายกบั ใบไม 2 ใบ ตอกันอยู คอดก่วิ ทก่ี ลางใบเปนตอน ๆ มกี านแผอ อกใหญ
เทากบั แผน ใบ ทาํ ใหเ ห็นใบเปน 2 ตอน กวา ง 2.5-4 เซนติเมตร ยาว 4-7 เซนติเมตร ใบสเี ขยี วแกพ นื้ ผิวใบเรียบ
เกล้ียง เปน มัน คอนขา งหนา มีกลนิ่ หอมมากเพราะมตี อมน้ํามนั อยู ซ่ึงผลแบบน้ีเรียกวา hesperidium (ผลแบบ
สม ) ใบดา นบนสเี ขม ใตใ บสีออน ดอกออกเปน
กระจุก 3 – 5 ดอก กลีบดอกสขี าว เกสรสเี หลือง รว งงา ย มกี ล่ินหอม มีผลสเี ขยี วเขมคลายมะนาวผวิ เปลือกนอก
ขรขุ ระ ขว้ั หวั ทา ยของผลเปน จกุ ผลออนมเี ปนสเี ขียวแก เม่ือผลสุกจะเปลีย่ นเปนสีเหลอื งสด พนั ธทุ ม่ี ีผลเลก็ ผิวจะ
ขรขุ ระนอยกวาและไมมีจกุ ท่ีข้วั ภายในมีเมลด็ จาํ นวนมาก ๆ มีผิวขรขุ ระ
การใชป ระโยชน
การใชมะกรูดสระผมนาจะรจู ักกันมาต้งั แตสมยั โบราณ วธิ กี ารสระ บา งกใ็ ชผ ลดบิ ผาแลวบีบนา้ํ สระโดยตรง บางก็
นาํ ไปเผา หรือตมกอนสระจะใชเ พื่อการสระผมน่นั เอง และก็สามารถนําไปลางพื้นไดดวย ซ่งึ เปนสมนุ ไพรชนดิ หนึ่ง
เชน กันท้ังในใบ และผล บางครงั้ สามารถนําไปใชไลแ มลงบางชนิดไดผ ลมะกรูดผาซกี ท่บี บี น้าํ ออกแลว ใชเปน ยาดับ
กลิน่ ในหอ งสขุ าได

6
ชะอม

ชะอม : ช่อื วิทยาศาสตร : Senegalia pennata
ชือ่ สามัญ : Senegalia pennata สกุล : Senegalia
เปนพชื จาํ พวกอาเคเซีย นิยมรบั ประทานในทกุ ภาคของไทย เปน พืชย่นื ตน ใชใ บแกแ ละออ น เปน สมุนไพร ของไทย
ลําตนของชะอมมหี นาม ใบมีขนาดเล็กและมีกล่ินฉุน ใบออนของชะอมหรือสวนยอดของใบสามารถนาํ มา
รบั ประทานได มชี อ่ื เรยี กแตกตา งกันไปแตล ะภาค โดยมากมกั ปลูกตามร้วั บานเน่ืองจากมีหนามแลวยงั เปนผกั ท่ี
ทานไดต ลอดทั้งป พชื อีกชนิดหนง่ึ ที่พบในประเทศซ่งึ เปนคนละสปชีส ยอยกบั ชะอมคือผักคาปลูกโดย การปกชํา
เพาะเมลด็ หรือตอนก่ิง หรอื การโนมกงิ่ ลงดนิ โดยไมไดต อตาหรือชาํ ก่งิ สวนมากใชก ารเพาะเมลด็ เน่ืองจากไดต นท่ี
แข็งแรง ทนทานตอสภาพอากาศและยังมีหนามมากกวา การปลกู ดว ยวธิ ปี ลูกแบบอ่นื ชะอมไมคอ ยมโี รคและแมลง
มารบกวนหากพบโรคปองกนั โดยใช ปนู ขาวโรยรอบโคนตน หรือจมุ ทอนพนั ธใุ นนา้ํ ปูนขาวกอ นปลูก สวนแมลงมี
หนอนกนิ ยอดชะอม ใชย าฆา แมลงฉีดทุก ๆ 8 วัน ควรเก็บยอดชะอมหลงั ฉีดยาแลว ไมน อยกวา 7 วนั สามารถเกบ็
เกีย่ วจากตนทีป่ ลูกกิง่ ตอนไดประมาณ 10 -15 วนั ตดั ยอดขายได ทุก ๆ 2 วนั ควรบํารุงและดแู ลตน อยา ง
สม่ําเสมอ
สรรพคณุ ทางยา ราก แกปวดทอ ง ทองอืด ทองเฟอ ขบั ลมในลาํ ไสแกล้ินอักเสบเปน ผนื่ แดง

7

แมลงสาบ (Cockroach)

เปน แมลงที่อยูในอนั ดับ Blattodea หรือ Blattaria จดั เปนแมลงท่ีมีวงจรชีวติ ไมส มบรู ณ คือ ไมเปนตวั หนอน
และดักแด ปจจบุ ันเปน แมลงท่ีพบกระจายไปแลวทั่วโลก โดยตดิ ไปกับยานพาหนะตา ง ๆ พบไดถึงขนาดบน
เคร่อื งบนิ โดยสาร ถือเปน สตั วทีเ่ ปน พาหะนาํ โรค และนารังเกียจโดยท่ัวไปแลว มีลกั ษณะลําตัวยาวรเี ปนรูปไข เปน
สีดําหรอื สนี าํ้ ตาลเขม มีสว นหวั ซอนอยูใตอก มหี นวดยาวคลายเสน ดา ย สว นขายาวมีหนามคลมุ ตวั เตม็ วยั มีท้งั มี
ปก และไมมปี ก เปน แมลงที่หากนิ ตามพน้ื ดินเปน หลักตามท่ีมดื ๆ หรอื ในเวลากลางคนื ไมช อบทจี่ ะบิน และว่ิงได
เรว็ มากโดยชื่อภาษาอังกฤษนั้นมีทีม่ าจากภาษาสเปน แมลงสาบทีร่ จู กั กนั โดยทั่วไปเปนชนดิ
Periplanetaamericana ในวงศ Blattidae หรอื เรียก แมลงสาบอเมริกัน มีลําตัวยาวประมาณ 3 เซนติเมตร
สว นแมลงสาบไทยหรอื แมลงสาบชนดิ เอเชยี เปน ชนดิ Blattellaasahinai ซ่งึ มคี วามยาวลําตวั ประมาณ 2
เซนตเิ มตร
ปจ จุบันน้พี บมากกวา 9,000 สกลุ 4,500 ชนดิ และพบ 4 ชนิดที่เลี้ยงเปน สัตวเ ล้ียงเชน แมลงสาบ
มาดากัสการ (Gromphadorhinaportentosa)

8
งานวิจยั ทเี่ กี่ยวขอ ง
จากการศึกษา งานวจิ ยั ทีเ่ กีย่ วของ Paranagama et al.ไดศึกษาน้าํ มันหอมระเหยจากพืช 5 ชนดิ คือตะไครห อม
ตะไครบ านอบเชยเทศ ขิง และหอมแขกตอการวางไข ผลการศกึ ษาพบวานํ้ามันหอมระเหยทง้ั 5 ชนดิ มีผลในการ
ยับย้งั การวางไข และการเจริญเติบโตเปน ตวั เตม็ วัยโดยตะไครบ า น และตะไครห อม มผี ลตอการวางไข และการ
เจริญเติบโตเปนตวั เต็มวัย มากกวา ขงิ อบเชย และหอมแขก ดว งถวั่ เขยี วทีไ่ ดรับนํ้ามันหอมระเหย จากตะไครบา น
ตะไครห อม ขงิ และอบเชย ท่ีความเขมขน 10-160 มลิ ลิกรัม มอี ตั ราการวางไขนอ ยกวา กลมุ ควบคุม ทง้ั นี้เมื่อ
ดว งถวั่ เขียว ไดรับน้าํ มนั หอมระเหย ของตะไครหอม ขิง ตะไครบา น และอบเชย ทมี่ ีความเขมขน 40, 40, 80 และ
160 มลิ ลิกรัม ตามลําดบั จะไมม ีการวางไขเ ลย สวนนา้ํ มนั หอมระเหยจาก หอมแขก มผี ลตอการวางไขน อยทส่ี ดุ
เม่อื เปรียบเทียบกบั น้ํามันหอมระเหยชนิดอน่ื ๆ

9

บทท่ี 3
วธิ กี ารดําเนนิ โครงงาน

วัสดุ อุปกรณ

1. ใบมะกรดู จํานวน 80 กรัม
2. ใบตะไครห อม จํานวน 80 กรมั
3. ใบชะอม จํานวน 80 กรมั
4. ขวดฉีดพน จํานวน 3 ขวด
5. ครกตํา
6. ขวดพลาสตกิ เจาะรู จํานวน 3 ใบ
7. น้ําเปลา จาํ นวน 450 กรัม
8. เคร่ืองช่งั
9. ผา ขาวบาง จาํ นวน 1 ผนื
10. แมลงสาบ 6 ตวั

ขัน้ ตอนการทดลอง
1. เกบ็ สมนุ ไพร ใบมะกรดู ใบตะไครห อม และใบชะอม เลือกใบท่ไี มแก ไมออน
ลา งใหสะอาด

2. ชัง่ สมนุ ไพรท้ัง 3 ชนดิ ๆ ละ 80 กรัม นาํ มาบด หรือตาํ ใหล ะเอียดนามในน้าํ 150 มลิ ลิลิตร ดังนี้

ใบมะกรดู 80:150

ใบตะไครห อม 80:150

ใบชะอม 80:150

3.แชสมุนไพรทั้ง 3 ชนิด ๆ ละ 10 นาที แลว กรองเอากากออก และเทนาํ้ สมุนไพร ท้ัง 3 ชนิด ใส ในขวดๆ
ปริมาณสมนุ ไพร 80 กรมั ตอปรมิ าณน้ํา 150 มลิ ลิลิตร

10
4. ทาํ การทดลอง จับแมลงสาบ จาํ นวน 6 ตวั นาํ ไปใสในขวดพลาสติก ท่ีเจาะรไู ว จาํ นวน 3 ขวดๆ ละ 2 ตวั

จากนั้นฉีดพน นาํ้ สมนุ ไพร 80:150 ขวดละ 1 ชนิด ในปริมาณชนดิ ละ50 มิลลิกรมั จากนั้น สงั เกตปฏิกิริยา
ของแมลงสาบ และบันทกึ ผลทกุ ๆ 5 นาที จนครบ 30 นาที หากแมลงสาบตายแสดงวา ชนดิ และปริมาณ
สมนุ ไพรที่เหมาะสม มีผลตอ การตายของแมลงสาบ
5. สรุปผลการทดลอง

11

บทที่ 4
ผลการศึกษา

จากการศึกษา ซ่งึ วิธีการน้จี ดั เปน วิธีการท่ปี ลอดภัยตอผูใช ซึง่ ไมเปน พิษตอ มนษุ ย และไมมีพษิ ตกคา งใน
ธรรมชาติ มวี ัตถุประสงคเพ่ือเปรียบเทียบประสิทธิภาพชนดิ ของสมุนไพร และอัตราสว นท่ีเหมาะสมของสมนุ ไพรใน
การกําจดั แมลงสาบของรวมถึงศึกษาประโยชนข องการใชส มนุ ไพรในการกําจดั แมลง โดยการทดลอง ไดผล
การศึกษา ดังน้ี
สารทใี่ ชในการทดลอง ปฏิกริ ยิ าของแมลงสาบ

5 10 15 20 30

นา้ํ ใบมะกรดู 80 g แมลงสาบ แมลงสาบเคลือ่ นไหว แมลงสาบ แมลงสาบตาย -
น้าํ ใบตะไตรห อม 80 g พยายามไตรหนี ไดชา ลงทง้ั 2 ตวั เคลอื่ นไหวได ทงั้ 2ตัว
นาํ้ ใบชะอม 80 g แมลงสาบ ชาลง ตวั ท่ี 1
พยายามไตรหนี ตาย
แมลงสาบเคลื่อนไหว แมลงสาบ แมลงสาบเรมิ่ แมลงสาบ
แมลงสาบว่งิ ไดชาลง เคล่อื นไหวได ดน้ิ และคอยๆ ยังมชี ีวิตท้ัง
ลอบๆขวด และ ชาลงทัง้ 2 ตัว ฟน ข้ึนมา เร่ิม 2ตวั
หงายทอง เคลือ่ นไหวและ
มชี ีวิตอยู
แมลงสาบตวั ที่ 1
เคลื่อนไหวชา ลง และ
ตาย แมลงสาบตัวท่ี 2 - --
หงายทอ งและตายใน
เวลาไลเลยี่ กนั

ผลการศกึ ษา พบวา เม่ือเวลาผานไป 5 นาที แมลงสาบจะมีปฏิกริ ยิ าที่ไมแตกตางกัน จะพยายามไตหนีขึ้นบนขวด
เม่ือเวลาผา นไป 10 นาที จะมปี ฏกิ ริ ยิ าแตกตา งกนั จะเคลื่อนไหวชา ลง โดยแมลงสาบท่ีฉีดดว ยนา้ํ ชะอม จะมีการ
เคลือ่ นไหวชาลง และตายหมดทุกตวั ในท่ีสุด แมลงสาบทฉ่ี ีดดวยน้าํ มะกรูด จะตายเมื่อเวลาผานไป 15 นาที จะ
ทยอยตายในเวลาไลเลีย่ กนั สว นแมลงสาบท่ีฉดี ดว ยน้ําตะไคร จะเคล่ือนไหวชาลง จนเวลาผา นไป ยงั มีชีวิต

12

ประโยชนข องการใชสมนุ ไพรในการกาํ จัดแมลง
1. เพ่ือลดการใชสารเคมภี ายในบา น
2. สามารถหาไดงา ยในครวั เรือน และเปน พชื ท่ปี ลูกไดเ กอื บทุกภาคของประเทศไทย
3. เปน การนาํ พืชสมนุ ไพรที่มีอยูมาใชใ หเกดิ ประโยชน เปน การลดคา ใชจาย อกี ทางหน่งึ
4. การใชส มุนไพรยังเปนแนวทางหนงึ่ ในการทดแทนหรือ ลดการใชสารเคมีสังเคราะหใน การปอ งกนั กําจดั
แมลงสาบ
5. เพ่ือสงเสริมภมู ปิ ญญาชาวบา น
6. นําผลการทดลอง ไปพัฒนาเปนผลติ ภณั ฑส มนุ ไพร เพ่ือกําจัด หรอื ไลแมลงสาบตอ ไป

13

บทท5่ี
สรุปผลการศกึ ษา อภปิ ราย และขอเสนอแนะ

สรปุ ผลการศกึ ษา

เปรียบเทยี บประสทิ ธิภาพชนิดของสมุนไพร และอตั ราสว นท่เี หมาะสมของสมุนไพร ใบมะกรดู ใบตะไครหอม และ
ใบชะอม ในการกําจัดแมลงสาบ ผลการศึกษาพบวา ใบชะอมมีประสิทธิภาพ ในการกาํ จัดแมลงสาบไดดที ีส่ ดุ โดย
แมลงสาบท่ฉี ีดดว ยนํา้ ชะอม จะมีการเคลื่อนไหวชาลง และตายในเวลา ประมาณ 5-10 นาที รองลงมาคือน้าํ ใบ
มะกรดู จะตายภายในเวลาประมาณ 15 -20นาที อนั ดบั สดุ ทา ยใบตะไครห อม ไมส ามารถทาํ ใหแมลงสาบตาย
เพียงแค เคลื่อนไหวชาลง สงบนิง่ และฟนมาภายหลัง

อภปิ รายผล

จากสมมติฐาน ของการศกึ ษาใหไว “สมุนไพรไทย ใบมะกรูด ใบตะไครห อม และใบชะอม สามารถกาํ จัดแมลงสาบ
ได จากงานวจิ ยั ของ Thavara et U, A, Tawatsin, P. Bhakdecnuan, T. Boonruad, J. Bansiddhi, P.
Chavalittumrong, N. kimalamisra, p.Siriyasatien and M.s Mulla. ท่ีไดอางอิงในงานวจิ ยั ท่เี ก่ยี วของ ใน
พบวานาํ้ มันหอมระเหยจาก ใบมะกรูด มีประสทิ ธิภาพในการไลแมลงสาบอเมรกิ ัน และแมลงสาบเยอรมัน ไดอ ยาง
สมบรู ณ (100%) และไลแ มลงสาบผี ได 87.5% เมอื่ เปรียบเทียบกบั น้าํ มันหอมระเหยจากกระชาย ขมนิ้ ชนั
ตะไครตน พรกิ ไทย ฝรัง่ และ ขิงซึง่ มปี ระสทิ ธิภาพในการไลไ ดด กี วา ลกู เหม็น ในสภาพหองปฏิบตั ิการซ่ึงสอดคลอ ง
กบั การทดลองของการทดลอง ของกลุมของขาพเจา ใบมะกรูดสามารถกาํ จดั แมลงสาบได และ การศึกษา ของ
Paranagama et al. ศึกษานํ้ามันหอมระเหยจากพชื 5 ชนดิ คือตะไครหอม ตะไครบานอบเชยเทศ ขงิ และ หอม
แขกตอการวางไขและการแพรพ ันธข องดว งถ่วั เขียว ผลการศึกษาพบวา นาํ้ มันหอมระเหยทั้ง 5 ชนิด มผี ลในการ
ยับยง้ั การวางไข และการเจริญเตบิ โตเปน ตัวเตม็ วยั ของ ดว งถ่ัวเขียว ซง่ึ ไมสอดคลองกบั การทดลองของการทดลอง
ของกลมุ ของขาพเจา ท่ตี ะไครไมส ามารถกาํ จดั แมลงสาบได

จะเห็นไดวา จากงานวิจยั ท่ีเกี่ยวของที่ไดศ ึกษา พบวา มีการนาํ สมุนไพรไทยหลายชนิด ในการกําจัดศตั รพู ชื
กําจดั แมลงวัน แมลงสาบ ดว งถ่ัวเขียว ดว งงวงขาวโพด เชน การศกึ ษา ของ พบวา น้ํามันหอมระเหย จากใบ
มะกรดู กระชาย ขม้นิ ชัน ตะไครต น พรกิ ไทย ฝรั่ง และ ขงิ กาํ จดั แมลงสาบได และ การศึกษาของ มยุรา สนุ ยวีระ
และคณะทดลองการใชสารสกดั จากพืชสมุนไพร 10 ชนดิ ไดแ ก ชะพลู ดปี ลี กานพลู กะทือ ยาสูบ วา นนํา้

14
กระชาย ขา ขมน้ิ ชนั และไพล ที่ความเขม ขน 10% ทาํ การทดสอบโดยการ spray และ feeding พบวา สารสกัด
จากดปี ลี และวา นนา้ํ และขม้ินชัน ผสมกบั ขา ใหผ ลดีทส่ี ดุ ในการทดลอง โดยทําใหแมลงสาบอเมรกิ นั ตาย 100
และ 90 % หลังการทดลอง 24 ชั่วโมง
ขอเสนอแนะ

การใชสมนุ ไพรอาจจะเปนอกี ทางเลอื กหนงึ่ ในการนํามาปองกนั กําจัดแมลงสาบ หรือแมลงศัตรพู ชื ชนิดอื่นๆ
ซ่งึ พบวา ในนา้ํ มนั หอมระเหยของสมนุ ไพร แตละชนิดมผี ลตอการตายของตวั ออน และตัวเตม็ วัยของแมลงสาบ
หรอื แมลงชนิดตางๆ ทีแ่ ตกตางกนั โดยจะขนึ้ อยูก บั สรรพคุณของพชื แตละชนดิ สดั สวนของสมพชื สมนุ ไพรท่ี
นํามาใชส กดั นา้ํ มันหอมระเหย องคประกอบทางเคมี ของพชื สมุนไพรท่ีแตกตางกันออกไป และอาจมีปจ จยั อ่ืนๆ ท่ี
จะกําหนดประสทิ ธิภาพในการออกฤทธ์ิ ของพชื น้นั ๆ การที่จะนาํ สมุนไพรแตละชนิด มาใชใ นการปอ งกันกําจัดตัว
ออน และตัวเตม็ วยั แมลงสาบ หรอื แมลงชนดิ อื่นๆ อาจจะใหผ ลในการปองกัน กําจัด การไล การยับย้งั การวางไข
หรอื การยบั ยง้ั การฟกไข ทแี่ ตกตางกนั จงึ ควรศึกษาคุณสมบตั ิ และลักษณะของพืชสมุนไพรแตล ะชนดิ หาวธิ ที จ่ี ะ
นําไปใชใ หเหมาะสม และมปี ระโยชนส งู สุด ควรคํานงึ ถึงดานทเี่ ปน ประโยชน และโทษของพืชสมุนไพร ในดาน
ความปลอดภัย ทั้งตอ มนุษย สตั วเ ลีย้ ง และสภาพแวดลอม เพราะโดยปกตแิ ลว พชื สมนุ ไพรเหลา นี้ มีประโยชนท ง้ั
ทางอาหาร และยา และสามารถหาไดงายตามครัวเรือน และเปน พชื ที่ปลูกไดเกือบทกุ ภาคของประเทศไทย แต
สมุนไพรบางชนดิ อาจเปนอันตรายตอมนุษย หรอื สัตวเ ลี้ยงได นอกจากน้ี การใชสมุนไพรยงั เปน แนวทางหนึง่ ใน
การทดแทนหรือ ลดการใชส ารเคมสี ังเคราะห ในการปอ งกันกําจดั แมลงสาบ แตอยางไรกต็ าม ผลจากการศกึ ษา
คร้งั นี้ ยงั ตอ งมีการการศึกษา และพัฒนาตอไป เพ่อื นาํ ผลการทดลอง ไปพัฒนาเปน ผลติ ภณั ฑสมุนไพร เพ่ือกาํ จัด
หรือไลแ มลงสาบตอไป

15

บรรณานกุ รม
https://karnkkk.wordpress.com/2018/02/22/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%

B8%B5%E0%B9%88-2/
สมุนไพรกําจดั แมลงสาบ
https://sites.google.com/view/cockroachh/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B
8%94%E0%B8%A2%E0%B8%AD
การเปรยี บเทยี บประสิทธิภาพของสมนุ ไพรในการกําจดั แมลงสาบ

16

ภาคผนวก

17

ภาคผนวก ก
ประวัติผจู ดั ทํา

ช่ือ จนั ธริ า เทพคํา
วนั เกดิ 4 สงิ หาคม พ.ศ.2546
ทอ่ี ยู 131 หมทู ี่ 1 ต.ศรดี อนไชย อ.เทงิ จ.เชยี งราย
ประวตั กิ ารศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ที่โรงเรยี นปลองวทิ ยาคม ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลายท่โี รงเรยี นปลอ ง
วทิ ยาคม ปจ จบุ ันกาํ ลงั ศกึ ษาระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนปลอ งวทิ ยาคม
ต.ปลอง อ.เทิง จ.เชียงราย

18

ชื่อ อรุโณทยั ทิศอนุ
วนั เกิด 30 เมษายน พ.ศ.2546
ที่อยู 205 หมทู ่ี 7 ต.ปลอง อ.เทงิ จ.เชียงราย
ประวัตกิ ารศึกษา ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน ที่โรงเรียนปลองวิทยาคม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนปลอ ง
วิทยาคม ปจ จุบันกาํ ลงั ศึกษาระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปท่ี 6 โรงเรยี นปลอ งวทิ ยาคม
ต.ปลอง อ.เทงิ จ.เชียงราย

19

ช่ือ กฤษฎา เงินมา
วนั เกดิ 21 มิถุนายน พ.ศ.2546
ท่อี ยู 71/3 หมูที่ 4 ต.ปลอง อ.เทิง จ.เชียงราย
ประวัตกิ ารศึกษา ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตนท่ีโรงเรยี นปลองวทิ ยาคม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนปลอ ง
วิทยาคม ปจจุบนั กําลังศึกษาระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 6 โรงเรยี นปลอ งวทิ ยาคม
ต.ปลอง อ.เทงิ จ.เชียงราย

20

ชื่อ จุฬาลักษณ ขาวฟอง
วนั เกิด 29 พฤศจิกายน พ.ศ.2546
ท่อี ยู 7/1 หมูท่ี 12 ต.ปลอง อ.เทงิ จ.เชียงราย
ประวตั ิการศึกษา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน ทโี่ รงเรยี นปลองวิทยาคม ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายท่โี รงเรยี นปลอ ง
วิทยาคม ปจ จบุ นั กาํ ลงั ศึกษาระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปท่ี 6 โรงเรยี นปลอ งวทิ ยาคม
ต.ปลอง อ.เทิง จ.เชยี งราย


Click to View FlipBook Version