The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักเกณฑ์และวิธีการขอรับเงิน ค่าตอบแทนสำหรับผู้เสียหาย และค่าทดแทน ค่าใช้จ่ายสำหรับจำเลยในคดีอาญา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pornpitak555.ok, 2021-03-23 06:13:12

หลักเกณฑ์และวิธีการขอรับเงิน ค่าตอบแทนสำหรับผู้เสียหาย และค่าทดแทน ค่าใช้จ่ายสำหรับจำเลยในคดีอาญา

หลักเกณฑ์และวิธีการขอรับเงิน ค่าตอบแทนสำหรับผู้เสียหาย และค่าทดแทน ค่าใช้จ่ายสำหรับจำเลยในคดีอาญา

ความรู้สาหรบั ประชาชน

หลกั เกณฑแ์ ละวิธีการขอรบั เงนิ

ค่าตอบแทนสาหรบั ผูเ้ สียหาย และค่าทดแทน
ค่าใชจ้ ่ายสาหรบั จาเลยในคดีอาญา

❑ ผเู้ สยี หาย จาเลยในคดอี าญา ที่เขา้ หลกั เกณฑม์ สี ทิ ธิจะไดร้ บั เงิน
คา่ ตอบแทน ค่าทดแทน มลี กั ษณะอย่างไร

❑ ยนื่ คาขอรบั สทิ ธิท่ีไหน มีเอกสารประกอบการยนื่ คาขออะไรบา้ ง
❑ อตั ราการค่าตอบแทน ค่าทดแทน ค่าใชจ้ ่าย มีหลกั เกณฑอ์ ย่างไร
❑ ใครมอี านาจพิจารณาอนุมตั ิค่าตอบแทน คา่ ทดแทนหรอื คา่ ใชจ้ ่าย

สามารถติดต่อ สอบถาม และขอคาปรกึ ษา ไดด้ ้วย
ตนเอง หรอื มหี นงั สอื สอบถามไปทส่ี านกั งานกฎหมายไชยชนะ
82 หมู่ท่ี7 ถ.ประชามุสลมิ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
90110 โทรศัพท์ 086 9615305 หรอื ท่ีศูนยน์ ิตศิ าสตรช์ ุมชน

คณะนติ ิศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ 140 หมู่ที่ 4
ตาบลเขารูปชา้ ง อาเภอเมอื ง จังหวดั สงขลา 90000
e-mail: [email protected] โทรศพั ท์ 0-7431-7687

สหกิจศกึ ษา มหาวิทยาลยั ทกั ษิณ

ส วั ส ดี ค รั บ

ค ว า ม รู้
สา ห รั บ ป ร ะ ช า ช น

คำนำ

คู่มื อ ค ว ามรู้ส า ห รับ ป ร ะ ช าช น จั ด ท าขึ้ น โด ย มี
จดุ ประสงคเ์ พื่อเผยแพรค่ วามรแู้ กป่ ระชาชนทวั่ ไป ใหท้ ราบถึง
สทิ ธิ หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารขอรับเงิน ค่าตอบแทน ในกรณี
ผเู้ สียหายในคดีอาญาสาหรับความผิดบางประเภทมีสิทธิ
ไดร้ ับคา่ ตอบแทน และให้จาเลยในคดีอาญามีสิทธิได้รับค่า
ทดแทนและคา่ ใชจ้ า่ ยทจ่ี าเป็ นในการดาเนินคดี โดยที่บุคคล
ซงึ่ ไดร้ ับความเสียหายน้ัน ตอ้ งเกิดจากการกระทาความผิด
อาญาของผอู้ ่นื โดยตนไมม่ สี ว่ นเกี่ยวขอ้ งกับการกระทาผิดจึง
จะมีสิทธิได้รับความช่วยเหลือจากรัฐ รวมทั้งจาเล ยใน
คดีอาญาที่ถกู คุมขังในระหว่างการพิ จารณาและมีคา
พิพากษาถงึ ทีส่ ดุ วา่ ไมไ่ ดเ้ ป็ นผกู้ ระทาความผิดมีสิทธิได้รับค่า
ทดแทนดว้ ย

ผ้จู ัดทาหวังว่ารายงานฉบับน้ีจะให้ความรู้ และเป็ น
ประโยชนแ์ ก่ผอู้ ่านทกุ ๆ ท่าน

พรพทิ ักษ์ ขนุ ชมุ
คณะนิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลยั ทกั ษิณ

ส วั ส ดี คะ่

ค ว า ม รู้
สา ห รั บ ป ร ะ ช า ช น

สำรบญั

หนำ้
❑ แนวคิดเกีย่ วกบั การชดใชค้ ่าเสยี หายใหแ้ กผ่ เู้ สยี หาย 1

โดยรัฐ

❑ ผเู้ สยี หายทีเ่ ขา้ หลักเกณฑม์ สี ทิ ธิไดร้ บั คา่ ตอบแทน 2-4
❑ จาเลยท่เี ขา้ หลักเกณฑม์ สี ทิ ธิไดร้ ับค่าตอบแทนและ 5

คา่ ใชจ้ า่ ย

❑ วธิ กี ารย่นื คาขอรบั สทิ ธิ 6

❑ กาหนดระยะเวลาในการขอรับสทิ ธิ 7

❑ อัตราการจ่ายค่าตอบแทนแก่ผเู้ สยี หาย 8-9

❑ อัตราการจ่ายค่าทดแทนและค่าใชจ้ า่ ยแก่จาเลย 10-12

❑ เอกสารทีใ่ ชย้ ่ืนประกอบคาขอ 13-16

❑ ผมู้ อี านาจพจิ ารณาอนมุ ตั ิค่าตอบแทน ค่าทดแทน 17-18

หรือคา่ ใชจ้ า่ ย 19
19
❑ การอทุ ธรณ์ 20
❑ บทลงโทษ 21
❑ หมายเหตุ
❑ อ้างอิง



ค ว า ม รู้
สา ห รั บ ป ร ะ ช า ช น 1

แนวคิดเก่ียวกบั การชดใช้
ค่าเสียหายใหแ้ ก่ผเู้ สยี หายโดยรฐั

การรกั ษาความความปลอดภัยในชีวิต ร่ายกาย และ
ทรัพย์สินของประชาชนเป็ นหนา้ ท่ีของรัฐ ดังนั้น เมื่อมี
อาชญากรรมเกิดข้ึนและเป็ นเหตุให้ประชาชนไดร้ ับความ
เสียหาย แสดงว่ารฐั มีความบกพร่องในการปฏิบัติหน้าท่ีใน
การป้ องกนั และปราบปรามอาชญากรรม รัฐจึงควรมีหนา้ ที่
ตอ้ งชดใชค้ ่าเสียหายท่ีเกิดขึ้นกับผูเ้ สียหายเพื่อผเู้ สียหาย
ไดร้ ับความคุม้ ครองจากระบวนการยตุ ิธรรมตามสมควร
นอกจากน้ันการที่มีอาชญากรรมเกิดขึ้นในรัฐ ย่อมทาให้
ผ้เู สียหายหรือเหยื่ออาชญากรรมซ่ึงเป็ นพลเมืองของรัฐ
ประสบปัญหาไดร้ ับความเดือดร้อน รัฐควรยื่นมือเข้า
ช่วยเหลือโดยไม่คิดมูลค่า ซึ่งถือว่าเป็ นสวัสดิการของรัฐ
ประเภทหน่งึ

ค ว า ม รู้
2 สา ห รั บ ป ร ะ ช า ช น

ผเู้ สียหายที่เขา้ หลกั เกณฑ์
มสี ทิ ธิไดร้ ับคา่ ตอบแทน

1. เป็ นบุคคลซึ่งได้รับความเสียหายถึงแก่ชีวิต
ร่างกายหรอื จิตใจ เน่ืองจากการกระทาความผดิ
อาญาของผอู้ น่ื

2. การกระทาความผิดอาญาของผอู้ ่ืนน้ันต้องเป็ น
ความผิดตามทก่ี าหนดไวใ้ นทา้ ยพระราชบัญญัติค่าตอบแทน
ผเู้ สียหายและคา่ ทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จาเลยในคดีอาญา
พ.ศ. 2544 คอื

2.1ความผดิ ฐานข่มขืนกระทาชาเราหญิงอื่นซ่ึง
มใิ ชภ่ รยิ าตน /ความผดิ ฐานกระทาชาเราเดก็ หญิงอายไุ ม่เกิน
15 ปี ความผดิ ฐานกระทาอนาจารผู้อื่น / ความผิดฐานเป็ น
ธรุ ะจัดหาล่อไป หรอื พาไปเพื่อการอนาจารของผู้อ่ืนหรือของ
ตนเอง / ความผดิ ฐานคา้ วัตถลุ ามก ตามประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา 276 ถงึ มาตรา 287

ค ว า ม รู้
สา ห รั บ ป ร ะ ช า ช น 3

ผเู้สยี หายท่เี ขา้ หลกั เกณฑ์
มสี ทิ ธิไดร้ ับค่าตอบแทน

2.2 ความผิดฐานฆ่าผูอ้ ่ืนโดยเจตนา /ความผิด
ฐานทารา้ ยผอู้ ื่นจนเป็ นเหตใุ ห้ผอู้ ื่นถึงแก่ความตาย /ความผิด
ฐานกระทาโดยประมาทเป็ นเหตุให้ผอู้ ่ืนถึงแก่ความตาย /
ความผดิ ฐานกระทาทารณุ บคุ คลซง่ึ ตอ้ งพึ่งตนในการดารงชีพ
หรือการอ่ืนใดให้ฆ่าตนเอง /ความผิดฐานช่วยหรือยุยง
สง่ เสริมเดก็ อายไุ ม่เกิน 16 ปี ให้ฆ่าตนเอง /ความผิดฐานเข้า
ร่วมชุลมุนต่อสจู้ นเป็ นเหตุให้ผู้อ่ืนถึงแก่ความตาย ตาม
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288 ถงึ มาตรา 294

2.3 ความผิดฐานทารา้ ยร่างกายผอู้ ื่นจนเป็ นเหตุ
ให้ได้รับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ /ความผิดฐานทาร้าย
รา่ งกายผอู้ ่นื จนเป็ นเหตใุ ห้ไดร้ บั อันตรายสาหัส /ความผิดฐาน
เขา้ รว่ มชลุ มนุ ต่อสจู้ นเป็ นเหตใุ ห้ผ้อู ื่นได้รับ อันตรายสาหัส /
ความผิดฐานกระทาโดยประมาทจนเป็ นเหตุให้ผู้อ่ืนได้รับ
อนั ตรายสาหัส ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 295 ถึง
มาตรา 300

ค ว า ม รู้
4 สา ห รั บ ป ร ะ ช า ช น

ผเู้ สียหายที่เขา้ หลกั เกณฑ์
มสี ิทธไิ ดร้ บั คา่ ตอบแทน

2.4 ความผิดฐานทาให้แท้งลูกตามประมวล
กฎหมายอาญามาตรา 301 ถึงมาตรา305 ความผิดฐาน
ทอดท้งิ เด็ก คนป่ วยเจบ็ หรอื คนชรา ตามประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา 306 ถึงมาตรา 308

3. เป็ นบุคคลซึ่งไมม่ สี ่วนทีก่ ่อให้เกิดหรือเข้าร่วมหรือ
สนับสนนุ ในการกระทาความผิดดงั กลา่ ว

ค ว า ม รู้
สา ห รั บ ป ร ะ ช า ช น 5

จาเลยทเ่ี ขา้ หลกั เกณฑม์ สี ิทธิ
ไดร้ ับคา่ ตอบแทนและคา่ ใชจ้ า่ ย

ตอ้ งเขา้ ลกั ษณะดังต่อไปนี้
1. เป็ นจาเลยท่ถี กู ดาเนินคดีโดยพนกั งานอัยการ
2. เป็ นจาเลยทถ่ี กู คมุ ขังในระหวา่ งการพิจารณาคดี
3. เป็ นจาเลยทศี่ าลมคี าพิพากษาถึงทส่ี ดุ ว่าขอ้ เท็จจริง

ฟังไดว้ า่ จาเลยไมไ่ ดเ้ ป็ นผกู้ ระทาความผดิ หรือการกระทาของ
จาเลยไมเ่ ป็ นความผิด หรือพนักงานอัยการไดถ้ อนฟ้ องใน
ระหว่างดาเนินคดีเนอ่ื งจากปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าจาเลย
ไมไ่ ดเ้ ป็ นผกู้ ระทาความผิด

ค ว า ม รู้
6 สา ห รั บ ป ร ะ ช า ช น

วิธกี ารยื่นคาขอรับสิทธิ
ค่าตอบแทน คา่ ทดแทน
ค่าใชจ้ ่าย

ผเู้ สยี หาย จาเลย หรือทายาทของผเู้ สียหายหรือของ
จาเลย (กรณีผเู้ สยี หายหรอื จาเลยถงึ แก่ความตาย) ต้องย่ืน
คาข อรับ สิทธิต่อคณ ะ กรรม การพิ จ ารณ าค่าตอบ แ ทนแ ก่
ผเู้ สียหายหรอื ค่าทดแทนและค่าใชจ้ ่ายแกจ่ าเลย

1. กรณีผเู้ สียหำย สามารถยืน่ คาขอรับค่าตอบแทน
ได้ที่กรมค้มุ ครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยตุ ิธรรม
สานกั งานยตุ ิธรรมจังหวัดทุกจังหวัด และสถานีตารวจทุก
แห่งทวั่ ประเทศ หรือ

2. กรณีจำเลย สามารถยื่นคาขอรับค่าตอบแทนและ
ค่าใชจ้ ่ายได้ที่กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวง
ยตุ ิธรรม สานักงานยตุ ิธรรมจังหวัดทุกจังหวัด เรือนจา
ทัณฑสถานทกุ แห่ ง และสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและ
เยาวชน และศนู ยฝ์ ึ กและอบรมเด็กและเยาวชนทุกแห่งทั่ว
ประเทศ

ค ว า ม รู้
สา ห รั บ ป ร ะ ช า ช น 7

กาหนดระยะเวลาในการขอรับ
สิทธิของผเู้ สียหายและขอจาเลย

1. กรณีผเู้ สียหำย
ข อรั บ ค่า ตอ บ แท นผู้เ สีย ห า ยต้อ งข อรับ สิท ธิ

ภายใน 1 ปี นับแตว่ ันทีผ่ เู้ สยี หายไดร้ ถู้ ึงการกระทาความผิด

2. กรณีจำเลย
ขอรับค่าทดแทนและคา่ ใชจ้ ่ายจาเลยต้องขอรับ

สิทธภิ ายใน 1 ปี นับแต่วันท่ีมีคาพิพากษาถึงที่สดุ หรือวันท่ี
ศาลมีคาสงั่ อนญุ าตพนกั งานอัยการถอนฟ้ อง

ค ว า ม รู้
8 สา ห รั บ ป ร ะ ช า ช น

อัตราการจา่ ย
ค่าตอบแทนแก่ผเู้ สียหาย

กรณีทว่ั ไป

1. ค่าใชจ้ า่ ยที่จาเป็ นในการรักษาพยาบาล ให้
จ่ายเทา่ ท่จี ่ายจริง แตไ่ ม่เกิน 30,000 บาท

2. คา่ ฟ้ื นฟูสมรรถภาพทางร่างการและจิตใจ ให้
จา่ ยเทา่ ที่จา่ ยจรงิ แตไ่ มเ่ กิน 20,000 บาท

3. ค่าขาดประโยชน์ทามาหาได้ในระหว่างท่ีไม่
สามารถประกอบการงานได้ตามปกติ ให้จ่ายอัตราวันละไม่
เกิน 200 บาท เป็ นระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี นับแต่วันที่ไม่
สามารถประกอบการงานไดต้ ามปกติ

4. คา่ ตอบแทนความเสยี หายอืน่ นอกจากขอ้
1-3 ให้จ่ายเป็ นเงนิ ตามท่คี ณะกรรมการเห็นสมควร
แต่ไม่เกนิ 30,000 บาท

***ค่าตอบแทนตามข้อ 1 และข้อ 2 ให้รวมถึง
ค่าใชจ้ า่ ยเก่ยี วกบั ค่าห้องและค่าอาหารในอัตราวันละ
ไมเ่ กนิ 600 บาท

ค ว า ม รู้
สา ห รั บ ป ร ะ ช า ช น 9

อตั ราการจา่ ย
ค่าตอบแทนแกผ่ เู้ สยี หาย

กรณีผเู้ สียหำยถึงแกค่ วำมตำย

1. คา่ ตอบแทน ให้จ่ายเป็ นเงนิ ต้ังแต่ 30,000
บาท แต่ไม่เกิน 100,000 บาท

2. ค่าจัดการศพ ให้จา่ ยจานวน 20,000 บาท
3. ค่าขาดอปุ การะเลี้ยงดู ให้จ่ายจานวนไม่เกิน
30,000 บาท
4. ค่าเสียหายอ่นื นอกจากขอ้ 1-3 ให้จ่ายตามที่
คณะกรรมการเห็นสมควร แตไ่ มเ่ กิน 30,000บาท

ค ว า ม รู้
10 สา ห รั บ ป ร ะ ช า ช น

อตั ราการจา่ ยคา่ ทดแทน
และค่าใชจ้ า่ ยแกจ่ าเลย

กรณีทัว่ ไป
1. ค่าใช้จ่ายที่จาเป็ นในการรักษาพยาบาลซึ่ง

ความเจ็บป่ วยตอ้ งเป็ นผลโดยตรงจากการถูกดาเนินคดี ให้
จา่ ยเท่าที่จ่ายจริง แต่ไม่เกนิ 30,000 บาท

2. คา่ ฟื้ นฟูสมรรถภาพทางรา่ งกายและจิตใจซ่ึง
ความเจ็บป่ วยตอ้ งเป็ นผลโดยตรงจากการถกู
ดาเนนิ คดี ใหจ้ ่ายเท่าท่จี ่ายจริง แต่ไมเ่ กนิ 50,000 บาท

3. คา่ ขาดประโยชนท์ ามาหาไดใ้ นระหว่างถกู
ดาเนนิ คดี ใหจ้ ่ายอัตราวนั ละไม่เกิน 200 บาท เป็ นระยะเวลา
ไม่เกิน 1 ปี นับแต่วันที่ไม่สามารถประกอบการงานได้
ตามปกติ

ค ว า ม รู้
สา ห รั บ ป ร ะ ช า ช น 11

อตั ราการจา่ ยคา่ ทดแทน
และคา่ ใชจ้ า่ ยแก่จาเลย

4. ค่าใชจ้ า่ ยในการดาเนนิ คดี

4.1 ค่าทนายความเท่าที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน

อัตรากฎกระทรวงกาหนด ดังนี้

คดีประเภทที่ 1 คดีท่ีมีอตั ราโทษประหารชีวติ อัตราข้ันต่าเรอ่ื งละ4,000 บาท
อัตราข้ันสูงเรือ่ งละ100,000 บาท

คดปี ระเภทท่ี 2 คดีท่ีมีอัตราโทษจาคกุ อยา่ งสูงต้ังแตส่ ิบปี ข้ึนไปแตไ่ ม่ อตั ราข้ันต่าเรอื่ งละ3,000 บาท
ถึงประหารชีวติ และใหร้ วมถงึ คดอี าญาท่ีมคี วามผิด อตั ราข้นั สูงเรอ่ื งละ75,000 บาท
หลายกรรมหลายกระทง ซ่งึ แตล่ ะกระทงมีอัตราโทษ
จาคุกอยา่ งสูงไมเ่ กนิ สิบปี แต่เมื่อรวมโทษทกุ กระทง
แล้วเกนิ กวา่ สิบปี ข้นึ ไปดว้ ย

คดปี ระเภทท่ี 3 คดอี น่ื นอกจากคดใี นประเภทที่ 1 หรือประเภทท่ี 2 อัตราข้นั ต่าเรอ่ื งละ2,000 บาท
อตั ราข้นั สูงเรอ่ื งละ50,000 บาท

4.2 ค่าใชจ้ า่ ยอื่นในการดาเนินคดี ใหจ้ า่ ยเท่าที่จา่ ยจรงิ
แตไ่ มเ่ กิน 30,000 บาทคา่ ทดแทนและค่าใชจ้ ่ายตามขอ้ 1 และขอ้ 2
ให้รวมถึงค่าใชจ้ า่ ยเกีย่ วกบั ค่าห้องและคา่ อาหารในอตั ราวัน
ละไมเ่ กนิ 600 บาท

ค ว า ม รู้
12 สา ห รั บ ป ร ะ ช า ช น

อตั ราการจา่ ยคา่ ทดแทน
และค่าใชจ้ ่ายแก่จาเลย

กรณีจำเลยถงึ แกค่ วำมตำยอนั เป็ นผลจำกกำรถกู
ดำเนนิ คดี

1. ค่าทดแทน จานวน 100,000 บาท
2. คา่ จัดการศพ จานวน 20,000 บาท
3. ค่า ขาดอุปการ ะเล้ีย งดู จ านวน ไม่เกิ น
30,000 บาท
4. ค่ าเสี ยหาย อ่ืนต ามท่ี คณะก รรม การ ฯ
เห็นสมควร แต่ไม่เกนิ 30,000 บาท

ค ว า ม รู้
สา ห รั บ ป ร ะ ช า ช น 13

เอกสารที่ใชย้ ่ืนประกอบคาขอ

กรณีผเู้ สียหำย
1. ส าเนา บั ตรป ระจา ตัวปร ะชาช น/บั ต ร

ประจาตวั เจา้ หนา้ ที่ของรัฐ (ของผเู้ สยี หายและ
ผมู้ สี ทิ ธยิ ืน่ )

2. สาเนาทะเบียนบ้าน (ของผูเ้ สียหายและผู้มี
สทิ ธยิ นื่ )

3. สาเนาทะเบียนสมรส
4. สาเนาสตู บิ ัตร
5. สาเนาใบเปลย่ี นช่อื /สกลุ
6. หนังสอื มอบอานาจ
7. ใบเสรจ็ ค่ารกั ษาพยาบาลและอ่ืน ๆ ถา้ มี
8. สาเนาใบรบั รองแพทย์
9. สาเนาบันทกึ รายงานการสอบสวนของสถานี
ตารวจ และสาเนารายงานประจาวันเกี่ยวกบั คดี
10. สาเนาใบมรณะบัตร

ค ว า ม รู้
14 สา ห รั บ ป ร ะ ช า ช น

เอกสารทีใ่ ชย้ ่ืน
ประกอบคาขอ

กรณีผเู้ สียหำย
11. สาเนาใบชนั สตู รแพทย์
12. หลักฐานการไดร้ ับชดใช้ค่าเสียหายจาก

หน่วยงานอื่น
13. ใบแต่งทนาย (ถา้ มี)
14. สัญญาจา้ งวา่ ความพร้อมสาเนาบัตรของ

ทนายความ
15. หนังสอื รบั รองรายได้
16. สาเนาบัตรประจ าตัวของผู้รับรองรายได้

(ผใู้ หญ่บา้ น กานนั หรอื บุคคลทีน่ า่ เช่ือถือ)
17. สาเนาทะเบียนบา้ นของผรู้ ับรองรายได้

ค ว า ม รู้
สา ห รั บ ป ร ะ ช า ช น 15

เอกสารที่ใชย้ ื่นประกอบคาขอ

กรณีจำเลย
1. ส าเนา บั ตรป ระจา ตัวปร ะชาช น/บั ต ร

ประจาตัวเจา้ หนา้ ท่ีของรัฐ (ของจาเลยและผมู้ สี ทิ ธิยน่ื )
2. สาเนาทะเบียนบา้ น (ของจาเลยและผูม้ ีสิทธิ

ยื่น)
3. สาเนาทะเบียนสมรส
4. สาเนาสตู ิบัตร
5. สาเนาใบเปลย่ี นชอื่ /สกลุ
6. หนงั สือมอบอานาจ
7. ใบเสรจ็ คา่ รกั ษาพยาบาลและอืน่ ๆ ถา้ มี
8. สาเนาใบรับรองแพทย์

ค ว า ม รู้
16 สา ห รั บ ป ร ะ ช า ช น

เอกสารทใี่ ชย้ ื่นประกอบคาขอ

กรณีจำเลย
9. คาพิพากษาอนั ถึงทสี่ ดุ ว่าขอ้ เท็จจริงฟังเป็ น

ยตุ วิ ่าจาเลยมิไดเ้ ป็ นผกู้ ระท าความผิด หรือการ
กระทาของจ าเลยไม่เป็ นความผิด หรือปรากฏหลักฐาน
ชดั เจนวา่ จ าเลยมิไดเ้ ป็ นผกู้ ระทาความผิด และมี
การถอนฟ้ องในระหว่างดาเนนิ คดี

10. หมายขังระหว่างไต่สวนมูลฟ้ องหรือ
พิจารณา และหมายปลอ่ ย

11. สาเนาใบมรณะบัตร
12. สาเนาใบชันสตู รแพทย์
13. ใบสาคญั แสดงวา่ ค าพิพากษาหรือค าสั่ง
ในคดีน้นั ไดถ้ งึ ที่สดุ
14. ใบแต่งทนายความ (ถา้ ม)ี
15. สัญญาจา้ งว่าความพร้อมสาเนาบัตรของ
ทนายความ

ค ว า ม รู้
สา ห รั บ ป ร ะ ช า ช น 17

ผมู้ อี านาจพิจารณาอนมุ ตั ิ
ค่าตอบแทน คา่ ทดแทน หรือค่าใชจ้ า่ ย

คือ คณ ะ ก รรม ก ำรพิ จำ รณ ำค่ ำ ต อบ แ ท น
ผเู้ สี ยหำยและค่ ำทดแทนและค่ ำใชจ้ ่ำยแก่จำเลย
ประกอบดว้ ย

1.ปลดั กระทรวงยตุ ิธรรม เป็ นประธานกรรมการ
2.ผแู้ ทนสานักงานตารวจแห่งชาติ
3.ผแู้ ทนสานกั งานศาลยตุ ิธรรม
4.ผแู้ ทนสานักงานอัยการสงู สดุ
5.ผแู้ ทนกระทรวงการคลงั
6.ผแู้ ทนกรมการปกครอง
7.ผแู้ ทนกรมคมุ ประพฤติ
8.ผแู้ ทนกรมพระธรรมนญู
9.ผแู้ ทนกรมราชทัณฑ์
10.ผแู้ ทนกรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน

ค ว า ม รู้
18 สา ห รั บ ป ร ะ ช า ช น

ผมู้ อี านาจพจิ ารณาอนมุ ตั ิ
ค่าตอบแทน ค่าทดแทน หรือค่าใชจ้ ่าย

11. ผแู้ ทนสภาทนายความ และ
12. ผู้ทร งคุณวุฒิ ซ่ึงค ณะ รัฐม นตรี แต่ งต้ัง โด ย
คาแนะนาของรฐั มนตรีอีกห้าคน เป็ นกรรมการ ในจานวนนี้
ตอ้ งเป็ นผทู้ รงคณุ วฒุ ิดา้ นการแพทย์ ด้านสังคมสงเคราะห์
และด้านการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนเป็ นท่ี
ประจักษอ์ ย่างนอ้ ยด้านละหน่ึงคน ให้ประธานกรรมการ
แต่งตง้ั ขา้ ราชการในสงั กัดกระทรวงยตุ ิธรรมเป็ นเลขานุการ
และอาจแต่งตง้ั ผชู้ ว่ ยเลขานกุ ารจานวนไม่เกินสองคนก็ได้
คณะกรรมการฯอาจกาหนดให้ไดร้ ับค่าตอบแทน ค่า
ทดแทนและคา่ ใชจ้ า่ ยเพียงใดหรือไม่ก็ได้ โดยค่าตอบแทนแก่
ผเู้ สียหายใหค้ านึงถึงพฤตกิ ารณ์และความรา้ ยแรงของการ
กระทาความผิดและสภาพความเสียหายที่ผูเ้ สียหายได้รับ
รวมถึงโอกาสท่ีผเู้ สยี หายจะไดร้ บั การบรรเทาความเสียหาย
โดยทางอื่นด้วย ส่วนค่าทดแทนและค่าใชจ้ ่ายให้คานึงถึง
พฤตกิ ารณแ์ ห่งคดี ความเดอื ดรอ้ นทีจ่ าเลยไดร้ ับและโอกาสท่ี
จาเลยจะไดร้ ับการชดเชยความเสียหายจากทางอืน่ ดว้ ย

ค ว า ม รู้
สา ห รั บ ป ร ะ ช า ช น 19

การอทุ ธรณ์

ผู้ยื่นคาข อที่ไม่เห็ นด้วยกับ คาวินิจฉั ยของคณ ะ
กรรมการฯมีสทิ ธอิ ทุ ธรณ์ตอ่ ศาลอทุ ธรณ์ ภายใน
30 วนั นับแตว่ นั ทไ่ี ดร้ บั แจง้ คาวินิจฉัยของคณะกรรมการ
โดยย่นื อทุ ธรณไ์ ดท้ ี่สานกั งานหรอื ศาลจงั หวัดหรือ
ศาลอทุ ธรณท์ ่ผี นู้ ้ันมีภมู ิลาเนาอย่ใู นเขตอานาจ คาวินิจฉัย
ของศาลอทุ ธรณ์เป็ นท่ีสดุ

บทลงโทษ

ผแู้ สดงขอ้ ความหรอื พยานหลกั ฐานหรือให้ถ้อยคาอัน
เป็ นเทจ็ ในการขอรับค่าตอบแทน คา่ ทดแทน
หรือคา่ ใชจ้ ่ายยอ่ มเป็ นความผิดตามพระราชบัญญัติน้ีซ่ึงมี
โทษจาคกุ หรือปรบั

ค ว า ม รู้
20 สา ห รั บ ป ร ะ ช า ช น

หมายเหตุ

o การได้มาซ่ึงสิทธิในค่าตอบแทน ค่าทดแทนและ
คา่ ใชจ้ า่ ยดงั กล่าวไม่ตัดสิทธิหรือประโยชนท์ ี่ผ้เู สียหาย
หรือจาเลยพึงไดต้ ามกฎหมายอ่ืน

o หากมีขอ้ สงสัยวา่ จะเป็ นผเู้ สียหาย หรือเป็ นจาเลยใน
คดอี าญา ทเ่ี ขา้ หลักเกณฑต์ ามพระราชบัญญัตนิ ้ีหรือไม่
ให้สอบถาม และขอคาปรึกษา ไดด้ ้วยตนเอง หรือมี
หนงั สือสอบถามไปทส่ี านกั งานช่วยเหลือทางการเงนิ แก่
ผเู้ สียหายและจาเลยในคดีอาญา อาคาร กระทรวง
ยตุ ธิ รรม ศนู ยร์ าชการเฉลิมพระเกยี รติ ถนนแจ้งวัฒนะ
เขตหลกั ส่ี กทม. 10210 โทรศัพท์ 02-141-2847
ถึง 2862

ค ว า ม รู้
สา ห รั บ ป ร ะ ช า ช น 21

อา้ งองิ

ปญั ญา จนั่ สกุล. ขอ้ คิดบางประการเกย่ี วกบั พระราชบญั ญัติ
คา่ ตอบแทนผูเ้ สียหาย และคา่ ทดแทนและคา่ ใชจ้ า่ ยแกจ่ าเลยในคดีอาญา
พ.ศ. 2544 (ออนไลน)์ . แหลง่ ทม่ี า https://so06.tci-
thaijo.org/index.php/lawtsu/article/view/241416/164982

หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการขอรับเงินคา่ ตอบแทน คา่ ทดแทน ตาม
พระราชบญั ญตั คิ า่ ตอบแทนผูเ้ สียหายและคา่ ทดแทน และคา่ ใชจ้ า่ ยแกจ่
าเลยในคดอี าญา พ.ศ. 2544 (ออนไลน)์ . แหลง่ ทมี่ า
https://www.phuketcity.go.th/files/com_news_order/2018-
06_78b01333bedc3a9.pdf

สำมำรถตดิ ตอ่ สอบถำม และขอคำปรึกษำ ไดด้ ว้ ยตนเอง
หรอื มีหนงั สอื สอบถำม

ทส่ี ำนกั งำนกฎหมำยไชยชนะ 82 หมท่ ู 7ี่ ถ.ประชำมสุ ลิม
ต.คลองแห อ.หำดใหญ่ จ.สงขลำ
90110 โทรศพั ท์ 086 9615305

ทศี่ นู ยน์ ิตศิ ำสตรช์ มุ ชน คณะนติ ศิ ำสตร์มหำวทิ ยำลยั
ทกั ษิณ 140 หมท่ ู ่ี 4 ตำบลเขำรปู ชำ้ ง อำเภอเมือง จงั หวดั สงขลำ
90000 e-mail: [email protected] โทรศพั ท์ 0-7431-7687


Click to View FlipBook Version