โครงงาน
“หอ้ งเรียนสะอาดดีเพราะมีความรบั ผดิ ชอบ”
ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐
-------------------------------------------
-----------------------------
โรงเรียนหนองแวงวทิ ยา
อาเภอวานรนวิ าส จังหวดั สกลนคร
สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๒๓
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
-------------------------------------------
-----------------------------
คานา
โครงงานเรือ่ ง “ห้องเรียนสะอาดดีเพราะมีความรับผดิ ชอบ” นีเ้ ปน็ ส่วนหนง่ึ ของการจดั กิจกรรม
ตามโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ กลุ่มของข้าพเจ้าจดั ทาขึน้ เพื่อนาเสนอวธิ ีการที่จะทาใหห้ ้องเรียนสะอาดน่นั
กค็ ือ การนาหลกั ธรรมคาสอนมาใชเ้ กีย่ วกบั อิทธบิ าท ๔ ความรับผิดชอบ ความขยนั หมนั่ เพียร โครงงานนีไ้ ด้
รวบรวมเนื้อหามาจากอนิ เทอร์เน็ต
คณะผูจ้ ดั ทาต้องขอขอบคุณครูที่ปรึกษาทุกท่านทีใ่ หค้ วามรู้เกี่ยวกบั การทาโครงงาน คณะผจู้ ดั ทา
หวังเปน็ อยา่ งยิง่ ว่าผ้ทู ีอ่ า่ นโครงงานนี้จะได้รบั ความรูจ้ ากโครงงาน และคงจะเป็นประโยชน์กับท่านผู้อ่าน
ทกุ ๆ ท่าน โครงงานเลม่ นี้อาจมีสงิ่ ใดผิดพลาดก็ขออภยั มา ณ โอกาสนี้
นกั เรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๔
ผู้จัดทา
สารบญั
บทที่ ๑ บทนา หนา้
บทที่ ๒ เอกสารทีเ่ กี่ยวขอ้ ง ๑
บทที่ ๓ วธิ ีการดาเนินงาน ๓
๙
บทที่ ๔ ผลการศกึ ษาค้นควา้ ๑๐
บทที่ ๕ สรปุ ผล ๑๑
ภาคผนวก ๑๒
๑๓
- รูปภาพ
บทที่ ๑
บทนา
๑. ทีม่ าและความสาคญั
จากการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๔ พบปัญหาอย่างหนง่ึ คือ นักเรียนไม่
ทาความสะอาดหอ้ งเรียน ซง่ึ เกิดจากหลายสาเหตุ เช่น นักเรียนมีความเห็นแกต่ วั มาโรงเรียนสาย ทาใหม้ าทา
ความสะอาดไม่ทัน และอีกหลายๆอยา่ ง เนือ่ งจากปญั หานี้ พวกเราจงึ ได้หาวิธีการแก้ไขปัญหา โดยการจดั ทา
โครงงาน เรือ่ ง หอ้ งเรียนสะอาดดีเพราะมีความรบั ผิดชอบ เพื่อกระตุน้ ใหน้ กั เรียนมีความรับผดิ ชอบและเหน็
ความสาคญั
๒. วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพือ่ ให้นกั เรียนมีความรบั ผิดชอบในหนา้ ที่ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย
๒. เพือ่ ใหน้ ักเรียนมีระเบียบวินัยและตรงต่อเวลา
๓. ขอบเขตของโครงงาน
๑. ระยะเวลาในการดาเนนิ งาน คือ ภาคเรียนที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐
๒. แหล่งคน้ คว้าข้อมลู คือ ครูผรู้ ู้ ปราชญ์ชาวบ้าน ห้องสมุด อนิ เทอรเ์ น็ต
๔. กลมุ่ เปา้ หมาย
นักเรียนระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๔ จานวน ๒๕ คน
๕. หลกั ธรรมทีน่ ามาใช้
อทิ ธบิ าท ๔ ได้แก่
ฉันทะ (ความพอใจ) คือ ความตอ้ งการที่จะทา ใฝใ่ จรักจะทาสิ่งน้ันอยู่เสมอ และปรารถนาจะทาให้
ได้ผลดียง่ิ ๆขน้ึ ไป
วิรยิ ะ (ความเพียร) คือ ขยันหม่นั ประกอบสิ่งน้ันดว้ ยความพยายาม เขม้ แขง็ อดทน เอาธุระ
ไม่ทอ้ ถอย
จิตตะ (ความคิด) คือ ตั้งจติ รับรใู้ นส่ิงที่ทา และทาสง่ิ นั้นดว้ ยความคิด เอาจติ ฝกั ใฝ่ ไมป่ ล่อยใจให้
ฟงุ้ ซา่ นเลื่อนลอยไป
วมิ งั สา (ความไตร่ตรอง หรือ ทดลอง) คือ หมั่นใช้ปัญญา พจิ ารณาใครค่ รวญ ตรวจหาเหตผุ ล และ
ตรวจสอบข้อยงิ่ หยอ่ นในสง่ิ ที่ทาน้ัน มีการวางแผน วดั ผล คิดคน้ วิธีแกไ้ ขปรบั ปรุง
พระราชดารสั
การทาความดีน้ันทายากและเห็นผลชา้ แตจ่ าเป็นตอ้ งทา เพราะหาไมแ่ ล้วความช่ัวซ่งึ ทางา่ ยจะเขา้ มา 2
แทนทีแ่ ละพอกพูนอยา่ งรวดเร็ว
ความเชือ่ มโยงสคู่ ณุ ธรรมอตั ลกั ษณ์
ความรบั ผิดชอบ
๖. พฤตกิ รรมเชงิ บวก
๑. นักเรียนทางานทีไ่ ด้รับมอบหมายให้สาเร็จลลุ ่วงไปไดด้ ้วยดี
๒. นกั เรียนรจู้ ักบทบาทหนา้ ทีข่ องตนเองและมีความรับผิดชอบในการทาเวรประจาวนั ของตนเอง
มากขึ้น
๗. ประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะไดร้ บั
๑. นักเรียนรู้จักคาว่าเสียสละ เอือ้ เฟ้ือเผื่อแผ่
๒. นักเรียนเป็นผูท้ ี่มีความรับผดิ ชอบมากในตนเองมากขนึ้
๓. นกั เรียนร้จู ักความสามัคคี เห็นคุณคา่ ของการทางานร่วมกัน
๔. นักเรียนทกุ คนสามารถมองเห็นคุณคา่ ในตนเอง
บทที่ ๒
เอกสารทีเ่ กีย่ วขอ้ ง
อิทธบิ าท 4" เปน็ แนวทางการเรียน การทางาน ใหป้ ระสบความสาเรจ็
อทิ ธบิ าท 4" เป็นแนวทางการเรียน การทางาน ให้ประสบความสาเร็จที่พระพุทธองคไ์ ด้ทรงสดับไว้
อยา่ งแยบคลาย อันประกอบด้วยแนวปฏบิ ัติ 4 ขอ้ คือ ฉันทะ วิรยิ ะ จิตตะ วิมังสา ซงึ่ ใครๆกท็ ่องได้ จาได้
แต่จะมีสักกีค่ นที่ปฏิบัติไดค้ รบกระบวนความทัง้ 4 ข้อ อันเปน็ 4 ขัน้ ตอนที่ตอ่ เนื่องหนนุ เสรมิ กัน จะขาดขอ้ ใด
ขอ้ หนึง่ ไม่ได้ ดว้ ยวา่ มนั เป็นกระบวนการที่เชือ่ มโยงกันทง้ั 4 ข้อ จึงจะทาให้เราประสบผลสาเรจ็ ในชีวิตและการ
งานไดต้ ามความมงุ่ หวัง ขออธิบายดังต่อไปนี้
1) ฉนั ทะ คือ การมีใจรกั ในส่ิงทีท่ า ใจที่รกั อันเกิดจากความศรัทธาและเชื่อมนั่ ต่อสิง่ ทีท่ า จึงจะเกิดผล
จรงิ ตามควร เราคงเคยได้ยินคาว่า "ขอฉนั ทามตจิ ากประชมุ " บอ่ ยๆ หรือ "มีฉนั ทะรว่ มกัน" กอ่ นเลิกการประชมุ
บางอนั เป็นเสมือนสัญญาระหว่างกันวา่ เราจะทาสิ่งนัน้ ส่ิงนีร้ ว่ มกันหรือละเว้นบางสิ่งร่วมกัน ซงึ่ ความเขา้ ใจในขอ้
นี้คดิ ว่าถูกเพียงครงึ่ เดียว เพราะความหมายของ "ฉนั ทะ" นัน้ ไม่ใชแ่ ปลวา่ เป็นสัญญาภาษากระดาษหรือสญั ญา
ที่ใหไ้ ว้กบั มวลหมู่สมาชกิ เท่านั้น หากแตเ่ ป็นสัญญาใจและเป็นใจที่ผกู พนั เปน็ ใจทีศ่ รัทธาและเชื่อม่นั ต่อสง่ิ นั้นอยู่
เต็มเปย่ี ม จงึ จะเกิดความเพียรตามมา เปรียบได้กับนกั วจิ ยั ทีศ่ รัทธาและเชือ่ ม่นั ในแนวคิดแนวปฏิบัตขิ องงานวิจยั
เพือ่ ท้องถิน่ ซง่ึ อาจมีมากนอ้ ยต่างกัน คงไมม่ ีใครบอกได้นอกจากตวั นักวิจัยเองและผลของงานที่เกดิ ข้ึนจริงเปน็ ที่
ประจักษ์ตอ่ สาธารณะชน
หลายคนคงเคยได้ยนิ ประโยคที่ว่า Where there is the will, there is the way. ทีใ่ ด
มีความปรารถนาอนั แรงกลา้ ที่น่ันยอ่ มมีหนทางเสมอ ขอเพียงแต่ให้มีความต้งั ใจแน่วแน่ ทีจ่ ะประสบ
ความสาเร็จในเรือ่ งน้นั ๆใหไ้ ด้ ด้วยความมุ่งม่นั ไมท่ ้อถอย ย่อมมีหนทางนาเราไปสคู่ วามสาเรจ็ ได้เสมอการ
มีใจรัก ถือวา่ สาคัญมาก ไมใ่ ชท่ าใจให้รักเพื่ออะไรสักอยา่ ง หรือ ห้ามใจไม่ให้รัก มนั กย็ ากย่งิ พอๆกัน เพราะ
รักดังกล่าวไม่ได้เกิดจากความรกั ความศรัทธาของเราจรงิ ๆ ขืนทาไปกม็ ีแต่จะทกุ ขท์ รมานแม้จะไดบ้ างส่งิ ที่มงุ่ หวงั
แล้วกต็ าม ประการสาคัญเป็นการแอบแฝงมาจากความคิดอืน่ ศรัทธาอื่นหรือความเปน็ อื่นที่เราพยายามหาเหตุและ
ผลมาอธบิ ายว่า มนั คือสิ่งเดียวกันเพื่อใหส้ ามารถดาเนินไปได้หรือเพือ่ ให้ตัวเองสบายใจทีส่ ดุ แต่ถ้าเรามีใจ
ศรทั ธาอันแรงกลา้ แล้ว พลังสรา้ งสรรคก์ จ็ ะบังเกดิ ข้นึ กับเราอยา่ งมหศั จรรยท์ ีเดียว
ทีนี้มาพูดถงึ วา่ "เราจะสรา้ งฉนั ทะใหเ้ กิดขึน้ ไดอ้ ย่างไร" พระพทุ ธองค์เคยสอนไว้วา่ มนุษยเ์ ราต้อง
เลือกที่จะศรทั ธาบางอย่างและหมั่นตรวจสอบศรัทธาของตัวเองวา่ ดีตอ่ ตวั เองและดีต่อผู้อื่นอนั รวมถึงสงั คมโดยรวม
หรือไม่ เมือ่ ดีทั้งสองอยา่ งกจ็ งมงุ่ มั่นทีจ่ ะทาดว้ ยความตงั้ ใจ และหากไม่ดีก็จงเปลี่ยนแปลงศรัทธาเสียใหม่ ซึ่งเรา
ตอ้ งเลือก ไม่เช่นนั้นเราจะกลายเปน็ คนที่สับสนไม่มีแกน่ สารและเป็นคนไรร้ ากในที่สดุ เมื่อเป็นคนไม่มีแกน่ สารก4็
จะถกู ชกั ชวนไปในทางที่ไมด่ ีไดง้ ่ายน่ันเอง
หากจะฝกึ ฝนตนเอง อาจเริ่มจากการตง้ั คาถามกับตวั เองวา่ เราศรัทธาอะไรอยู่ เพราะคนเราเมื่อศรทั ธา
อะไรกจ็ ะได้พบกบั ส่ิงน้ันเข้าถึงสงิ่ นนั้ ศรทั ธาในเทคโนโลยีเรากจ็ ะเข้าถงึ เทคโนโลยี ศรทั ธาต่อชาวบา้ นเราก็จะ
เขา้ ถึงชาวบา้ น ศรัทธาตอ่ วัตถุก็จะเขา้ ถึงวตั ถุ ศรทั ธาต่อลาภยศสรรเสริญก็จะเขา้ ถึงลาภถงึ ยศเขา้ ถงึ ตาแหนง่
ศรัทธาต่อความรู้กจ็ ะเข้าถึงความรู้ หรือศรทั ธาต่อหลกั ธรรมกจ็ ะเขา้ ถงึ ธรรม หรือไม่ศรัทธาอะไรเลยกไ็ มเ่ ขา้ ถงึ ก็
ไม่เขา้ ถงึ อะไรเลย เพราะความศรัทธานามาซง่ึ มงุ่ มั่นทุ่มเทเพื่อทาทุกอยา่ งให้ไดม้ าซ่งึ ส่ิงที่เราศรัทธานนั่ เอง
ขณะเดียวกนั ก็ลองตรวจสอบตัวเองดวู า่ สิง่ ทีเ่ ราศรทั ธากับสง่ิ ที่องค์กรของเราศรัทธานัน้ ตรงกนั หรือไม่ หาก
ตรงกนั ก็เรียนรูท้ ีจ่ ะเปลี่ยนแปลงตนหรือหากไม่ตรงกนั กเ็ รียนรู้ทีจ่ ะใหโ้ อกาสตัวเองไปส่แู หง่ ทีท่ ีเ่ หมาะสมกว่า
2) วริ ยิ ะ คือ ความมุ่งมัน่ ทมุ่ เท เป็นความมุ่งมัน่ ทุม่ เททงั้ กายและใจ ที่จะเรียนรู้และทาให้เข้าถึงแก่น
แท้ของสิ่งน้ันเรื่องนั้น ถา้ หากกระทาก็จะทาจนเชี่ยวชาญจนเปน็ ผู้รู้ ถา้ หากศึกษาก็จะศกึ ษาใหร้ จู้ นถงึ รากเหงา้
ของเรือ่ งราวน้ันๆ ดังนัน้ คาวา่ "วริ ิยะ" จงึ หมายถึงความเพียรพยายามอย่างสงู ที่จะทาตามฉันฑะหรือศรัทธา
ของตัวเอง หากเราไม่มีความเพียรแล้วก็อนุมานได้ว่าเรามีฉันทะหลอกๆ หรือศรทั ธาหลอกๆ ท้งั โกหกตัวเองและ
หลอกผ้อู ืน่ เพือ่ อะไรนน้ั ผลงานที่เขาทาจะชีช้ ัดออกมาเองว่าทาเพื่ออะไร ดังนน้ั นกั วิจัยท้องถนิ่ จึงต้องมีใจที่
รักตอ่ คนท้องถน่ิ และรกั ตอ่ การทางานวจิ ัยเพือ่ แก้ปญั หาคนท้องถนิ่ อนั เป็นศรทั ธาสูงสุด หากไม่เปน็ เช่นนั้น กไ็ ด้
แตเ่ พียงศรทั ธาปากเปลา่ ทีไ่ ร้แมเ้ งาของความมุ่งมัน่ และท่มุ เท หากแตม่ ีศรัทธาอื่นใหค้ รุน่ คดิ และกระทาอยู่
วริ ยิ ะนี้มาค่กู ับความอดทนอดกล้นั เปน็ ความรู้สกึ ไม่ยอ่ ท้อต่อปญั หาและมีความหวงั ทีจ่ ะเอาชนะอปุ สรรค
ทงั้ ปวง โดยมีศรัทธาเป็นเครื่องยดึ เหนีย่ วจติ ใจ นาใจ และเตือนใจ ความอดทนเปน็ เครื่องมือสาหรบั คนใจเยน็
และใจงามดว้ ย ไมใ่ ช่มทุ ะลุดดุ ันรบเรา้ และรมุ่ รอ้ น เพราะมันจะทาใหม้ ีโอกาสผิดพลาดไดง้ ่าย หรือสญู เสียความ
อดทนในที่สุด ดงั นั้น ความวริ ิยะอุสาหะ จึงเปน็ วิถีทางของบคุ คลทีห่ าญกล้าและทายท้าตอ่ อปุ สรรคใดๆท้ังมวล
ถามว่า "ความวิรยิ ะมันเกดิ จากอะไร" คาตอบก็คือ "เกดิ จากศรทั ธาหรือฉันทะนน่ั เอง" และเปน็ ศรัทธาที่
มน่ั คงดว้ ยไมว่ ่าจะมีอปุ สรรคใ์ ดๆมากระทบกต็ ามก็จะไม่เปลีย่ นแปลง แตอ่ าจปลอ่ ยวางหรือวางเฉยในบางเวลา
บางสถานการณ์บา้ ง เพือ่ รอสภาวะที่เหมาะสมกวา่ ความวิริยะไมใ่ ชค่ วามดดุ ันอย่างเอาเปน็ เอาตายหรือตอ้ งให้
ไดเ้ สมอ แตม่ นั คือความแยบยลและเลือกทีจ่ ะทาบางอย่างเพื่อรักษาศรัทธาไว้หรือเพือ่ รอวาระทีเ่ หมาะสมอัน
หมายถงึ การบรรลุผลแห่งศรทั ธา
ถ้าจะฝกึ ฝนเรื่องความวิริยะแล้วคงตอ้ งเรมิ่ จากความคดิ ที่วา่ ต้องหมัน่ ฝึกฝนตนเองบ่อยๆ หมัน่ ทาหมน่ั
คดิ หมั่นเขียนหมนั่ นาเสนอและอย่าขีเ้ กียจ อย่ากลัวความผิดพลาดและจงกลา้ แสดงออกซึ่งความรบั ผดิ ชอบตอ่ ความ
ล้มเหลวของตวั เอง อยา่ ท้อต่องานหนกั และงานมากใหค้ ดิ ว่าทามากรมู้ ากเก่งมากขึ้น อยา่ บน่ ว่าไม่มีเวลาเพราะ
เวลามีเท่าเดมิ ฯลฯ
3) จติ ตะ คือ ใจที่จดจอ่ และรับผิดชอบ เมือ่ มีใจที่จดจอ่ แล้วก็จะเกิดความรอบคอบตาม คานี้ยิ่งใหญ่มาก
ปจั จุบัน สังคมซบั ซอ้ น มีส่งิ ใหม่ๆ เกิดขึ้นมากมาย แตล่ ะคนมีภาระหน้าที่ ทีต่ อ้ งทามากมาย ไมร่ ู้จะทาอะไรกอ่ น
เวลาอา่ นหนังสือก็คิดถงึ งานที่รบั ผิดชอบ เวลาอา่ นทางานก็คิดวา่ ต้องอ่านหนังสือเพื่อเตรียมตวั สอบ ไม่สามารถ
มีจิตจดจอ่ อย่กู บั สิง่ ใดสง่ิ หน่ึงได้นาน ผลคือ ทาอะไรกไ็ มด่ ีสักอยา่ งทาผดิ ๆถูกๆอยอู่ ย่างนนั้
แต่ถ้าเรามีใจทีจ่ ดจ่อต่อสิง่ ทีเ่ ราคิดเราทาและรบั ผดิ ชอบแลว้ ไมว่ ่าจะเป็นการเรียนหรือการงานก็ตาม
ทุกอย่างกจ็ ะดีขน้ึ ไปเอง เราก็จะมีความรอบรมู้ ากข้ึนเรื่อยๆดว้ ยใจที่จดจอ่ ตง้ั ม่นั และใฝ่เรียนรู้ของเรา เมือ่ มีความ
รอบรู้มากขนึ้ กจ็ ะเกิดความรอบคอบตามมา เมื่อมีความรอบคอบแลว้ การตดั สินใจทาอะไรก็จะเกิดความผดิ พลาด 5
นอ้ ยตามไปด้วย
ความรอบคอบจะเกดิ ขึน้ ไม่ได้เลยหากไม่รอบรู้ ดังนน้ั การที่คนจะรอบรู้ไดน้ ้นั ต้องหมนั่ ศึกษาเรียนรู้อยู่
เปน็ เนือ่ งนจิ ตดิ ตามข่าวสารบา้ นเมืองสมา่ เสมอ ตอ้ งอา่ นหนังสืออย่าให้ขาดและหลากหลายโดยไมย่ ึดตดิ กับเรื่อง
ใดเรือ่ งหน่ึง ประการสาคัญตอ้ งฝกึ ตั้งคาถามกบั ตัวเองกบั เรือ่ งราวตา่ งๆที่เกิดข้นึ รอบตวั เราพรอ้ มกบั ค้นหา
คาตอบให้ได้ การฝึกสนทนากับผ้รู ้บู ่อยๆกเ็ ป็นส่ิงจาเป็น ซง่ึ เมื่อเราทาไดอ้ ย่างนี้แล้ว เรากจ็ ะเป็นผ้ทู ี่เข้าใกล้ความ
รอบรไู้ ปโดยปริยาย
เมื่อเราเขา้ ใกล้ความรอบรู้แล้ว ก็ไมใ่ ชเ่ รื่องยากทีจ่ ะวิเคราะห์สังเคราะห์เนื้อแท้ของเรือ่ งราวนั้นๆ ออกมา
สูก่ ารตดั สินใจของหม่คู ณะหรือแมแ้ ต่เรื่องส่วนตวั ของเราเอง ดังนัน้ ความรอบคอบจงึ แฝงไปด้วยความรอบรตู้ าม
สภาพจริงของมัน อนั เป็นแนวปฏิบตั ทิ ี่คนรุ่นใหม่ตอ้ งสร้างใหเ้ กิดเปน็ นิสัยแก่ตนเอง
ความรอบคอบนอกจากจะดารงอยู่คกู่ บั ความรอบรู้แลว้ ยงั ตอ้ งอาศัยความดีงามเป็นเครือ่ งเตือนสติด้วย
ถงึ จะสามารถใชจ้ ิตของเราพนิ จิ พจิ ารณาและตรึกตรองในเนื้อแทข้ องส่งิ ตา่ งๆนั้นได้อย่างเหมาะสม เพราะความดี
งามตามแบบอย่างของคณุ ธรรมตามหลักศาสนาและจรยิ ธรรมของสังคมนน้ั เปน็ สงิ่ เดียวทีจ่ ะทาใหม้ นุษย์อยู่
ร่วมกันอยา่ งปรกตสิ ขุ
4) วิมงั สา คือ การทบทวนในสง่ิ ที่ไดค้ ดิ ไดท้ ามา อันเกดิ จาก การมีใจรัก (ฉันทะ) แล้วทาด้วยความ
มงุ่ มั่น (วิริยะ) อย่างใจจดใจจ่อและรบั ผิดชอบ (จิตตะ) โดยใช้วจิ ารณญาณอยา่ งรอบรแู้ ละรอบคอบ จงึ นาไปสู่
การทบทวนตวั เอง และทบทวนองค์กรหรือทบทวนขบวนการ ทบทวนในส่ิงที่ได้คิดสิง่ ได้ทาผ่านมาว่าเกิดผลดี
ผลเสียอยา่ งไร ท้งั ทีเ่ ป็นเรื่องสว่ นตัวของเราเองและเป็นเรือ่ งทีร่ ว่ มคดิ ร่วมทากับคนอื่น เพื่อปรบั ปรุงปรบั แก้ไขให้
ดียิ่งข้นึ
การทบทวนเรือ่ งราวจากภายในของตวั เองเป็นสิง่ สาคญั มากในยคุ ปจั จบุ ันที่ผู้คนเร่มิ สบั สนวนุ่ วายอย่าง
เขม้ ข้น ทบทวนความคิดเพือ่ ตรวจสอบความคดิ และการกระทาของเราว่าเราคดิ หรือทาจากความคดิ อะไร? พรอ้ ม
กบั ถามตวั เองว่าเราคดิ อย่างนน้ั เพื่ออะไร? เราทาส่งิ นี้เพือ่ อะไร? เพื่อความสขุ ของตัวเองหรือเพื่อความสงบสุข
ของสังคม? ฯลฯ ซ่ึงจะทาให้เรารวู้ า่ เราควรจะอยู่ ณ จดุ ไหนของสังคมหรือเปลีย่ นแปลงตนอย่างไรไปสู่การ
สรา้ งสรรค์ตนเองและสงั คมที่งดงาม
ดังนั้น "อิทธบิ าท 4" จงึ มีความหมายกับคนร่นุ ใหม่ที่ตอ้ งการจะเดนิ ทางไปในสูค่ วามสาเร็จในชีวิตและ
การงาน เพราะหากทาไดต้ ามกระบวนความแลว้ สังคมความรู้ ชุมชนความรู้ และปจั เจกชนความรู้ คงอยไู่ ม่ไกล
เกินฝัน ประการสาคญั "อิทธิบาท 4" ไมไ่ ดเ้ กดิ ขึน้ อย่างโดดเดี่ยวจากหลักธรรมข้ออืน่ ๆอนั เป็นองค์รวมและ
เชือ่ มโยงถงึ กนั เพียงแตอ่ ธบิ ายคนละบทบาทเทา่ นนั้ สง่ิ สาคญั เราได้ใคร่ครวญในเรือ่ งเหล่านี้มากนอ้ ยเพียงใด
เพราะ ในโลกปจั จบุ ัน โลกทีส่ ั่งสม อวชิ ชามามากจนเกนิ ล้น จงึ กลายเป็นโลกที่ฉาบฉวยและวุน่ วายสูงสดุ น่นั
แปลว่าเราต้องฝึกฝนตนเองหลายเท่าตัวเพื่อจะเข้าใจและเขา้ ถึงหลกั ธรรมที่ก่อกาเกดิ การพฒั นาที่จดุ เร่ิมตน้ ของ
ตนเองอย่างแทจ้ รงิ
ภาระหนา้ ทีแ่ ละความรบั ผดิ ชอบของบคุ คล
การกระทาหรือการแสดงพฤติกรรมของบคุ คลที่เปน็ ไปตามความคาดหวังตามตาแหนง่ ในอาชีพหรือ
ตาแหนง่ ที่สังคมกาหนดขึ้น ซึง่ โครงสรา้ งของบทบาทประกอบด้วย ลกั ษณะที่เฉพาะของแต่ละบุคคล การแสดง
พฤติกรรมและตาแหน่งทีค่ รองอยู่ หรือพฤตกิ รรมที่คนในสังคมต้องทาตามสถานภาพในกลุ่มหรือสงั คม
โดย บทบาท (Role) สามารถแยกได้ 4 ประเภทหลักดังนี้
1. บทบาทที่คาดหวัง (Role expectation) ทกุ สังคมจะมีบทบาทใหท้ กุ คนปฏิบัติตามแตล่ ะ
สถานภาพ หรือเรียกว่า
2. บทบาทที่กระทาจรงิ (Role performance) ในชีวิตจรงิ ทกุ คนอาจไม่ไดป้ ฏบิ ตั ิตามบทบาทที่ 6
สงั คมกาหนดไว้ เพราะตอ้ งปรับตวั ใหส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณ์
3. บทบาททีข่ ัดแยง้ (Role conflict) การอยู่ในสงั คมทุกคนจะมีบทบาทที่ต้องกระทาแตกตา่ งกัน
หลายบทบาท การแสดงบทบาทหลายบทบาทในเวลาเดียวกัน
4. บทบาททีถ่ ูกบงั คบั (Role strain) หากในการกระทาตามบทบาทน้ันเกดิ ความไม่เต็มใจทีจ่ ะทา
ตามบทบาททีก่ าหนดไว้
การทีบ่ คุ คลมีบทบาทตอ่ สังคม และปฏิบตั ติ ามหนา้ ทีท่ ี่สงั คมยอมรบั มีความสาคัญเปน็ อนั มาก เพราะทา
ใหก้ ารจดั ระเบียบสังคมดีข้ึน เปน็ การควบคุมสังคมให้เปน็ ระเบียบ ถา้ คนไม่ปฏิบตั ิตามหน้าที่ ตามบทบาทของตน
ในสังคมใหส้ มกับสถานภาพที่ได้รบั ก็จะทาให้สงั คมเสียระเบียบ ทาใหเ้ กดิ ปญั หาและความย่งุ ยากใหแ้ ก่สงั คม
แนวคิดเกีย่ วกับบทบาทซง่ึ สรุปได้ว่า บทบาทจะต้องประกอบดว้ ยลักษณะ 4 ประการ ดงั ต่อไปนี้
1.1 รู้สภาพของตนในสังคม
1.2 คานงึ ถงึ พฤติกรรมทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั ผอู้ ื่น
1.3 คานึงถงึ พฤติกรรมทีเ่ กีย่ วกบั ผอู้ ืน่ และ
1.4 ประเมินผลการแสดงบทบาทของตนเอง
หนา้ ที่ (DUTY) หมายถงึ ภาระรับผิดชอบของบุคคลที่จะตอ้ งปฏิบตั ิ เช่น หน้าที่ของบิดาที่มีต่อบตุ ร
เปน็ ตน้ ความสอดคลอ้ งของสถานภาพและบทบาทของบุคคลทีม่ าของหนา้ ที่
1. ผลจากการทีค่ ณุ เป็นมนุษย์
2. ผลจากการที่เปน็ ส่วนหนง่ึ ของชีวิตคนอืน่
3. เป็นหลักในการในความประพฤติหนึง่ ของบุคคล
4. เป็นสิ่งคาดหวงั ของตนในการทาหนา้ ที่ตามคณุ ธรรม
ความรบั ผดิ ชอบ RESPONSIBILITY หมายถงึ ลักษณะของบคุ คลที่แสดงออกถึงความเอาใจใส่
จดจ่อตง้ั ใจ ม่งุ มนั่ ต่อหนา้ ทีก่ ารงาน การศกึ ษาเลา่ เรียน และการเปน็ อยู่ของตนเอง และ ผ้อู ยู่ในความดูแล
ตลอดจนสงั คม อยา่ งเต็มความสามารถ เพือ่ ให้บรรลผุ ลสาเร็จตามความมุง่ หมายในเวลาที่กาหนด ยอมรบั ผล
การกระทาทงั้ ผลดีและผลเสียทีเ่ กิดข้ึน รวมท้ังปรบั ปรงุ การปฏบิ ัตงิ านใหด้ ีขน้ึ เป็นความผูกพันในการทีจ่ ะปฏิบัติ
หนา้ ที่ใหส้ าเรจ็ ลุล่วงไปได้ และความสาเร็จนีเ้ กี่ยวขอ้ งกบั ปัจจัย 3 ประการ คือ พันธะผกู พัน หนา้ ที่การงาน
และวัตถุประสงคแ์ บ่งประเภทความรบั ผดิ ชอบไว้ดังนี้
1. ความรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเอง หมายถงึ การรับรู้ฐานนะและบทบาทของตนทีเ่ ปน็ ส่วนหนง่ึ ของสังคม
จะตอ้ งดารงตนให้อยใู่ นฐานนะทีช่ ่วยเหลือตัวเองได้ รจู้ กั ว่าสิ่งใดถูก สงิ่ ใดผดิ ยอมรบั ผลการกระทาของตนเอง
ทงั้ ทีเ่ ป็นผลดีและผลเสีย เพราะฉะน้นั บคุ คลที่มีความรบั ผิดชอบในตนเองย่อมจะไตรต่ รองดูให้รอบคอบกอ่ นวา่ ส่งิ
ทีต่ นเองทาลงไปน้นั จะมีผลดีผลเสียหรือไมแ่ ละจะเลือกปฏิบตั ิแตส่ ่ิงทีจ่ ะก่อใหเ้ กิดผลดีเทา่ นน้ั
2. ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม หมายถึง ภาระหนา้ ที่ของบุคคลที่จะตอ้ งเกี่ยวขอ้ ง และมีสว่ นร่วมตอ่ สวัสดิ
ภาพของสังคมทีต่ นเองดารงอยู่ ซงึ่ เป็นเรือ่ งทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั หลายสิง่ หลายอย่าง ต้ังแต่สงั คมขนาดเลก็ ๆ จนถึง
สังคมขนาดใหญ่ การกระทาของบุคคลใดบุคคลหนึ่งยอ่ มมีผลกระทบตอ่ สงั คมไมม่ ากก็น้อย บคุ คลทกุ คนจึงต้องมี
ภาระหน้าที่และความรบั ผดิ ชอบทีจ่ ะต้องปฏบิ ตั ิต่อสังคม ดงั ต่อไปนี้ 7
2.1 ความรบั ผดิ ชอบตอ่ หน้าที่พลเมือง ได้แก่ การปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบของสังคม การรกั ษา
ทรพั ยส์ ินของสังคม การชว่ ยเหลือผ้อู ืน่ และการให้ความร่วมมือกบั ผ้อู ืน่
2.2 ความรับผิดชอบต่อครอบครวั ไดแ้ ก่ การเคารพเชือ่ ฟงั ผปู้ กครอง การช่วยเหลืองานบ้านและการ
รักษาชื่อเสียงของครอบครวั
2.3 ความรบั ผดิ ชอบต่อโรงเรียน ได้แก่ ความตง้ั ใจเรียน การเชือ่ ฟงั ครู – อาจารย์ การปฏิบตั ติ าม
กฎของโรงเรียนและการรักษาสมบตั ขิ องโรงเรียน
2.4 ความรบั ผดิ ชอบตอ่ เพือ่ น ได้แก่ การชว่ ยตักเตือนแนะนาเมื่อเพื่อนกระทาผิด การช่วยเหลือเพือ่ น
อยา่ งเหมาะสม การให้อภัยเมื่อเพือ่ นทาผิดการไมท่ ะเลาะและ เอาเปรียบเพื่อน และการเคารพสทิ ธซิ งึ่ กนั และกัน
บทบาท หนา้ ที่ และความรบั ผดิ ชอบตามหลกั ศาสนา
ศาสนาพทุ ธ
ทิศ 6 : บคุ คลประเภทตา่ งๆ ที่เราต้องเกีย่ วขอ้ งสัมพันธ์ทางสงั คม ดุจทศิ ที่อยู่รอบตัว 1. ปุรตั ถิมทศิ (ทิศ
เบือ้ งหน้า คือ ทิศตะวนั ออก ได้แก่ มารดาบดิ า เพราะเป็นผู้มีอปุ การะแก่เรามากอ่ น
ก. บตุ รธดิ าพงึ บารุงมารดาบิดา ผู้เป็นทศิ เบื้องหน้า ดังนี้ 1) ทา่ นเลีย้ งเรามาแลว้ เลี้ยงทา่ นตอบ 2)
ช่วยทาการงานของท่าน 3) ดารงวงศส์ กุล 4) ประพฤตติ นให้เหมาะสมกบั ความเปน็ ทายาท 5) เมื่อทา่ น
ล่วงลบั ไปแล้ว ทาบญุ อทุ ศิ ให้ท่าน
ข. บดิ ามารดาย่อมอนเุ คราะห์บุตรธิดา ดังนี้ 1) หา้ มปรามจากความช่วั 2) ให้ต้ังอยูใ่ นความดี 3) ให้
ศึกษาศิลปวทิ ยา 4) หาค่คู รองที่สมควรให้ 5) มอบทรัพยส์ มบตั ใิ หใ้ นโอกาสอันสมควร2. ทกั ขิณทิศ (ทิศ
เบื้องขวา คือ ทศิ ใต้ ได้แก่ ครูอาจารย์ เพราะเปน็ ทักขิไณยบุคคล ควรแก่การบชู าคุณ
ก. ศษิ ยพ์ ึงบารุงครูอาจารย์ ผู้เปน็ ทศิ เบื้องขวา ดงั นี้ 1) ลุกตอ้ นรับ 2) เขา้ ไปหา (เพื่อบารงุ คอยรับ
ใช้ ปรึกษา และรบั คาแนะนา เป็นต้น) 3) ใฝ่ใจเรียน (คือ มีใจรัก เรียนด้วยศรัทธา และร้จู ักฟงั ให้เกดิ
ปญั ญา) 4) ปรนนบิ ตั ิ ช่วยบริการ 5) เรียนศิลปวทิ ยาโดยเคารพ (คือ เอาจรงิ เอาจงั ถือเป็นกจิ สาคญั )
ข. ครอู าจารยย์ อ่ มอนุเคราะหศ์ ิษย์ ดงั นี้ 1) ฝึกฝนแนะนาให้เปน็ คนดี 2) สอนใหเ้ ขา้ ใจแจ่มแจ้ง 3)
สอนศิลปวิทยาให้สิน้ เชงิ 4) ยกย่องใหป้ รากฏในหมคู่ ณะ 5) สร้างเครื่องคุ้มภัยในสารทิศ (สอนฝกึ ใหร้ ู้จัก
เลีย้ งตัวรักษาตนในอันทีจ่ ะดาเนินชีวิตต่อไปด้วยดี)3. ปัจฉิมทศิ (ทศิ เบื้องหลงั ทิศตะวันตก ไดแ้ ก่ บุตรภรรยา
เพราะตดิ ตามเป็นกาลงั สนบั สนนุ อยู่ขา้ งหลงั
ก. สามีบารุงภรรยา ผู้เปน็ ทิศเบือ้ งหลงั ดงั นี้ 1) ยกย่องใหเ้ กียรติสมกบั ฐานะที่เป็นภรรยา 2) ไมด่ ู
หม่นิ 3) ไม่นอกใจ 4) มอบความเปน็ ใหญ่ในงานบ้านให้ 5) หาเครือ่ งประดบั มาใหเ้ ป็นของขวญั ตามโอกาส
ข. ภรรยายอ่ มอนุเคราะหส์ ามี ดงั นี้ 1) จัดงานบ้านให้เรียบรอ้ ย 2) สงเคราะหญ์ าติมิตรทงั้ สองฝา่ ย
ด้วยดี 3) ไมน่ อกใจ 4) รักษาทรพั ย์สมบตั ิทีห่ ามาได้ 5) ขยันไมเ่ กียจครา้ นในงานท้งั ปวง4. อตุ ตรทศิ (ทิศ
เบื้องซา้ ย ทิศเหนือ ไดแ้ ก่ มิตรสหาย เพราะเป็นผู้ช่วยใหข้ ้ามพน้ อปุ สรรคภัยอนั ตราย และเป็นกาลังสนบั สนนุ
ให้บรรลุความสาเร็จ
ก. บคุ คลพึงบารงุ มติ รสหาย ผู้เปน็ ทศิ เบื้องซา้ ย ดังนี้ 1) เผื่อแผแ่ บ่งปนั 2) พดู จามีน้าใจ 3) 8
ชว่ ยเหลือเกือ้ กูลกนั 4) มีตนเสมอ ร่วมสขุ รว่ มทุกขก์ นั 5) ซื่อสตั ย์จริงใจตอ่ กัน
ข. มิตรสหายย่อมอนเุ คราะห์ตอบ ดงั นี้ 1) เมือ่ เพื่อนประมาท ช่วยรักษาป้องกนั 2) เมื่อเพื่อนประมาท
ช่วยรักษาทรพั ยส์ มบัติของเพื่อน 3) ในคราวมีภยั เป็นทีพ่ ่งึ ได้ 4) ไม่ละทง้ิ ในยามทกุ ขย์ าก 5) นับถือตลอด
ถงึ วงศ์ญาติของมิตร5. เหฏฐิมทศิ (ทิศเบื้องลา่ ง ได้แก่ คนรบั ใชแ้ ละคนงาน เพราะเปน็ ผู้ชว่ ยทาการงาน
ตา่ งๆ เป็นฐานกาลงั ให้
ก. นายพึงบารงุ คนรบั ใช้และคนงาน ผ้เู ป็นทศิ เบื้องล่าง ดงั นี้ 1) จัดการงานให้ทาตามความ
เหมาะสมกับกาลังความสามารถ 2) ใหค้ า่ จา้ งรางวัลสมควรแก่งานและความเปน็ อยู่ 3) จัดสวสั ดกิ ารดี มีชว่ ย
รักษาพยาบาลให้ยามเจบ็ ไข้ เปน็ ต้น 4) ไดข้ องแปลกๆ พิเศษมา ก็แบง่ ปนั ให้ 5) ใหม้ ีวันหยดุ และพกั ผอ่ น
หย่อนใจตามโอกาสอันควร
ข. คนรบั ใชแ้ ละคนงานยอ่ มอนเุ คราะห์นาย ดังนี้ 1) เรมิ่ ทาการงานก่อนนาย 2) เลกิ งานทีหลงั นาย
3) ถือเอาแตข่ องที่นายให้ 4) ทาการงานใหเ้ รียบรอ้ ยและดียง่ิ ขึ้น 5) นาเกียรติคณุ ของนายไปเผยแพร6่ . อุป
รมิ ทิศ (ทศิ เบื้องบน ไดแ้ ก่ สมณพราหมณ์ คือ พระสงฆ์ เพราะเป็นผ้สู งู ด้วยคุณธรรม และเปน็ ผูน้ าทางจติ ใจ
ก. คฤหัสถ์ยอ่ มบารุงพระสงฆ์ ผู้เปน็ ทิศเบือ้ งบน ดังนี้ 1) จะทาส่งิ ใด ก็ทาดว้ ยเมตตา 2) จะพดู ส่งิ ใด
ก็พูดด้วยเมตตา 3) จะคิดส่ิงใด ก็คิดด้วยเมตตา 4) ต้อนรบั ด้วยความเต็มใจ 5) อปุ ถมั ภ์ด้วยปัจจยั 4
ข. พระสงฆย์ ่อมอนุเคราะหค์ ฤหัสถ์ ดงั นี้ 1) ห้ามปรามจากความช่ัว 2) ใหต้ ้งั อยูใ่ นความดี 3)
อนเุ คราะห์ด้วยความปรารถนาดี 4) ใหไ้ ด้ฟังสิง่ ทีย่ ังไม่เคยฟงั 5) ทาสิ่งที่เคยฟงั แลว้ ให้แจ่มแจง้ 6) บอกทาง
สวรรค์ คือทางชีวติ ที่มีความสุขความเจริญเห็นวา่ บุคคลแต่ละคนย่อมจะมีความสมั พันธ์ตอ่ กันไม่โดยฐานะใดก็
ฐานะหน่งึ และความสัมพันธข์ ้ันมลู ฐานในสังคมทีค่ วรจะไดร้ ับการปรบั ปรุง
บทที่ ๓
วิธีการดาเนนิ งาน
๑. ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน
๑. นักเรียนระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๕ ร่วมประชุมปรึกษาหารือเกี่ยวกับการดาเนนิ งานภายใน
หอ้ งเรียน เช่น การแต่งต้ังหวั หน้าหอ้ ง การแตง่ ตง้ั เวรประจาวนั ฯลฯ
๒. เลือกหวั หนา้ เวรประจาวันและให้สมาชิกแต่ละคนเลือกเวรประจาวนั ตามความสมัครใจ
๓. จัดทาแนวปฏบิ ตั แิ ละขอ้ ตกลงในการปฏบิ ัติหนา้ ทีเ่ วรแต่ละวนั
๔. ทุกคนปฏิบัติหนา้ ทีต่ ามทีไ่ ด้รับมอบหมาย
๕. สงั เกตพฤตกิ รรมการปฏิบัติงาน
๖. สรปุ และประเมนิ ผล โดยใช้เครื่องมือประเมนิ คือ แบบบนั ทึกการตรวจเวรประจาวนั ของ
คณะกรรมการนักเรียน
๗. เสนอแนะ ปรับปรุง แกไ้ ข
๘. จดั ทารปู เลม่
๙. จดั ทาบอรด์ โครงงาน
๑๐. นาเสนอโครงงาน
๒. ตวั ชีว้ ดั
๑. นกั เรียนมีพฤติกรรมทีพ่ ึงประสงค์ รู้จกั ความรับผดิ ชอบและมีวินัยในตนเองมากข้นึ
๒. ผลการตรวจความสะอาดหอ้ งเรียนในแต่ละเดือนได้ผลลพั ธ์ในระดบั รอ้ ยละ ๙๕
๓. วธิ ีการวดั และประเมนิ ผล
๑. สงั เกตพฤติกรรม
๒. แบบบันทึกการตรวจเวรประจาวันของคณะกรรมการนักเรียน
๔. ชว่ งระยะเวลาการประเมนิ
วันที่ ๑ มถิ นุ ายน ๒๕๖๑ – ๓๑ สงิ หาคม ๒๕๖๑ ตงั้ แต่เวลา ๐๗.๕๐ น. – ๐๘.๑๐ น.
บทที่ ๔
ผลการศกึ ษาคน้ ควา้
จากการทาโครงงาน “ห้องเรียนสะอาดดีเพราะมีความรับผิดชอบ” ของนักเรียนระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีที่
๔ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ โรงเรียนหนองแวงวทิ ยาโดยเริ่มจากการประชมุ ปรึกษาหารือเกีย่ วกบั การดาเนินงาน
ภายในหอ้ งเรียน เชน่ การแต่งตั้งหวั หน้าห้อง การแตง่ ตง้ั เวรประจาวนั ฯล การเลือกหัวหน้าเวรประจาวนั และ
ให้สมาชิกแตล่ ะคนเลือกเวรประจาวันตามความสมัครใจ จดั ทาแนวปฏบิ ัติและขอ้ ตกลงในการปฏิบตั หิ น้าทีเ่ วรแต่
ละวัน ทุกคนปฏบิ ตั ิหน้าที่ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย และสังเกตพฤตกิ รรมการปฏิบัติงาน สามารถสรปุ ผลการ
ดาเนินงาน ดงั นี้
จากการศกึ ษาพบวา่
๑. นักเรียนที่เข้าร่วมกจิ กรรมโครงงาน “ห้องเรียนสะอาดดีเพราะมีความรบั ผดิ ชอบ” มีความรับผิดชอบ
และมีวินัยในตนเองมากข้นึ
๒. ผลการตรวจหอ้ งเรียน ร้อยละ ๙๕ มีความสะอาด เปน็ ระเบียบเรียบร้อยมากข้ึน
บทที่ ๕
สรปุ ผล
สรปุ ผลการดาเนนิ งาน
จากการดาเนินงานโครงงาน “ห้องเรียนสะอาดดีเพราะมีความรบั ผิดชอบ” ของนกั เรียนระดับชนั้
มัธยมศกึ ษาปีที่ ๔ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ เพือ่ แก้ปัญหานักเรียนเวรประจาวันไม่ทาความสะอาดห้องเรียน โดย
สรุปผลการดาเนินงาน ดังนี้
๑. นกั เรียนทีเ่ ขา้ ร่วมกจิ กรรมโครงงาน “หอ้ งเรียนสะอาดดีเพราะมีความรบั ผดิ ชอบ” มีความรับผดิ ชอบ
และมีวินยั ในตนเองมากข้นึ
๒. ผลการตรวจห้องเรียน รอ้ ยละ ๙๕ มีความสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อยมากขน้ึ
ขอ้ เสนอแนะ
๑. ควรขยายผลไปยงั นกั เรียนทุกคนในโรงเรียน
๒. ควรจัดทาโครงงานนีอ้ ย่างตอ่ เนือ่ งเพื่อใหน้ ักเรียนมีความรับผิดชอบและมีวนิ ัยในตนเองอย่างยงั่ ยืน
ของลกั ษณะนสิ ยั
๓. ควรมีการพฒั นาสือ่ คณุ ธรรมในรปู แบบต่าง ๆ เพื่อกระตนุ้ คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ได้ดียิง่ ข้ึน
ภาคผนวก
13
รปู ภาพ : การปฏบิ ตั หิ นา้ ทีเ่ วรประจาวนั
นกั เรียนเกบ็ กวาดทาความสะอาดหอ้ ง
นักเรียนเกบ็ กวาดทาความสะอาดหอ้ ง 14
รปู ภาพ : การปฏบิ ตั หิ นา้ ทีเ่ วรประจาวนั
กวาดหยากไยห่ นา้ ตา่ ง
ยกเกา้ อีข้ น้ึ บนโตะ๊