The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

2.2แผนแม่บทสารสนเทศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ชะนี น้อย, 2022-12-11 22:43:18

2.2แผนแม่บทสารสนเทศ

2.2แผนแม่บทสารสนเทศ

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
องคก์ ารบริหารส่วนตาบลสนามชัย

IT Master Plan

องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลสนามชัย
อาเภอเมอื งสพุ รรณบุรี จังหวัดสพุ รรณบุรี

แผนแม่บทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 1

ประกาศองค์การบริหารส่วนตาบลสนามชยั
เรื่อง การใชแ้ ผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ ประจาปี พ.ศ. 2564-2566

-----------------------------------
ตามท่ี องค์การบริหารสว่ นตาบลสนามชยั อาเภอเมอื งสพุ รรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี
ได้ดาเนินการจัดทาแผนแม่บทระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ประจาปี พ.ศ. 2564-2566 ตาม
ประกาศคณะกรรมการพนักงานส่วนตาบลจังหวัดสุพรรณบุรี เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และ
วิธีการกาหนดเงินประโยชน์ตอบแทนอื่นเป็นกรณีพิเศษอันมีลักษณะเป็นเงินรางวัลประจาปี สาหรับ
พนักงานส่วนตาบล ลกู จา้ ง และพนกั งานจ้างขององค์การบริหารสว่ นตาบล พ.ศ. 2558 ลงวันท่ี 26
มีนาคม 2558 ตามตัวชี้วัดมิติท่ี 4 ข้อ 2.2. กาหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดทาแผน
แมบ่ ทสารสนเทศ (IT Master Plan) ไปแล้วน้ัน
องค์การบริหารส่วนตาบลสนามชัย จึงประกาศใช้แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประจาปี พ.ศ. 2564-2566 ตง้ั แต่บัดนเ้ี ป็นต้นไป

จงึ ประกาศมาเพ่ือทราบโดยทวั่ กนั

ประกาศ ณ วันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2564

(นายปิยพฒั น์ เจรญิ สุข)
นายกองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลสนามชัย

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 2

คานา

ตามประกาศคณะกรรมการพนักงานส่วนตาบลจังหวัดสุพรรณบุรี เรื่อง หลักเกณฑ์
และเง่ือนไขเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลขององค์การบริหารส่วนตาบล ลงวันท่ี 24 ตุลาคม 2545
ส่วนท่ี 3 การพัฒนาพนักงานองค์การบริหารส่วนตาบล ข้อ 269 ให้องค์การบริหารส่วนตาบลจัดทา
แผนการพฒั นาพนกั งานสว่ นตาบล เพอ่ื เพ่ิมพูนความรู้ ทักษะ ทัศนคติท่ีดี คุณธรรมและจริยธรรม อัน
จะทาให้ปฏิบัติหน้าที่ราชการในตาแหน่งน้ันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบกับประกาศ
คณะกรรมการพนักงานส่วนตาบล เร่ืองกาหนดมาตรฐานทั่วไปเก่ียวกับหลักเกณฑ์ เง่ือนไข และ
วิธีการกาหนดเงินประโยชน์ตอบแทนอื่นเป็นกรณีพิเศษอันมีลักษณะเป็นเงินรางวัลประจาปีสาหรับ
พนักงานส่วนตาบล ลกู จา้ ง และพนกั งานจ้างขององค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.2558 ลงวันท่ี 21
เมษายน 2558 องค์การบริหารส่วนตาบลสนามชัย จึงได้จัดทาแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประจาปี พ.ศ.2564-2566 ขึ้นเพื่อใหส้ อดคล้องกับประกาศขา้ งต้น

องค์การบริหารส่วนตาบลสนามชัย ได้จัดทาแผนแม่บทระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขึ้น โดยมีเน้ือหาหลักการและ เหตุผล วัตถุประสงค์และเปูาหมายการพัฒนา หลักสูตรการพัฒนา
วิธีการพัฒนาและระยะเวลาดาเนินการพัฒนา งบประมาณในการดาเนินการพัฒนา และการติดตาม
ประเมินผลซึ่งต้องจัดทาให้สอดคล้องกับแผน อัตรากาลัง 3 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2566)
และหวงั เปน็ อย่างยิง่ วา่ แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ขององค์การบริหารส่วนตาบลสนามชัย
จะได้นาไปใช้ประโยชน์ใน การพัฒนาองค์กร และ บุคลากรให้มีความก้าวหน้าตลอดจน มีคุณภาพ
เป็นท่ีพึงพอใจของประชาชน สามารถสร้างผลงานที่ดี มีมาตรฐานให้แก่องค์การบริหารส่วนตาบล
สนามชัย ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพต่อไป

องค์การบริหารส่วนตาบลสนามชัย

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 3

สารบัญ หน้า
1-9
บทที่ 1 บทนา
บทที่ 2 การวิเคราะห์ SWOT 10
บทที่ 3 วสิ ัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ
บทท่ี 4 ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ 11-12
บทท่ี 5 การบริหารจดั การและติดตามประเมินผล
อ้างอิง 13-16
คณะผู้จัดทา
ภาคผนวก 17-22
ประกาศใช้แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 4

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ
(IT Master Plan)

องค์การบริหารส่วนตาบลสนามชัย อาเภอเมอื งสุพรรณบุรี จังหวดั สุพรรณบรุ ี
พ.ศ. 2564 - 2566

------------------------------------

บทท่ี 1 บทนา

1. ด้านกายภาพ

1.1 ท่ีต้ังและอาณาเขต

ตาบลสนามชัย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของที่ว่าการอาเภอเมือง

สุพรรณบุรี

จังหวัดสุพรรณบรุ ี เปน็ ระยะทางประมาณ ๕ กิโลเมตร โดยมีพิกัดท่ีต้ังตาบลท่ี ละติจูด ๑๔ องศา ๒๙

ลิปดา ๔ ฟิลิปดาเหนือ ลองจิจูด ๑๐๐ องศา ๗ ลิปดา ๒๕ ฟิลิปดาตะวันออก พ้ืนที่ของตาบลสนามชัย มี

ทั้งส้นิ ๑๕.๕๒๐๒ ตารางกโิ ลเมตร หรอื ประมาณ ๙,๗๐๐.๑๒๕ ไร่ โดยมีอาณาเขต ดงั นี้

ทศิ เหนอื ติดต่อกับตาบลโพธ์ิพระยา อาเภอเมือง จังหวัด

สพุ รรณบรุ ี

ทิศใต้ ตดิ ต่อกบั ตาบลไผ่ขวาง ตาบลทา่ ระหดั
และตาบลท่าพเี่ ลี้ยง อาเภอเมอื ง จังหวดั สพุ รรณบรุ ี

ทศิ ตะวนั ออก ติดต่อกบั ตาบลดอนมะสงั ข์
และตาบลดอนตาล อาเภอเมือง จงั หวดั สุพรรณบุรี

ทิศตะวันตก ตดิ ต่อกับพิหารแดง ซึ่งมีแม่น้าทา่ จีนก้นั อยู่
1.2 ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ

องค์การบริหารสว่ นตาบลสนามชยั อย่ใู นเขตชานเมืองกึง่ ชนบท ซง่ึ กาลัง
ขยายตวั และกระจายความเจริญ มที ัง้ ชมุ ชน และหมู่บา้ นจัดสรรเพ่ิมข้ึน เนื่องจากเปน็ ศูนย์กลาง
ราชการจังหวดั สพุ รรณบุรี และเปน็ แหล่งศูนย์กลางการขยายสินคา้ อุตสาหกรรม ซึง่ มีลกั ษณะพน้ื ท่ี
เป็นทรี่ าบลมุ่ สว่ นใหญเ่ กือบท้ังตาบล และมีพน้ื ท่ดี อนเปน็ บางส่วน ตัง้ อยูท่ างทิศตะวันออกของแม่
นา้ ทา่ จนี ด้วยพน้ื ท่สี ว่ นใหญเ่ ป็นทล่ี ุ่มน้าทว่ มถึง ทาใหใ้ นฤดูน้าหลาก พ้นื ท่ีติดแม่น้ามกั จะมนี า้ ทว่ มขงั
พืน้ ทเ่ี หมาะแก่การเพาะปลกู ทานา ทาไร่ ทาประมงน้าจดื และพาณชิ ยกรรม พ้นื ท่ีอย่อู าศยั ประมาณ
รอ้ ยละ 60 เปน็ พ้ืนทสี่ าหรับทาการเกษตร ร้อยละ 30 และมีพ้ืนทส่ี ่วนอ่นื ร้อยละ 10 มี 3 ฤดกู าล

แผนแม่บทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 5

1.3 ลักษณะภมู ิอากาศ
อากาศมีลกั ษณะร้อนช้ืน อากาศเปล่ียนแปลงไปตามฤดู ซงึ่ มี 3 ฤดู ดังนี้
ฤดูร้อน เริ่มต้ังแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ ถึงกลางเดือนพฤษภาคม อากาศ

ร้อนและแห้งแล้ง แต่บางครั้งเกิดพายุฝนฟูาคะนองและลมกรรโชกแรง ก่อให้เกิดความเสียหายแก่
ประชาชนทุกปี จะมีอุณหภูมิระหว่าง 35-39.9 องศาเซลเซียส ร้อนจัด มีอุณหภูมิ 40 องศา
เซลเซยี สข้นึ ไป

ฤดูฝน เริ่มต้ังแต่กลางเดือนพฤษภาคม ฝนตกมากในช่วงเดือนพฤษภาคม
ถึงเดือนตุลาคม แต่อาจเกิดฝนท้ิงช่วง ซึ่งอาจนานประมาณ 1-2 เดือน ในพื้นท่ีองค์การบริหารส่วน
ตาบลเคยเกดิ อทุ กภัยรนุ แรง มฝี นตกหนกั และน้าท่วม รวมทง้ั เคยเกดิ วาตภยั ในตาบลด้วย

ฤดูหนาว เร่ิมต้ังแต่กลางเดือนพฤศจิกายน ถงึ กลางเดือนกุมภาพันธ์ ในช่วง
กลางเดือนพฤศจิกายน จะนานราว 1-2 สัปดาห์ เป็นช่วงเปลี่ยนฤดูจากฤดูฝนเป็นฤดูหนาว อากาศ
แปรปรวนไม่แน่นอน อาจเริ่มมีอากาศเย็นหรืออาจยังมีฝนฟูาคะนอง กลางวันอาจร้อนบ้าง แต่ถ้า
อากาศหนาวอณุ หภูมติ า่ สุด ประมาณ 15 องศา

1.4 ลกั ษณะของดิน

ลักษณะดินโดยท่ัวไปเป็นดินร่วนปนทราย ประมาณร้อยละ 75 ดินลูกรัง
ประมาณร้อยละ 15 ดนิ เหนยี ว ประมาณร้อยละ 10

1.5 ลกั ษณะของแหล่งน้า
มีแหล่งน้าท่ีใช้สาหรับอุปโภคบริโภคและเพ่ือการเกษตร ทั้งท่ีเป็นแหล่งน้า

ธรรมชาตแิ ละมนุษย์สร้างขึ้น ดังน้ี
1. แหล่งน้าธรรมชาติ ได้แก่ แม่น้าท่าจีน ไหลผ่านพ้ืนท่ีหมู่บ้าน ต้ังแต่หมู่
๑ หมู่ 3 และหมู่ ๔
2. แหลง่ น้าท่ีสร้างขึ้น ได้แก่ คลอง จานวน 11 แห่ง และสระน้า จานวน
2 แห่ง ไดแ้ ก่
1. คลองท่าโขลง ไหลผา่ นพ้นื ทีห่ มู่ 5
2. คลองชลประทานบ้านกิโลแปด-ไผ่ขวาง ไหลผ่านพ้ืนท่ีหมู่บ้าน
ตง้ั แต่ หมู่๒ ถึงหม๕ู่
3. คลองยายสุ่ม ไหลผา่ นพ้ืนทห่ี มบู่ า้ น ตง้ั แตห่ มู่ ๒ ถงึ หม6ู่
4. คลองห้วยทราย ไหลผา่ นพนื้ ทหี่ มู่ 6
5. คลองหนองสาโรง ไหลผ่านพืน้ ที่หมู่ 2
6. คลองท่งุ นางหนู ไหลผา่ นพ้นื ท่หี มู่ 2

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 6

7. คลองดอนกลาง ไหลผา่ นพนื้ ท่หี มู่ 6
8. คลองวัว ไหลผ่านพื้นที่หมู่ 1 ถงึ หมู่ 3
9. คลองชอนตะวัน ไหลผา่ นพ้ืนท่หี มู่ 5
10. คลองท่าบาง ไหลผา่ นพื้นทห่ี มู่ 1
11. คลองระบายนา้ 1 อาร์ ไหลผ่านพน้ื ทห่ี มู่ 4
12. สระหลวงตาเจค๊
13. บอ่ สาธารณะดอนชะคราม

2. ดา้ นการเมอื ง/การปกครอง

องค์การบริหารส่วนตาบลสนามชัยมีเขตพื้นที่การปกครองทั้งหมด 6 หมู่บ้าน
ประชาชนมีสว่ นรว่ มในการจัดซ้อื จัดจา้ งขององค์การบริหารส่วนตาบล ประชาชนให้ความร่วมมือด้าน
การเลือกตั้งเป็นอย่างดี เช่น การเลือกตั้งสมาชิกสภาและนายกองค์การบริหารส่วนตาบล ในปี พ.ศ.
2555 ประชาชนมาใช้สิทธิเลือกต้ังนายกองค์การบริหารส่วนตาบล 5,291 จากผู้มีสิทธิเลือกต้ัง
ท้งั ส้ิน 7,948 คน คิดเปน็ ร้อยละ 66.57 จานวนผ้มู าใช้สทิ ธิเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วน
ตาบล 5,231 คน จากผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งสิ้น 7,927 คน คิดเป็นร้อยละ 65.99 ปัญหาการแข่งขัน
ทางการเมืองมีบ้างแต่ไม่สูง ถือเป็นปกติของการแข่งขัน การแก้ไขปัญหาขององค์การบริหารส่วน
ตาบลคือ ขอความร่วมมือ ผู้นา เจ้าหน้าที่ที่มีหน้าท่ีรับผิดชอบให้ระมัดระวัง สอดส่งพฤติกรรม และ
รายงานนายอาเภอทราบ การรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง เกี่ยวกับข้อกฎหมายของการ
เลือกตั้งท่ีกระทาได้และทาไม่ได้ให้ประชาชนได้รับทราบ ปัญหาต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้น องค์การบริหารส่วน
ตาบลก็ไดพ้ ยายามแกไ้ ข โดยเร่มิ จากการประชมุ ประชาคมท้องถ่นิ ทุกชุมชนในเขตองค์การบริหารส่วน
ตาบล ในการจัดทาแผนพัฒนาท้องถ่ินท่ีองค์การบริหารส่วนตาบลจัดข้ึน มีประชาชนสนใจเข้าร่วม
ประชุมทั้งแสดงความคิดเห็นที่หลากหลาย ส่งผลให้องค์การบริหารส่วนตาบลดาเนินงานตามความ
ต้องการของประชาชน ประชาชนได้รับและมีส่วนร่วมในการพัฒนาตาบลสนามชัย นอกจากน้ี
องค์การบริหารส่วนตาบลได้จัดโครงการอบรมศึกษา เผยแพร่โครงการต่าง ๆ ทาให้ คณะผู้บริหาร
สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบล พนักงานองค์การบริหารส่วนตาบล อสม. ผู้นาชุมชนและ
ประชาชนได้รับความรู้และประสบการณ์ สามารถนามาพัฒนาตาบลให้เจริญเท่าเทียมกับพื้นท่ีอ่ืน ๆ
และองค์การบริหารส่วนตาบลมีโครงการจัดซื้อเคร่ืองมือเครื่องใช้ในการปฏิบัติงานให้ทันสมัยและมี
ประสิทธิภาพ โครงการบางโครงการต้องระงับไว้เน่ืองจากข้อจากัดด้านงบประมาณ มีอัตรากาลัง
พนักงานจากัด ไม่เพียงพอต่อการตอบสนองความต้องการของประชาชนในด้านบริการ โดยองค์การ
บริหารส่วนตาบลสนามชยั แบ่งเขตการปกครอง ดังน้ี

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 7

2.1 เขตการปกครอง
ตาบลสนามชัย เป็นตาบล ๑ ใน ๒๐ ตาบล ของอาเภอเมืองสุพรรณบุรี เดิมอยู่ใน
เขตการปกครองรวมกับตาบลพิหารแดง ซึ่งเป็นตาบลท่ีใหญ่และมีแม่น้าท่าจีนไหลผ่านระหว่างตาบล
ต่อมาจึงได้แบ่งแยกพ้ืนที่ฟากตะวันออกของแม่น้าท่าจีนมาตั้งเป็นตาบลใหม่ เมื่อปี พ๒๕๑๙ศ.. ช่ือ
ตาบลนี้ตั้งตามสถานที่สาคัญในตาบล คือโบราณสถานวัดสนามชัย ซ่ึงเป็นสถานท่ีสาคัญทาง
ประวตั ิศาสตร์ สนั นิษฐานว่าภายในองค์พระเจดีย์เป็นที่บรรจุกระดูกของทหารที่เสียชีวิตจากการสู้รบ
เดิมองค์การบริหารส่วนตาบลสนามชัยเป็นสภาตาบล เป็นนิติบุคคล และเป็นราชการบริหารส่วน
ท้องถ่ิน ตามพระราชบัญญัติสภาตาบล พ.ศ. 2537 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันท่ี 19
มกราคม 2539 โดยแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 6 หมบู่ า้ น ดงั นี้

หมทู่ ่ี ๑ บ้านหัวถนน, หม่ทู ี่ ๒ บา้ นกิโลแปด, หมูท่ ี่ ๓ บา้ นหวั เกาะ, หมทู่ ี่ ๔ บา้ นหัวเวียง, หมทู่ ี่ ๕

บา้ นสนามชยั และหมทู่ ่ี ๖ บ้านดอนโพ

2.2 การเลือกต้งั

องค์การบริหารส่วนตาบลสนามชัย ไดแ้ บง่ เขตการเลือกต้ังนายกองค์การบรหิ ารสว่ น

ตาบล จานวน 1 เขตเลือกตงั้ สมาชกิ สภาองค์การบริหารสว่ นตาบล จานวน 1 เขตเลือกต้งั

จานวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งนายกองค์การบรหิ ารสว่ นตาบล (ข้อมูล ณ วนั ท่ี22 กรกฎาคม 2555) จานวน

7,948 คน มผี ู้มาใชส้ ิทธิเลือกต้งั นายกองค์การบริหารสว่ นตาบล จานวน 5,291 คน คิดเป็นร้อยละ

66.57 จานวนผู้มีสทิ ธิเลอื กตงั้ สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบล(ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 7 ตลุ าคม 2555)

จานวน 7,927 คน มีผู้มาใชส้ ทิ ธเิ ลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบรหิ ารส่วนตาบล จานวน 5,231 คน

คดิ เป็นร้อยละ 65.99

ผบู้ ริหารองคก์ ารบริหารส่วนตาบลสนามชยั

1.นายเฉลา โมอุ่ม (กานนั ) 30 มนี าคม 2539 – 27 เมษายน 2543

2.นายถาวร จาปาเงิน 10 มิถุนายน 2543 – 16 มิถนุ ายน 2546

3.นายถาวร จาปาเงิน 17 มิถุนายน 2546 – 9 มถิ ุนายน 2547

4.นายถาวร จาปาเงิน 25 กรกฎาคม 2547 – 24 กรกฎาคม 2551

5.นายสล้าง พันธส์ ถติ ย์ 31 สงิ หาคม 2551 – 28 พฤษภาคม 2555

6.นายปยิ พฒั น์ เจรญิ สุข 22 กรกฎาคม 2555 – 21 กรกฎาคม 2559

7.นายปิยพัฒน์ เจริญสขุ 22 กรกฎาคม 2559 – ปจั จบุ นั ต า ม ค า สั่ ง

คณะรักษาความสงบแห่งชาติฉบับท่ี 1/2557 เรื่องการได้มาซ่ึงสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือ

ผู้บริหารท้องถิ่นเป็นการชั่วคราว โดย พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความ

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 8

สงบแห่งชาติ คสช.) เป็นผู้ลงนาม เมื่อวันที่) 25 ธันวาคม 2557 ให้ผู้บริหารท้องถ่ินและ

สมาชิกสภาทอ้ งถนิ่ ท่ีหมดวาระหลัง 1 ม.ค.58 ดารงตาแหนง่ ต่อไป

ประธานสภาองค์การบริหารสาวนตาบลสนามชัย

1.นายถาวร จาปาเงนิ 10 พฤษภาคม 2539 – 9 เมษายน 2543

2.นายมนูญ โพธ์ปิ นิ่ 10 มถิ ุนายน 2543 – 29 มถิ นุ ายน 2546

3.นายโกมินทร์ ขุนสังวาลย์ 30 มถิ นุ ายน 2546 – 9 มิถนุ ายน 2547

4.นายวินยั สงสกลุ 25 กรกฎาคม 2547 – 24 กรกฎาคม 2551

5.นายโกมนิ ทร์ ขนุ สงั วาลย์ 31 สงิ หาคม 2551 – 30 สงิ หาคม 2555

6.นายโกมินทร์ ขนุ สงั วาลย์ 13 พฤศจิกายน 2555 – 6 ตลุ าคม 2559

7.นายโกมินทร์ ขุนสงั วาลย์ 7 ตุลาคม 2559 – ปัจจุบัน ตามคาส่ังคณะ

รักษาความสงบแห่งชาติฉบับท่ี 1/2557 เรื่องการได้มาซึ่งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหาร

ท้องถิ่นเป็นการช่ัวคราว โดย พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบ

แห่งชาติ คสช.) เป็นผู้ลงนาม เมื่อวันท่ี) 25 ธันวาคม 2557 ให้ผู้บริหารท้องถ่ินและสมาชิก

สภาท้องถน่ิ ทหี่ มดวาระหลัง 1 ม.ค.58 ดารงตาแหน่งต่อไป

๓.ประชากร
จากข้อมูลสถิติประชากรตามหลักฐานทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2562

องค์การบริหารส่วนตาบลสนามชัย มีจานวนประชากรทั้งสิ้น ๑๑,๐66 คน แยกเป็น ชาย 5,006 คน
หญิง ๖,๐60 คน

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 9

สถติ ิจานวนประชากรตาบลสนามชัยยอ้ นหลัง 5 ปี

หมู่บา้ น/ชอื่ จานวน 2558 2559 2560 2561 2562
หมูบ่ ้าน ครวั เรอื น
ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญงิ ชาย หญิง
หมู่ 1 581 600 1,051 610 1,041 608 1,045 600 1,054 601 1,051

บ้านหวั ถนน

หมู่ 2 407 531 607 545 612 556 618 547 629 550 628

บ้านกิโลแปด

หมู่ 3 681 633 666 632 666 654 690 685 724 686 725

บา้ นหวั เกาะ

หมู่ 4 1,617 1,100 1,207 1,093 1,205 1,098 1,210 1,123 1,235 1,123 1,232

บ้านหวั เวยี ง

หมู่ 5 1,363 1,402 1,738 1,419 1,778 1,458 1,818 1,501 1,851 1,498 1,847

บ้านสนามชัย

หมู่ 6 354 529 575 532 570 547 579 548 573 548 577

บ้านดอนโพ

รวม 5,003 4,795 5,844 4,831 5,872 4,921 5,960 5,004 6,066 5,006 6,060

รวมทง้ั ส้ิน 10,639 10,703 10,881 11,070 11,066

อัตราการเพิ่ม/ลด +0.60 +1.66 +1.74 -0.04
จากปที ่ผี ่านมา(รอ้ ยละ)

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 10

สถิตจิ านวนประชากรตาบลสนามชยั แยกตามช่วงอายุย้อนหลงั 5 ปี

ประชากรตามช่วงวัย 2558 2559 2560 2561 2562

ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง

เยาวชน (อายุตา่ กวา่ 1,030 1,018 1,048 1,033 969 970 1,028 1,011 1,005 992
18 ป)ี

ประชากร(อายุ 18- 3,112 3,926 3,127 3,941 3,180 3,925 3,128 3,954 3,194 3,945
60 ปี)

ผู้สงู อายุ(อายมุ ากวา่ 660 893 659 895 772 1,065 792 1,157 806 1,124
60 ปี)

รวม 4,802 5,837 4,834 5,869 4,921 5,960 4,948 6,122 5,005 6,061

รวมท้งั ส้ิน 10,639 10,703 10,881 11,070 11,066

(ท่ีมา : ขอ้ มูลทะเบยี นราษฎร สานกั ทะเบียนอาเภอเมืองสุพรรณบรุ ี จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี)
จานวนประชากรเยาวชน อายตุ ่ากว่า 18 ปี ชาย 1,002 คน หญิง 988 คน
จานวนประชากร อายุ 18 – 60 ปี ชาย 3,190 คน หญิง 3,941 คน
จานวนประชากรผ้สู ูงอายุ อายุมากกวา่ 60 ปี ชาย 806 คน หญงิ 1,124 คน
จานวนเดก็ (อายุ 0-14 ปี) เด็กชาย 795 คน เด็กหญงิ 800 คน
จานวนประชากรแฝง ประมาณ........-...........คน

4.สภาพทางสังคม
4.1 การศึกษา
จากการสารวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า ประชากรอายุ ๑๕ – ๖๐ ปีเต็ม ร้อยละ ๙๙

อ่าน เขียนภาษไทยและคิดเลขอย่างง่ายได้ เด็กอายุ ๖ – ๑๔ ปี ร้อยละ ๑๐๐ ได้รับการศึกษา
ภาคบังคบั ๙ ปี ไดเ้ รียนต่อช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๔ หรอื เทยี บเทา่ และท่ีไม่ได้เรียนต่อมีงานทา ร้อยละ
๙๙ ด้านการศึกษาอยู่ในเกณฑ์ที่ดี ปัญหาคือ ยังไม่สามารถท่ีจะแข่งขันกับเมืองใหญ่ๆ ได้ การ
แก้ปัญหาขององค์การบริหารส่วนตาบล ได้จัดกิจกรรมให้กับเด็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก การสนับสนุน
อาหารเสรมิ นม อาหารกลางวัน ในกับทางโรงเรียนในเขตพ้ืนที่ และร่วมกันจัดกิจกรรมต่างๆ กับทาง
โรงเรียน

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 11

สถานศึกษาในเขตพนื้ ท่ี
1. วทิ ยาลัย จานวน 2 แหง่

1.1 วิทยาลยั นาฏศลิ ปสพุ รรณบรุ ี
1.2 วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนีสุพรรณบุรี
2. โรงเรยี นสังกัด สพฐ. จานวน 2 แห่ง
๒โรงเรยี น ๑.บา้ นดอนโพ

-ระดบั ก่อนประถมศึกษา
- ระดับประถมศึกษา
- ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
๒ ๒.โรงเรยี นวัดบรรหาร) แจ่มใสวทิ ยา 4-วดั ลาวทอง(
-ระดบั กอ่ นประถมศึกษา
- ระดับประถมศกึ ษา

แผนแม่บทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 12

3. ศนู ย์พฒั นาเด็กเล็กองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลตาบลสนามชยั

ชอ่ื ศนู ย์พฒั นาเด็กเล็กของ จานวนเด็กเลก็ นกั เรยี น(คน) จานวน หมายเหตุ
องค์การบรหิ ารส่วนตาบลสนามชยั
2558 2559 2560 2561 2562 คร(ู คน)

ศพด.บ้านกิโลแปด 30 30 - - - - ศพด.วทิ ยาลัยบรมราช

ศพด.วิทยาลัยบรมราชชนนี สุพรรณบุรี 45 49 - - - - ชนนฯี และศพด.บา้ นกโิ ล
แปด ไดย้ บุ รวมเปน็ ศพด.

องค์การบริหารสว่ นตาบล

สนามชัย ตงั้ แตป่ ี 2560

ศพด.โรงเรียนบรรหารแจ่มใส(วดั ลาวทอง) 26 21 22 16 12 2 ครูผดด.1, ผดด.(ทักษะ)
1

ศพด.โรงเรียนบา้ นดอนโพ 41 28 37 36 28 3 ครูผดด.1, ผดด.(ทักษะ)
2

ศพด.องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลสนามชัย - - 47 64 47 5 ครูผดด.3, ผดด.(ทกั ษะ)
1, ผดด.(ท่ัวไป) 1

4.2 สาธารณสขุ
จากการสารวจขอ้ มลู พืน้ ฐานพบวา่ ประชากรส่วนใหญ่มีสุขภาพที่ดี มีการคัดกรอง

สุขภาพให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยง โรคท่ีมักเกิดแก่ประชากรในชุมชน เช่นกัน ได้แก่ โรคความดัน
เบาหวาน โรคความดัน โรคไข้เลือดออก มือ เท้า ปาก ในเด็ก และโรคอื่นๆ อีกมาก มีสถิติเข้ารับ
การรักษาพยาบาล ปัญหาคือประชาชนบางรายไม่ยอมไปคัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจาปี การ
แก้ไขปัญหา คือ องค์การบริหารส่วนตาบลและหน่วยงานสาธารณสุข โรงพยาบาล ได้จัดกิจกรรม
ร่วมมอื กนั รณรงคใ์ ห้ชุมชนเห็นความสาคญั ในเรื่องนี้ซึง่ ก็ไดผ้ ลในระดบั หนงึ่ ประชาชนให้ความร่วมมือ
เป็นอย่างดี แต่ต้องเป็นการดาเนินการอย่างต่อเน่ืองเป็นประจาทุกปี สาหรับเด็กแรกเกิด ปี ๖ -
ผู้ปกครองสามารถเลย้ี งดูตรงตามเกณฑม์ าตรฐาน จากการสารวจข้อมูลพ้ืนฐาน บางครัวเรือนไม่ได้กิน
อาหารท่ีถูกสุขลักษณะ การใช้ยาเพ่ือบาบัดอาการเจ็บปุวยท่ีไม่เหมาะสม การออกกาลังกายยังไม่
สม่าเสมอ และประชากรส่วนใหญไ่ ม่ไดร้ ับการตรวจสุขภาพ ปัญหาเหล่าน้ีองค์การบริหารส่วนตาบล
พยายามอย่างย่ิงที่จะแก้ไข โดยรว่ มมือกบั โรงพยาบาล สาธารณสขุ จดั กิจกรรมเพือ่ แก้ไขปญั หา

แผนแม่บทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 13

หนว่ ยงานสาธารณสขุ มโี รงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพประจาตาบล จานวน 1 แหง่ พร้อมท้งั
รายงานสถานการณ์โรคระบาด ณ ปจั จบุ นั

ลาดับ โรคที่ตอ้ งเฝา้ ระวงั ทางด้านระบาดวทิ ยา ผู้ป่วย (ราย) ผูเ้ สยี ชีวิต (ราย)
1 โรคระบบทางเดินอาหาร อาหารเป็นพษิ 3-
2 โรคไข้เลือดออก 1-
3 โรคไขไ้ มท่ ราบสาเหตุ --
4 โรคมอื เท้าปาก 3-

4.3 อาชญากรรม

ในเขตพืน้ ท่ขี ององค์การบริหารส่วนตาบล ไม่มเี หตอุ าชญากรรมเกดิ ขึน้ แต่มี
เหตุการณล์ กั ขโมยทรัพย์สนิ ประชาชน ซึ่งองค์การบริหารส่วนตาบลกไ็ ดด้ าเนนิ การปูองกันการเกิด
เหตุดงั กลา่ ว จากการสารวจข้อมลู พนื้ ฐานพบวา่ สว่ นมากครัวเรือนมีการปูองกันอบุ ัตภิ ยั อย่างถูกวธิ ี มี
ความปลอดภยั ในชีวติ และทรพั ย์สนิ

ปญั หาคอื จากข้อมูลท่ีสารวจพบว่ามี ๙ ครวั เรอื น ทไ่ี ม่มีการปอู งกนั อุบัติเหตุ อาชญากรรม วิธีการ
แกป้ ัญหาขององค์การบริหารส่วนตาบลที่สามารถดาเนินการได้ตามอานาจหน้าท่ีและงบประมาณท่ีมี
อยอู่ ย่างจากัด คือการติดต้ังกล้องวงจรปดิ ในจดุ เสย่ี งท่ีเป็นสาธารณะ ติดตั้งสัญญาณไฟกระพริบทาง
แยก ลูกศรบอกทาง รวมทงั้ ไดต้ งั้ จดุ ตรวจ จุดสกัด จุดบริการ ในช่วงเทศกาลท่ีมีวันหยุดหลายวันเพ่ือ
อานวยความสะดวกให้กับประชาชน

4.4 ยาเสพติด

ปัญหายาเสพติดในชุมชนขององค์การบริหารส่วนตาบล จากการที่ทางสถานี
ตารวจภูธรอาเภอเมือง ได้แจ้งให้ทราบว่าในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลมีผู้ท่ีติดยาเสพติดแต่เมื่อ
เทียบกับพ้ืนที่อื่นถือว่าน้อย และได้รับความร่วมมือกับทางผู้นา ประชาชน หน่วยงานขององค์การ
บริหารส่วนตาบลที่ช่วยสอดส่องดูแลอยู่เป็นประจา การแก้ไขปัญหาขององค์การบริหารส่วนตาบล
สามารถทาไดเ้ ฉพาะตามอานาจหนา้ ท่ีเทา่ นน้ั เช่น การณรงค์ การประชาสัมพันธ์ การแจ้งเบาะแส

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 14

การฝกึ อบรมใหค้ วามรู้ ถา้ นอกเหนือจากอานาจหนา้ ท่ี กเ็ ปน็ เรื่องของอาเภอหรือตารวจแล้วแต่กรณี
ทัง้ น้ี องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลก็ไดใ้ หค้ วามรว่ มมือมาโดยตลอด

ตามที่องค์การบริหารส่วนตาบลสนามชัย ได้ดาเนินโครงการสารวจขอ้ มลู พ้นื ฐานใน
ตาบล ประจาปีงบประมาณ พ ๒๕๕๙ศ. .เพอ่ื นาผลการสารวจมาพจิ ารณาแก้ไขปญั หาที่เกิดขึน้
ใหแ้ กช่ ุมชน ผลการสารวจพบว่าประชาชนในพ้นื ท่มี ีประชากรท่ีสูบบหุ รี่มีจานวน734 คน ดมื่ สุรา
692 คน

4.5 การสังคมสงเคราะห์

องค์การบรหิ ารส่วนตาบลไดด้ าเนนิ การดา้ นสงคมสงั เคราะห์ ดังนี้

๑ ดาเนินการจา่ ยเบย้ี ยังชพี ใหก้ บั ผสู้ งู อายุ ผพู้ ิการ และผู้ปวุ ยเอดส์

๒รเงินอุดหนุนเพื่อการเล้ยี งดูเด็กแรกเกดิ รบั ลงทะเบียนและประสานโครงกา .
(สมทบกองทุนสวัสดิการชมุ ชนตาบล)

๓ประสานการทาบตั รผู้พิการ .

๔ .เปน็ หนว่ ยประสานเก่ียวกบั การร้องทกุ ข์ ในเรื่องต่าง ๆ เชน่ อุทกภยั วาตภยั
และภัยแล้ง

๕ตง้ั .โครงการช่วยเหลอื ผู้ยากจน ยากไร้ รายไดน้ ้อย และผดู้ อ้ ยโอกาสไร้ท่ีพึง่

๖ .ตงั้ โครงการปรับปรุงซ่อมแซมบ้านคนจน

.7เป็นหนว่ ยประสานเก่ียวกบั การดาเนนิ งานต่าง ๆ ของหนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวข้อง
ภายนอก

สรปุ ยอด จานวนผสู้ ูงอายุ (อายุ 60 ปี ข้ึนไป) เพศชาย 883 เพศหญงิ 1,225 คน
จานวนผู้พิการ เพศชาย 137 คน เพศหญิง 126 คน
จานวนสตรีมคี รรภ์(ตุลาคม 2561-ปจั จบุ นั ) 19 คน
จานวนผูป้ วุ ยติดเตยี ง 67 คน

แผนแม่บทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 15

5.ระบบบริการพ้นื ฐาน
ในเขตองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลมรี ะบบบริการพน้ื ฐาน ดังน้ี

๕.1 การไฟฟ้า

การขยายเขตไฟฟูา ปัจจบุ นั มีไฟฟาู ใชท้ ุกครัวเรอื น คิดเป็น 97 เปอรเ์ ซน็ ต์
แตป่ ญั หาคือการติดตง้ั ไฟฟูาส่องสวา่ งจดุ เสยี่ งยังไมส่ ามารถดาเนนิ การได้ครอบคลุมพื้นท่ีทงั้ หมด
เน่ืองจากพ้ืนท่ีมบี ริเวณกว้าง และการใช้ไฟฟูาสาธารณะมปี รมิ าณจากัด แต่ทางองค์การบริหารส่วน
ตาบลสนามชยั ไดร้ เิ ริ่มวธิ กี ารแก้ไขการขยายการใช้ไฟฟาู ที่จะติดตง้ั เพือ่ ส่องสวา่ งเป็นแบบโซลา่ เซลล์
แทนแต่ดว้ ยงบประมาณการพัฒนาที่มีจานวนจากดั จึงต้องเปน็ แบบคอ่ ยเปน็ ค่อยไป และได้แจง้
ประชาสมั พันธ์ใหป้ ระชาชนไดร้ บั ทราบถึงเหตผุ ลเพอ่ื ทจ่ี ะไดช้ ่วยกันแก้ไขปญั หาให้กับชุมชน ปจั จบุ นั ใน
เขตองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลสนามชยั มไี ฟฟูาใช้ ดงั นี้

๑) จานวนครวั เรือนที่ใช้ไฟฟูา 4,865 ครัวเรือน

๒) ไฟฟาู สาธารณะ จานวน 90 จุด

๕.2 การประปา

การประปา ประชาชนในเขตองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลสนามชัยส่วนใหญ่มี
นา้ เพ่อื การอปุ โภค บรโิ ภคจากระบบประปาหมู่บ้าน คิดเป็นร้อยละ และจากประปาส่วนภูมิภาค 80
คดิ เปน็ ร้อยละ 20ปัจจุบันประชาชนมีประปาใช้ ดังนี้

๑) จานวนครัวเรอื นท่ใี ช้น้าประปา 4,795 ครวั เรือน

แหลง่ น้าดบิ ที่ใชผ้ ลิตน้าประปา (2)หมบู่ ้านได้จาก นา้ บาดาล

๕.3 ศนู ย์ขอ้ มลู

(1) ศูนยข์ ้อมูลระดับตาบล จานวน 1 แหง่

(2) ที่อา่ นหนังสอื พมิ พป์ ระจาหมู่บ้าน จานวน 6 แหง่

(๓ เสียงตามสาย จานวน 1 แห่ง

(๔) หอกระจายข่าว (ประจาหมูบ่ ้าน) จานวน 15 แห่ง

(๕) หอกระจายข่าวในพ้นื ทีใ่ หบ้ รกิ ารได้ครอบคลมุ รอ้ ยละ 95 ของพ้นื ท่ีองค์การบรหิ ารส่วนตาบล

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 16

๕.4 ไปรษณีย์หรอื การส่ือสารหรือการขนส่ง และวัสดุ ครุภัณฑ์

- มีไปรษณยี ์ จานวน (๑) แหง่

- มที ่ารถขนสง่ (๒) แห่ง

๕.5 เส้นทางคมนาคม

ในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลมีเส้นทางคมนาคมในพื้นท่ีเป็นถนนคอนกรีตเสริม
เหล็ก ร้อยละ ๗๐ เปูาหมายคือต้องการให้ได้มากกว่าน้ีหรือร้อยละ ๑๐๐ โดยผู้บริหารมีนโยบายท่ี
จะดาเนินการก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็กทุกสาย ปัญหาคือ องค์การบริหารส่วนตาบลไม่
สามารถดาเนินการได้เน่ืองจากพ้ืนที่บางแห่งยังไม่เป็นที่สาธารณะ จะดาเนินการได้ก็ต่อเม่ือต้องเป็น
ทส่ี าธารณะ ปัจจบุ ันองค์การบรหิ ารส่วนตาบลมีเส้นทางคมนาคม ดงั นี้

(๑)การคมนาคม การจราจร

เสน้ ทางคมนาคมทีใ่ ชต้ ดิ ต่อในเขตองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลและพ้นื ที่
ใกลเ้ คยี งมีดังน้ี

๑.๑) ทางหลวงแผ่นดนิ

อาศยั การคมนาคมทางบกเป็นหลกั มีเสน้ ทางคมนาคมที่สาคญั ดงั น้ี

- ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 321 (ถนนมาลยั แมน)

- ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 (สพุ รรณ-โพธพ์ิ ระยา สาย
เก่า)

- ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 340 (สุพรรณ-ชัยนาท สายใหม่)

- ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 357 (ถนนเลย่ี งเมอื ง)

๑๒.) สะพาน จานวน 2 สะพาน

๑๓.) การจัดการขนสง่ มวลชน ประกอบด้วย

- รถโดยสารประจาทาง -

๑๔.) ถนน

แผนแม่บทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 17

ถนนในความรับผดิ ชอบของกรมทางหลวง จานวน ๒ สาย 18
สภาพถนน คอนกรีต จานวน - สาย ระยะทาง - กม.
ลาดยาง จานวน ๒ สาย ระยะทาง - กม.
ลกู รัง จานวน - สาย ระยะทาง - กม.
ถนนในความรบั ผิดชอบของสานกั งานทางหลวงชนบทท่ี 14 จานวน 2 สาย
สภาพถนน คอนกรีต จานวน - สาย ระยะทาง - กม.
ลาดยาง จานวน 2 สาย ระยะทาง - กม.
หมายเลข สพ 2017 (บา้ นหัวเกาะ-หนองแปดค่า)
สายบา้ นสนามชยั - ทองร้งุ
ลูกรัง จานวน - สาย ระยะทาง - .กม
ทางหลวงท้องถ่นิ จานวน สาย -
สภาพถนน คอนกรตี จานวน - สาย ระยะทาง - .กม
ลาดยาง จานวน - - สาย ระยะทาง กม.
ลูกรงั จานวน - สาย ระยะทาง - .กม
ถนนของท้องถน่ิ องค์การบริหารสว่ นตาบลตาบลสนามชยั จานวน 11สาย
สภาพถนน คอนกรตี จานวน - สาย ระยะทาง - .กม
ถนนลาดยาง รพช. หมายเลข สพ 5023 (บ้านท่าระหัด-รางกระทุ่ม)
ถนนลาดยาง อบต.สนามชัย (แยก 340 –สนามชยั )
ถนนลาดยาง รพช. หมายเลข (ศนู ย์ราชการ-วดั ปุบู วั )

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ

๕.6 สถานท่สี าคญั และพกิ ัดทางภูมิศาสตร์ พิกดั ทางภมู ิศาสตร์
พน้ื ที่ สถานท่สี าคญั (ระบรุ ายละเอียด)
หมู่ที่ 1 สถานที่ราชการ 14°30’49.4”N 100°07’49.2”E
14°30’55.9”N 100°07’50.1”E
1. ศูนยร์ าชการจงั หวัดสพุ รรณบุรี 14°31’00.8”N 100°07’49.8”E
2. ศาลจังหวดั สุพรรณบรุ ี 14°31’03.9”N 100°07’50.1”E
3. สานกั งานอยั การจังหวัดสุพรรณบุรี 14°31’12.7”N 100°07’50.7”E
4. ตารวจภธู รจังหวัดสุพรรณบุรี 14°30’57.4”N 100°07’56.60”E
5. การไฟฟาู ส่วนภมู ภิ าคจงั หวดั สุพรรณบรุ ี 14°30’54.8”N 100°07’56.7”E
6. หอจดหมายเหตุ 14°31’04.2”N 100°07’58.0”E
7. หอสมุดแห่งชาติ 14°31’02.9”N 100°07’56.0”E
8. โรงละครแหง่ ชาตภิ าคตะวันตก '14°30’45.3”N 100°07’49.5”E
9. พพิ ธิ ภณั ฑส์ ถานแหง่ ชาติ
10. พพิ ธิ ภณั ฑ์สถานแห่งชาติชาวนาไทย '14°31’10.6”N 100°07’54.3”E -
สถานบริการสาธารณสขุ 14°30’51.9”N 100°07’55.6”E-0
สถาบันการศึกษา
1. วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี 14°31’09.4”N 100°06’59.0”E
2. วิทยาลยั นาฏศลิ ปสพุ รรณบรุ ี 14°30’49.6”N 100°07’11.5”E
สถานทีต่ ้ังศาสนา 0.1"E
1.วัดโพธิเ์ จริญ
2.วดั ปบุู ัว
พืน้ ที่ทิ้งขยะ

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 19

พ้นื ที่ สถานท่ีสาคญั (ระบรุ ายละเอียด) พกิ ัดทางภมู ิศาสตร์
หมทู่ ี่ 2 สถานทีร่ าชการ

-
สถานบรกิ ารสาธารณสุข

-
สถาบนั การศึกษา

-
สถานทีต่ ้ังศาสนา

-
พ้ืนท่ที ้งิ ขยะ

-

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 20

พืน้ ท่ี สถานท่ีสาคัญ(ระบุรายละเอียด) พกิ ดั ทางภูมิศาสตร์
หมทู่ ี่ 3 สถานท่ีราชการ
14°30’11.0”N 100°07’28.1”E
-
สถานบรกิ ารสาธารณสขุ

-
สถาบนั การศึกษา

-
สถานทีต่ ้งั ศาสนา
1.วดั สาปะซวิ

พนื้ ท่ีทิ้งขยะ
-

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 21

พ้ืนที่ สถานทสี่ าคญั (ระบรุ ายละเอียด) พกิ ัดทางภูมิศาสตร์

หมู่ที่ 4 สถานท่ีราชการ

-

สถานบรกิ ารสาธารณสุข

-

สถาบนั การศึกษา

1.โรงเรียนบรรหาร-แจม่ ใส วทิ ยา 4 (วดั ลาวทอง) 14°29’44.8”N 100°07’51.8”E
สถานทต่ี ้ังศาสนา

1.วดั ลาวทอง 14°29’41.6”N 100°07’51.7”E

พื้นที่ทิง้ ขยะ
-

แผนแม่บทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 22

พื้นที่ สถานทสี่ าคัญ(ระบุรายละเอียด) พิกัดทางภูมศิ าสตร์
หม่ทู ี่ 5 สถานท่ีราชการ
14°30’14.4”N 100°08’25.5”E
1. องค์การบริหารส่วนตาบลสนามชยั 14°30’16.1”N 100°08’24.7”E
สถานบรกิ ารสาธารณสุข
1. โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบลสนามชัย 14°29’33.8”N 100°08’32.2”E
สถาบันการศึกษา

-
สถานทตี่ ้ังศาสนา
1.สานกั สงฆ์ธรรมชยั ศริ ิมงคล
2.วัดถา้ สทุ ธาวาส
พนื้ ท่ีทิ้งขยะ

-

แผนแม่บทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 23

พืน้ ที่ สถานท่สี าคัญ(ระบรุ ายละเอียด) พิกดั ทางภมู ิศาสตร์
หมทู่ ี่ 6 สถานทร่ี าชการ
14°30’52.1”N 100°10’11.2”E
1. ศาลปกครอง
สถานบรกิ ารสาธารณสุข 14°30’35.3”N 100°09’27.5”E
14°30’30.5”N 100°09’27.5”E
-
สถาบนั การศึกษา
1.โรงเรยี นบ้านดอนโพ
สถานท่ตี ั้งศาสนา
1.(หลวงปเุู จ็ค)วดั สระวงั เพลง
พื้นที่ท้งิ ขยะ

-

แผนแม่บทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 24

5.7 สาธารณูปโภค พกิ ัดทางภมู ศิ าสตร์
พื้นท่ี สาธารณูปโภค (ระบุรายละเอยี ด)

หมู่ท่ี 1 ไฟฟาู

1.การไฟฟาู ส่วนภมู ภิ าคจังหวดั สพุ รรณบรุ ี 14°31’12.7”N 100°07’50.7”E

ประปา

1.ประปา หมู่ 1 (วดั โพธ์เิ จริญ) 14°31’11.8”N 100°07’03.9”E

2.ประปา หมู่ 1 (วัดปบูุ ัว) 14°30’49.6”N 100°07’11.5”E

ถนน

1. ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 340 เดมิ (สพุ รรณบุรี – ชยั นาท)

2. ถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340(บางบวั ทอง – สุพรรณบรุ )ี

3. สายบา้ นหัวถนน-ศูนย์ราชการ(สพ.3279)

รถโดยสาร

-

การสอ่ื สารและโทรคมนาคม 14°31’15.8”N 100°07’50.9”E
1. ศูนยบ์ ริการลกู ค้าทีโอทีสุพรรณบรุ ี 14°31’13.4”N 100°07’50.4”E
2. กสท.จงั หวัดสุพรรณบรุ ี

แผนแม่บทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 25

พืน้ ที่ สาธารณูปโภค (ระบุรายละเอียด) พิกดั ทางภมู ิศาสตร์
หมทู่ ี่ 2 ไฟฟูา
14°30’56.5”N100°08’13.5”E
-
ประปา
1. ประปาหมู่ 2 บา้ นกโิ ลแปด
ถนน
1.ถนนลาดยางเลยี บคนั คลองชลประทาน
รถโดยสาร

-
การสอ่ื สารและโทรคมนาคม

แผนแม่บทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 26

พนื้ ที่ สาธารณปู โภค (ระบรุ ายละเอยี ด) พกิ ดั ทางภมู ิศาสตร์
หมทู่ ่ี 3 ไฟฟาู
ประปา 14°30’10.7”N100°07’28.4”E
1.ประปาหมู่ 3 (วดั สาปะซวิ )
ถนน
1.ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 340 เดิม(สุพรรณบุรี – ชัยนาท)
รถโดยสาร
การสือ่ สารและโทรคมนาคม

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 27

พ้นื ท่ี สาธารณปู โภค (ระบรุ ายละเอยี ด) พกิ ดั ทางภูมศิ าสตร์

หมทู่ ่ี 4 ไฟฟูา

-

ประปา 14°31’15.8”N 0°07’50.9”E
1.ประปา หมู่ 4 (หลังปม๊ั ถาวร)

ถนน

1.ทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 340 (บางบัวทอง - สพุ รรณบุรี)

2.สาย สพ 321 ถนนมาลัยแมน

รถโดยสาร

-

การสอื่ สารและโทรคมนาคม

-

แผนแม่บทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 28

พื้นที่ สาธารณปู โภค (ระบรุ ายละเอียด) พิกัดทางภูมศิ าสตร์
หมทู่ ่ี 5 ไฟฟาู
14°30’14.4”N 100°08’25.5”E
- 14°29’27.5”N100°08’22.6”E
ประปา
1.ประปาบ้านหนองกก พกิ ัดทางภมู ิศาสตร์
2.ประปาสนามชัย
ถนน 14°30’35.3”N 100°09’27.5”E
1.สาย สพ. 4082 (สนามชัย - ดอนกลาง) 14°30’18.2”N100°10’26.5”E
2.สาย สพ. 2068 (สนามชยั –ทองรุง้ )
รถโดยสาร 29

-
การสอ่ื สารและโทรคมนาคม
พื้นท่ี สาธารณูปโภค (ระบุรายละเอียด)
หมู่ท่ี 6 ไฟฟาู
ประปา
1.ประปา หมู่ 6 บ้านดอนโพ
2.ประปา หมู่ 6 บา้ นดอนชะคราม
ถนน
1.สาย สพ. 7279 (ดอนชะคราม - ดอนกลาง)
รถโดยสาร
5.7 การประกอบอาชีพ

แผนแม่บทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ

ประชากรสว่ นใหญ่ของ องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลสนามชัย ประมาณร้อยละ
..64.........ประกอบอาชีพเกษตรกรรม..... รองลงมาได้แก่ ด้าน ...อาชีพรับจ้าง.... ประมาณร้อยละ...
๑๑.... ด้านค้าขาย....ประมาณร้อยละ....๙..... เนอ่ื งจากสภาพภมู ศิ าสตรท์ ่เี หมาะสมกบั การประกอบ
อาชพี เกษตรกรรม เฉล่ียรายได้ประชากรต่อหัวต่อปี/ ประมาณ.............36,800......บาท
(ทีม่ า : ขอ้ มูลจปฐ. สานกั งานพัฒนาชมุ ชนอาเภอเมืองสุพรรณบุรี

๖ระบบเศรษฐกิจ .

6.1 การเกษตร

ประชากรในเขตองค์การบริหารสว่ นตาบล รอ้ ยละ ๗๐ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
ผลผลติ ทางการเกษตรทสี่ าคัญ ไดแ้ ก่ ข้าว พืชสวนอืน่ ๆ มะมว่ ง พืชผกั ดงั นี้

- อาชพี เกษตรกรรม ร้อยละ 64 ของจานวนประชากรทง้ั หมด

- อาชีพเลี้ยงสตั ว์ ร้อยละ 8

- อาชีพรับจา้ ง รอ้ ยละ 11

- อาชีพค้าขาย รอ้ ยละ 9 ของจานวนประชากรทัง้ หมด

อื่นๆ - ร้อยละ 8 ของจานวนประชากรท้งั หมด

6.2 การประมง

บางส่วนตามชายฝ่ังแมน่ ้า เป็นอาชพี เสริม เพื่อการบรโิ ภค

6.3 การปศุสตั ว์

รอื นเป็นอาชีพหลกั และอาชีพเสรมิ เปน็ การประกอบการในลกั ษณะเล้ียงในครัวเ
เชน่ การเล้ยี งไก่ เป็ด

6.4 การบริการ
1. โรงแรม 1 แหง่ ไดแ้ ก่ โรงแรมสวที ฮกั

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 30

2. รสี อรท์ 5 แห่ง ได้แก่ ซาฟารีรสี อรท์ อัญชรินทรร์ ีสอรท์ เรือนแพ(ครัวสพุ รรณ)รี
สอร์ท ดรีมเฮา้ สร์ ีสอร์ท รินชลรี ีสอร์ท

3. ร้านอาหาร 1 แห่ง ได้แก่ รา้ นครวั สุพรรณ

4. โรงภาพยนตร์ (ไมม่ ี)

5. สถานีขนสง่ (ไม่มี)

6. รา้ นเกมส์ 1 แห่ง ได้แก่ ร้านเกมสห์ น้าวัดสนามชัย

6.5 การทอ่ งเทย่ี ว

ในเขตองคก์ ารบริหารส่วนตาบลไม่มีแหล่งท่องเท่ียว แต่ได้ส่งเสริมการท่องเท่ียวให้
เกิดขึ้นในชุมชน เช่น การจัดงานประเพณตี า่ งๆ การจัดสร้างสวนสาธารณะสาหรับใช้พักผ่อนหย่อน
ใจ(โบราณสถานวดั สนามชยั )

6.6 อตุ สาหกรรม

- จานวนกิจการอุตสาหกรรมขนาดเล็ก โรงผลติ น้าดื่ม จานวน 2 แห่ง ได้แก่ อยู่ใน
พ้ืนท่ี หมทู่ ี่ 2 และ 6

6.7 การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ

หน่วยธุรกจิ ในเขต อบต.

1. ธนาคาร 3 แห่ง ได้แก่ ธนาคารกรงุ ไทยธนาคารเกียรตินาคนิ ,
และ

ธนาคารกสกิ รไทย

2. โรงแรมและรีสอรท์ จานวน 6 แหง่ ได้แก่ โรงแรมสวีทฮกั ซาฟารีรี
สอรท์ อญั

ชรนิ ทรร์ สี อร์ท เรือนแพ(ครวั สพุ รรณ)รีสอรท์ ดรมี เฮา้ สร์ ีสอร์ท รนิ ชลีรี
สอร์ท

3. สหกรณก์ ารเกษตรเมอื งสุพรรณบรุ ี จานวน แห่ง 1

แผนแม่บทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 31

เม้นตร์ ุ่ง , 4. สหกรณ์บริการเดินรถสพุ รรณบรุ ี จากดั จานวน แห่ง 1
โนรามา 5. ปมั๊ น้ามนั แหง่ 2 ไดแ้ ก่ ปมั๊ ดาวสะอาด และ ป้ัมถาวรโมบลิ
6. อพาทเมน้ ต์ คอนโดมิเนียม/จานวน แห่ง 5 ได้แก่ เอส เอ็ม อพาท
พี
ดารอิ พาทเมน้ ต์, หอพกั นางนิธิวตรี รกั ษส์ ริ ิวรกลุ หอพักนางพิม, พา,
นดั , ภู
คอนโดมิเนยี ม
7. หา้ งสรรพสินค้า แหง่ 2 ไดแ้ ก่ แมค็ โครไทวสั ดุ ,
8. โรงงานอุตสาหกรรม (ผลติ หลอดไฟฟาู ) 1 แหง่
9. โรงงานขนาดกลาง 2 แห่ง ได้แก่ โรงงานมะมว่ งดอง และ โรงงานพี

หลงั คาเหล็ก
10.โรงงานขนาดเลก็ แห่ง 2 ได้แก่ กวงษ์พาณชิ ย์ และ โรงงาน ส.อดั .
(กระดาษ
11. สถานบนั เทงิ 8 แห่ง ไดแ้ ก่ บาร์, เปา้ ตงุ , คลบั เฮาส,์ รา้ นนดั กบั 24

นวดแผนโบราณไซซโี พธเิ์ วช, ร้านจนั ทร์ฉาย, ชิวตะวนั ,
12.คลังสนิ คา้ สนามชยั จานวน 1 แห่ง

หมู่ ๑ , มวลชน/
1. กลมุ่ อาชพี โครงการเศรษฐกิจชมุ ชน 7 กลมุ่ ไดแ้ ก่ กลมุ่ เกษตรกร

กลุม่ การเกษตร หมู่ ๒ ,๓กลุม่ เกษตรกร หมู่ ,กลุ่มทาเคร่อื งเงิน หมู่
๕,

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 32

กลุ่มเกษตรกรผู้เล้ียงโค หมู่ ๕ ,กล่มุ อาชพี เลยี้ งสตั ว์ หมู่ ๖ และ กล่มุ
ตดั เยบ็

เส้อื ผ้า หมู่ ๖

2. สมาคมฌาปนกิจสงเคราะหก์ องทุนหมู่บ้าน ๔ กลมุ่ ได้แก่ หมู่ ๒๓,๕,,๖

3. กลุ่มอาชีพสนามชัยพฒั นา กลุ่ม 1

4. ชมรมผ้สู ูงอายุ ๑ กลุม่

5. กลุ่มออมทรัพยเ์ พ่อื การผลิต ๖ กล่มุ

6. กลมุ่ กองทนุ บทบาทสตรีกลุม่ 6

7. กลมุ่ สตรแี มบ่ ้าน ๗๔ คน

8. กลมุ่ อสม. ๑30 คน

9. กลุม่ อยดู่ ีมสี ขุ หมู่ 4 จานวนกลมุ่ 1

10. กลุม่ สหกรณ์ลาวทอง จานวน กลุ่ม 1

11. กลมุ่ บา้ นม่ันคงตาบลสนามชัย จานวน กลมุ่ 1

12. อปพร. จานวนคน 140

13. ตารวจชุมชน จานวน ๒๕ คน

14. กรรมการประชาคมหมู่บ้าน คน ๓๖จานวน

15. อาสาสมัครพัฒนาชมุ ชน คน ๒๔จานวน

16. กองทนุ หมู่บ้าน ๑๐๐๐,๐๐๐, บาท จานวน ๖ กล่มุ

17. กองทนุ สวสั ดิการชุมชนตาบลสนามชัย จานวน ๑ แหง่

18. ศนู ยพ์ ฒั นาครอบครัวในชมุ ชนตาบล จานวน ๑ แห่ง

19. สภาองค์กรชุมชนตาบลสนามชัย จานวน แหง่ 1

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 33

20. สภาวัฒนธรรมตาบลสนามชัย จานวน 1 แหง่

6.8 แรงงาน

จากการสารวจข้อมลู พ้ืนฐานพบว่า ประชากรที่มีอายุ ๑๕ – ๖๐ ปี อยใู่ นกาลงั
แรงงาน รอ้ ยละ 95 เมื่อเทยี บกบั อัตราส่วนกบั จังหวัด ร้อยละ 73 ซงึ่ สงู กว่ามาก แต่คา่ แรงในพ้นื ที่
ตา่ กวา่ ระดบั จงั หวดั โดยเฉพาะแรงงานด้านการเกษตร ประชากรอายรุ ะหว่าง 25-50 ปี บางส่วนไป
รบั จา้ งทางานนอกพนื้ ที่ รวมท้ังแรงงานท่ที างานตา่ งประเทศ ปัญหาที่พบคือ ประชากรตอ้ งไปทางาน
นอกพน้ื ทใี่ นเมืองท่มี โี รงงาน

อตุ สาหกรรม บริษทั หา้ งร้านใหญ่ๆ เพราะในพื้นท่ีไม่มโี รงงานอุตสาหกรรมทม่ี ีการจ้างแรงงานเยอะ
เพราะพื้นท่สี ่วนมากเปน็ ท่ีอยู่อาศยั ปัญหานีย้ ังไมส่ ามารถแก้ไขได้

7. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
7.1 การนับถอื ศาสนา
- ผู้ท่นี ับถือศาสนาพทุ ธ ร้อยละ ๙๘

สุทธาวาส วัด 5 แหง่ ได้แก่ วดั โพธเิ์ จริญ วดั ปูุบวั วดั สาปะซวิ วัดลาวทอง วดั ถ้า

สานักสงฆ์ ๑ แหง่ ได้แก่ สานักสงฆธ์ รรมชัยศิรมิ งคล
- ผู้ท่ีนับถือศาสนาคริตส์ รอ้ ยละ ๒

สานกั คริตส์ (ไมม่ ี)

7.2 ประเพณแี ละงานประจาปี

- ประเพณีวนั ขึ้นปีใหม่ ประมาณเดือน มกราคม

- ประเพณวี นั สงกรานต์ ประมาณเดอื น เมษายน

- ประเพณลี อยกระทง ประมาณเดือน พฤศจิกายน

- ประเพณวี ันเข้าพรรษา ประมาณเดือน กรกฎาคม

- ประเพณวี ันออกพรรษา ประมาณเดือน ตุลาคม

7.3 ภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ภาษาถ่ิน

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 34

ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน ประชาชนในเขตองค์การบริหารสว่ นตาบลได้อนรุ ักษณ์ภูมิ
ปัญญาท้องถนิ่ ได้แก่ ข้าวเกรียบว่าว เพลงอแี ซว แม่ขวญั จติ เป็นตน้

ภาษาถิน่ ส่วนมากร้อยละ ๙ 8% พดู ภาษาถ่ินสพุ รรณบรุ ี

7.4 สนิ คา้ พ้นื เมอื งแของทร่ี ะลกึ

-

8.ทรพั ยากรธรรมชาติ
8.1 นา้ ทใ่ี ชใ่ นการอุปโภคกแม่น้าบริโภค เป็นนา้ ที่ได้จากน้าฝน นา้ ดบิ จา-ท่าจีน และน้า

บาดาลซง่ึ

จะต้องนามาผ่านกระบวนการของระบบประปา และนา้ ใตด้ ินมปี ริมาณเพียงพอสามารถนาขึน้ มาใช้ให้
เพียงพอได้

8.2 ปา่ ไม้ ในเขตองค์การบริหารสว่ นตาบลไมม่ ปี าุ ไม้
8.3 ภเู ขา ในเขตองคก์ ารบริหารส่วนตาบลไม่มีภเู ขา
8.4 คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ

ในพืน้ ทข่ี ององคก์ ารบริหารสว่ นตาบลส่วนมากเป็นพนื้ ทส่ี าหรบั เพาะปลูก ท่ีอยู่อาศัย
ร้านค้า สถานประกอบการ ตามลาดับ และมีพื้นที่ ส่ว นใหญ่เ ป็นพื้นที่สาธ ารณะ
ทรัพยากรธรรมชาติในพ้ืนที่ ก็ได้แก่ ดิน น้า ต้นไม้ อากาศที่ไม่มีมลพิษ ปัญหาคือ เน่ืองจากว่า
พ้นื ทบี่ างส่วนเป็นดนิ เค็ม นา้ ใตด้ นิ กเ็ ค็ม หรือไม่กเ็ ป็นนา้ กรอ่ ย ไม่สามารถที่จะนาน้าจากใต้ดินมาใช้
ในการอุปโภคบริโภคได้ได้ ต้องอาศัยน้าดิบจากแหล่งอื่น และน้าฝน- น้าในการเกษตรรอท้ังฤดูฝน
และแหล่งน้าในคลองชลประทาน ซึ่งในบางปีในฤดูแล้งมักมีแหล่งน้าใช้ในการเกษตรไม่เพียงพอ
ปัญหาคือยังไม่สามารถหาแหล่งน้าสาหรับการเกษตรได้เพ่ิมขึ้น นอกจากการปรับสภาพพื้นท่ีเพ่ือให้
การระบายน้าของทางน้าได้สะดวกเพิ่มข้ึน เช่นการขุดลอกคลอง ปัญหาด้านขยะ เม่ือชุมชนแออัด
ขยะก็มากข้ึน การแก้ไขปัญหา องค์การบริหารส่วนตาบลได้จัดทาโครงการเพ่ือแก้ปัญหาให้กับ
ประชาชนและเป็นไปตามความต้องการของประชาชน เช่น โครงการจัดหาถังขยะรองรับขยะให้
ครอบคลุมท้ังพ้ืนที่ โครงการปลูกต้นไม้ในวันสาคัญต่างๆ ในพื้นที่ของตนเองและที่สาธารณะรวมท้ัง
ปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ของเมืองให้ร่มรื่นสวยงาม ให้เป็นเมืองน่าอยู่ เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจของ
ประชาชน ฯลฯ

แผนแม่บทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 35

2.2 ข้อมูลเก่ียวกับศักยภาพของทอ้ งถ่นิ

2.2.1 ศักยภาพขององค์การบริหารสว่ นตาบล

องค์การบริหารส่วนตาบลสนามชัย ประกอบด้วยการปกครองท้องที่ 6 หมู่บ้าน มีสมาชิก
สภาองค์การบริหารสว่ นตาบล 12 คน นายกองค์การบริหารส่วนตาบล 1 คน และรองนายกองค์การ
บริหารส่วนตาบล 2 คน และเลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนตาบล 1 คน ไม่มีความขัดแย้งใน
การตดิ ต่อประสานงานระหวา่ งทอ้ งถิ่นกับท้องที่ ซ่งึ ประชาชนตาบลสนามชัยให้ความร่วมมือเป็นอย่าง
ดแี ละใหค้ วามสาคัญกบั ประชาชนหมบู่ า้ น ประชาคมตาบลและการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน

ผบู้ รหิ ารองค์การบริหารส่วนตาบลสนามชยั ประกอบด้วย

1. นายปิยพัฒน์ เจรญิ สุข นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลสนามชยั

2. นายมนญู โพธ์ิปิน่ รองนายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลสนามชยั

3. นายประสาน หวา่ งจ้อย รองนายกองค์การบริหารส่วนตาบลสนามชยั

4. นางสาวณัฐณิชา สขุ พันธ์ เลขานกุ ารนายกองคก์ ารบริหารส่วนตาบลสนามชยั

ฝา่ ยสภาองคก์ ารบริหารส่วนตาบลสนามชยั ประกอบด้วย

1. นายโกมนิ ทร์ ขุนสงั วาลย์ ประธานสภาองค์การบรหิ ารส่วนตาบลสนามชัย

2. นายวริ ะชยั เกตุมณี รองประธานสภาองคก์ ารบริหารสว่ นตาบลสนามชัย

3. นายวชริ วชิ ญ์ บวั มี ปลดั องค์การบริหารส่วนตาบล/เลขานุการสภาองค์การ

บรหิ ารสว่ นตาบลสนามชยั

แผนแม่บทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 36

สมาชิกสภาองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลสนามชัย ประกอบดว้ ย

1. นางนภิ า สุขพันธ์ สมาชิกสภาองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลสนามชยั หมู่ 1

2. นายวริ ะชัย เกตมุ ณี สมาชกิ สภาองค์การบริหารสว่ นตาบลสนามชยั หมู่ 1

3. นายสุมล ขนุ สังวาล สมาชิกสภาองค์การบริหารสว่ นตาบลสนามชยั หมู่ 2

4. นายโกมินทร์ ขนุ สงั วาลย์ สมาชกิ สภาองค์การบรหิ ารส่วนตาบลสนามชยั หมู่ 2

5. นายขจรศกั ดิ์ ทองพิทกั ษ์กิจ สมาชกิ สภาองค์การบริหารส่วนตาบลสนามชัย หมู่ 3

6. นายพนิ จิ พลายโถ สมาชกิ สภาองค์การบรหิ ารส่วนตาบลสนามชัย หมู่ 3

7. นายวศนิ เจรญิ สขุ สมาชิกสภาองค์การบริหารสว่ นตาบลสนามชัย หมู่ 4

8. นายแดนชัย คณุ วโรตม์ สมาชกิ สภาองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลสนามชยั หมู่ 4

9. นายเสรี พันตาวงษ์ สมาชกิ สภาองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลสนามชัย หมู่ 5

10.นายวรรณรตั น์ อุทัศน์ สมาชกิ สภาองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลสนามชัย หมู่ 5

11.นายณรงค์ แกว้ มณี สมาชกิ สภาองค์การบรหิ ารส่วนตาบลสนามชยั หมู่ 6

12.นายราวนิ ใจประดิษฐ์ สมาชกิ สภาองค์การบริหารส่วนตาบลสนามชัย หมู่ 6

จานวนบคุ ลากร
พนักงานส่วนตาบล จานวน 26 คน และพนักงานจ้าง จานวน 44 คน รวม 70 คน และ
สว่ นราชการ จานวน 5 ส่วน ดงั นี้
สานักปลดั จานวน 24 คน

1. นายวชริ วิชญ์ บัวมี ปลัด อบต.

2. นางสญั ญลกั ษณ์ ธนเดโชพล รอง ปลดั อบต.

3. นางสาวปิยภทั ร ชมภนู ิตย์ หัวหน้าสานักปลัด อบต.

4. นางสาวนฤดี สมจิตร์ หัวหนา้ ฝาุ ยบรหิ ารงานท่ัวไป

5. นายกฤษณ์ธรัชช์ นามปพนองั กรู นกั จัดการทั่วไปปฏิบตั ิการ

แผนแม่บทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 37

6. นางนารีรัตน์ ทับแสง นกั ทรพั ยากรบุคคลชานาญการ
7. นางอภิชา แกว้ วิชิตชวาล นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนชานาญการ
8. นางสาวคณสั มน สุขดี นติ กิ รชานาญการ
9. นางสาวณภทั ร์อลิน เจริญธารงวสุ นักประชาสมั พนั ธป์ ฏิบตั ิการ
10. นายโกมินท์ ภู่สมบุญ นักพัฒนาชมุ ชนชานาญการ
11. นางภสั ส์พชิ ชา อินทร์ทองนอ้ ย เจา้ พนกั งานธุรการชานาญงาน
12. นายนธิ พิ ล สรอ้ ยเกษร เจา้ พนกั งานปอู งกนั และบรรเทาฯ
13. นายอนนั ต์ บุญประกอบ เจา้ พนักงานพัฒนาชุมชน
14. นางอมร แสนมาตย์ ผู้ช่วยเจา้ พนักงานธุรการ
15. นายเชิดศกั ด์ิ ราชประดิษฐ์ ผู้ชว่ ยเจ้าพนกั งานปอู งกนั ฯ
16. นายปัญญาพล วงษข์ วัญเมือง พนักงานขบั รถยนต์
17. นายประยรู เทพประสิทธ์ิ คนงานท่ัวไป
18. นายศักดส์ิ ิทธ์ิ ศรีประเวช ยาม
19. นางณชพร อปุ การะ คนงานทว่ั ไป
20. นางสาวอาภาภรณ์ สุขพฒั น์ คนงานทัว่ ไป
21. นางสาวกัณณ์นภัส สุขสม คนงานทว่ั ไป
22. นางสาวจติ ติมา โพธ์ิไพจิตร คนงานทั่วไป
23. นายธนภัทร สุดโต พนกั งานดับเพลิง
24. นายพีระพันธ์ เนตรอนงค์ พนักงานขบั เคร่อื งจกั รกลฯ

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 38

กองคลัง จานวน 8 คน

1. นางสาวอจั ฉรา ไพชยนต์ ผู้อานวยการกองคลัง

2. นางพชิ า ภวู่ ฒั นาพนั ธ์ นกั วชิ าการเงนิ และบญั ชีชานาญการ

3. นางศริ พิ ร คงสว่าง ผ้ชู ว่ ยเจ้าพนกั งานการเงนิ ฯ

4. นายจกั รพันธุ์ จนั ทาบวั พนกั งานขบั รถยนต์

5. นางสาวถริ พร อนิ ทจันทร์ คนงานทว่ั ไป

6. นางสาวลลติ า แสงสวา่ ง คนงานทัว่ ไป

7. นางสาวอมั มกิ า ชาวเขาดิน คนงานทั่วไป

8. นางวาสนา สงั สรรคศ์ ิริ คนงานทัว่ ไป

กองช่าง จานวน 9 คน ผูอ้ านวยการกองชา่ ง
1. นายโกศล อาพันทอง นายชา่ งโยธาชานาญงาน
2. นายธรี ะเดช ฤาไชยคาม พนักงานขับเครอ่ื งจักรกลขนาดเบา
3. นายธนู ศิลปะ คนงานทั่วไป
4. นางมินตรา ถวลิ วงษ์ คนงานทัว่ ไป
5. นายกมั พล พลายยงค์ คนงานทัว่ ไป
6. นายมงคล สขุ พันธ์ คนงานทัว่ ไป
7. นายชยั ชนะ กุมกนั คนสวน
8. นายวนิ ยั ภรี ะทัน พนกั งานขบั รถยนต์
9. นายนพดล ทองสุข

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 39

กองการศึกษา จานวน 14 คน

1. นางวิภาวรรณ พิมพขันธ์ หวั หน้าฝุายบรหิ ารงานการศกึ ษา

2. นางสาวศศิพมิ พ์ สงนพรัตน์ นักวชิ าการศึกษาชานาญการ

3. นางสาวพรทิพย์ เกตมุ ณี ครูชานาญการ

4. นางสาวมยุรา แก้วปาน ครชู านาญการ

5. นางสาวศุภิสรา ศรเี พียงจันทร์ ครชู านาญการ

6. นางสาวปนติ า จิรวาณิชกลุ ครชู านาญการ

7. นางสาวศรตุ า บุญญสทิ ธ์ิ ครู

8. นางสาวประไพพรรณ รอดสถิตย์ คนงานท่ัวไป

9. นางสาวทองเผ่ือ โตสริ ภัทร คนงานทั่วไป

10. นางสมิตา อุทศั น์ ผู้ดูแลเดก็ (ทกั ษะ)

11. นางสาวศริ ีนรินทร์ พันธุข์ ะวงศ์ ผดู้ แู ลเดก็ (ทักษะ)

12. นางสาวดุจดาว คชรตั น์ ผูด้ ูแลเดก็ (ทกั ษะ)

13. นางสาวสริ มิ ณี ปัณชา ผดู้ แู ลเดก็ (ทกั ษะ)

14. นางสาวเอื้องพร อุทัศน์ ผู้ดแู ลเดก็ (ทว่ั ไป)

กองสาธารณสขุ จานวน 15 คน

1. นายสมชาย อารชี ม หัวหนา้ ฝาุ ยส่งเสรมิ สขุ ภาพฯ

2. นางสาวนาตาชา เทพณรงค์ เจา้ พนักงานสาธารณสุขปฏิบัตงิ าน

3. นายภวู ดล นาคพิน พนกั งานขับเคร่อื งจักรกลขนาดเบา

4. นายสชุ าติ พุ่มม่ัน พนักงานขบั เครื่องจกั รกลขนาดเบา

5. นายมานัส ใจสุทธ์ิ พนักงานขบั เครอ่ื งจกั รกลขนาดเบา

6. นายจนิ ดา พ่มุ พวง คนงานประจารถขยะ

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 40

7. นายนริ ุต ดวงจันทร์ คนงานประจารถขยะ

8. นายวีระ กล่นิ เอ่ยี ม คนงานประจารถขยะ

9. นางมงคล คนทน คนงานประจารถขยะ

10. นายแสน เทียนทองวงษ์ คนงานประจารถขยะ

11. นายโรจนศกั ด์ิ รักษ์พลเสน คนงานประจารถขยะ

12. นายวัฒชรา เอมขมน้ิ คนงานประจารถขยะ

13. นายเดชา สุขหา คนงานประจารถขยะ

14. นางสาววรรณิภา นามแสง คนงานทว่ั ไป

15. นางสาวปฐมา ครุฑคา คนงานทั่วไป

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 41

วสิ ัยทัศน์ ขององค์การบริหารสว่ นตาบลสนามชัย (Vision)
“ ตาบลสนามชัย เมอื งแห่งการท่องเทยี่ วเชิงประวัตศิ าสตร์ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตทด่ี ี
เน้นการมีสว่ นร่วมของชมุ ชน บนพืน้ ฐานสภาพแวดล้อมและเมืองน่าอยู่ กา้ วสู่ความเป็นสากล"
พันธกจิ ขององคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลสนามชยั (Mission)

๑. การสร้างระบบบริหารจัดการที่ดี มุ่งเน้นให้มีประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ การวาง
แผนพฒั นา การตรวจสอบเพ่อื ใหเ้ กดิ ความโปร่งใส ในการบรหิ ารและการปกครอง

๒. การสร้างความเข็มแข็งขององค์กรให้มีความเป็นเลิศโดยการปรับปรุงกระบวนการบริหารการเงิน
การคลงั ให้สอดคลอ้ งกบั อานาจหน้าทภ่ี ารกจิ อยา่ งต่อเน่ืองใช้เทคโนโลยใี ห้เป็นประโยชน์

๓. การสรา้ งระบบนา้ ประปา ไฟฟาู นา้ ใชใ้ นการเกษตร คู คลอง ความสะอาด ระบบสาธารณปู โภค
และสาธารณูปโภคที่มีประสทิ ธิภาพและเพียงพอ

๔. การพัฒนาศักยภาพของคน ชุมชน สังคมให้เข้มแข็ง ได้การศึกษา สุขภาพดี ถ้วนหน้า โดยแบ่ง
การพัฒนาที่ยงั่ ยนื

๕. ปรับปรุงและพัฒนาระบบการกีฬาและอาชีพ ตลอดจนอนุรักษ์ แหล่งท่องเที่ยวภูมิปัญญาท้องถ่ิน
และสง่ิ แวดล้อม

๖. การพัฒนาให้เกิดความเป็นชุมชนน่าอยู่ ทั้งทางด้านกายภาพ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและ
ส่ิงแวดล้อม ด้านการเมืองการปกครองและบริหาร ด้านความสงบเรียบร้อย ความปลอดภัยในชีวิตและ
ทรพั ย์สนิ และดา้ นการเชิดชูคุณธรรม

๗. ส่งเสริมการท้องเท่ียวทั้งด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ประเพณี พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
โบราณสถานใหเ้ ป็นแหล่งเศรษฐกิจของท้องถิน่

จานวนบคุ ลากรทางดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์การบรหิ ารส่วนตาบลสนามชัย – คน

แผนแม่บทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 42

การวเิ คราะหส์ ถานภาพดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศขององคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลสนามชัย ปรากฏดงั น้ี
9.1 สถานภาพดา้ นเทคโนโลยีและการสือ่ สารภายใน
คอมพิวเตอร์และผใู้ ช้
องค์การบริหารส่วนตาบลสนามชัย มโี ครงสรา้ งส่วนราชการท้งั สน้ิ 1 สานัก 4 กอง

และมีครุภณั ฑค์ อมพวิ เตอร์ในปัจจุบนั เพ่อื ใช้ในดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารภายในหน่วยงาน
ปรากฏดังน้ี

หน่วยงาน ประเภทคอมพิวเตอร์ (เคร่อื ง)

สานักปลดั โน๊ตบ๊คุ คอมพิวเตอร์ตั้งโตะ๊ รวม
กองคลัง 16
กองชา่ ง 3 13 10
กองสาธารณสุขและสง่ิ แวดลอ้ ม 5
กองการศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม - 10 3
รวมท้ังหมด 11
-5 45

12

- 11

4 41

จากการวเิ คราะห์ขอ้ มูลของบุคลากรและคอมพวิ เตอร์ดังกล่าวข้างต้น จะเห็นได้ว่า เจ้าหน้าท่ี
ไม่รวมฝุายบรหิ ารและกิจการสภา จานวน 25 คน คานวณได้ 1 คน/เครื่อง คอมพิวเตอร์ 1 เคร่ือง ซึ่งในการ
ปฏบิ ตั ิงานภายในขององค์การ เจ้าหนา้ ทีแ่ ตล่ ะตาแหน่งจะต้องปฏิบัติงานในหลายด้าน จึงมีความจาเป็นต้องใช้
คอมพิวเตอรใ์ นการปฏบิ ัติงาน ซ่งึ เป็นสิ่งสาคัญและจาเป็น

ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์
องคก์ ารบริหารส่วนตาบลสนามชัย ได้ดาเนินการออกแบบ วางเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อใช้
งานผ่านระบบ internet กับหน่วยงาน TOT พน้ื ทจี่ งั หวัดสพุ รรณบุรี และใชร้ ะบบ LAN ภายในสานักงาน
ระบบเครอื ขา่ ยไรส้ าย (WI-FI )
องค์การบริหารสว่ นตาบลสนามชัย ได้เปิดให้บริการระบบเครือข่ายไร้สาย แก่ประชาชนผู้มา
รับบริการภายในบริเวณสานักงานองค์การบริหารส่วนตาบลสนามชัย เพื่อการค้นคว้าข้อมูล ของประชาชน
หรือ นักเรยี น นกั ศึกษาทมี่ าใช้บรกิ ารเครอื ข่ายไร้สาย ของทางองคก์ ารบริหารสว่ นตาบลสนามชยั

แผนแม่บทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 43

ความเรว็ ปัจจบุ นั

ระบบส่ือสาร (โทรศพั ท์ภายใน)
องค์การบริหารส่วนตาบลสนามชัย มีระบบส่ือสารทางโทรศัพท์แบบพนักงานรับสายจานวน
1 ชุด โดยใช้หมายเลข 035-535-363 จานวน 1 เลขหมาย อย่างไรก็ดีแนวทางระบบการสื่อสารโทรศัพท์
ภายในจะเป็นแบบตอบรบั อตั โนมตั ิ โดยกดเลขหมายภายในเทา่ นน้ั เพ่ือตดิ ต่อส่ือสารกับส่วนงานต่าง ๆ โดยไม่
จาเป็นตอ้ งมีพนกั งานรบั สาย เพอ่ื เป็นการลดภาระด้านคา่ ใช้จ่ายดา้ นการบรหิ ารงานบุคคล ตอ่ ไป

ระบบโทรสาร (FAX)
องค์การบริหารส่วนตาบลสนามชัย มีระบบโทรสาร จานวน 1 หมายเลข โดยใช้หมายเลข
035-536-013 เพอื่ ติดตอ่ สอื่ สารกับหน่วยงานภายนอกทร่ี วดเรว็ และยงั มคี วามจาเป็นในการใช้เทคโนโลยี นี้

9.2 การพฒั นาระบบสารสนเทศ
องค์การบริหารส่วนตาบลสนามชัย ได้วางแนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศไว้เป็น 2
แนวทาง ซง่ึ จะต้องดาเนนิ การตามแนวทางทีก่ าหนดตามแผนการดาเนินการพัฒนาระบบสารสนเทศ ไดแ้ ก่
9.2.1 มีการจ้างบริษัทเอกชนในการพัฒนาระบบสารสนเทศภายในองค์กร เพ่ือให้การ
ปฏิบัติงานผ่านระบบเครือข่ายมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน รองรับภารกิจตามท่ีกรมส่งเสริมการปกครองส่วน
ทอ้ งถิน่ กาหนด เช่น
-ระบบจดั การฐานขอ้ มลู ทะเบยี นประวัติบุคลากรทอ้ งถ่นิ ( PDMS)
-ระบบสารสนเทศเพื่อการวางแผนและประเมนิ ผล ( Electronic Plan )
-ระบบการพสั ดุ และทะเบียนทรัพยส์ นิ การจัดซ้อื จัดจา้ งภาครฐั ( G-procurement)
-ระบบการจดั เก็บภาษ/ี แผนท่ีภาษี (LTAX)
-ระบบบนั ทกึ บัญชีขององคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ ( E-lass )
-ระบบทะเบยี นบุคลากรองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ (สปสช.)

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 44

9.2.2.แนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศ โดยบุคลากรของหน่วยงานองค์การบริหารส่วน
ตาบลสนามชยั ที่ผ่านการฝึกอบรมดา้ นคอมพวิ เตอร์ หรอื เทคโนโลยสี ารสนเทศที่เกยี่ วขอ้ ง เพื่อบูรณาการด้าน
การดาเนนิ งานของหน่วยงาน อาทิ เชน่

- ระบบการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ภายในหน่วยงาน เพื่อเป็นการลดข้ันตอนการ
ปฏิบัติงาน และจัดเก็บเอกสารทางราชการอย่างเป็นระบบ โดยการออกเลขท่ีหนังสือ เลขท่ีคาสั่ง และลงวันท่ี
ของเลขทีห่ นังสืออย่างเป็นปัจจบุ นั

- ระบบบริหารข้อมูลการอบรม (IT- Training) เป็นการพัฒนาระบบการลงทะเบียนอบรม
ผ่านทางอินเตอร์เน็ต เพื่อให้ง่ายต่อการตรวจสอบ และการประหยัดเวลาในการดาเนินการ สามารถนาไป
วางแผนในการจัดอบรมไดท้ ันท่วงที

- ระบบวันลาพักผ่อนสะสม เป็นการพัฒนาระบบข้อมูลการลาของบุคลากรภายในองค์กรใน
แตล่ ะปงี บประมาณ ให้มคี วามถูกตอ้ งและไมค่ ลาดเคลอ่ื น

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 45

บทท่ี 2

การวิเคราะห์ SWOT

2.1 การวเิ คราะห์ SWOT ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ขององค์การบริหารส่วนตาบล
สนามชัย ที่มีผลต่อการดาเนินงานขององค์การบริหารส่วนตาบลสนามชัย เปรียบเทียบในปีที่ผ่านมา พ.ศ.
2564 - 2566 โดยจากการศกึ ษาสภาพแวดล้อม (SWOT) ปรากฏดังต่อไปนี้

ปัจจยั ภายใน

จุดแขง็ : การกาหนดแนวทางการพัฒนาแผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศทาได้งา่ ย
: มกี ารพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศอยูอ่ ย่างสม่าเสมอ
: มีการจัดหา และปรับปรุงโครงสร้างระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้สอดคล้องกับ
หนว่ ยงานกากบั ดูแล อยู่เสมอ

จดุ ออ่ น : ไม่มีบคุ ลากรท่ดี แู ลระบบเทคโนโลยีสารเสนเทศโดยตรง
: งบประมาณในการพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศขององคก์ ารมอี ย่างจากัด
: การดาเนินการปรับปรุง แก้ไขระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ต้องอาศัยหน่วยงาน
ภายนอกหรอื เอกชน

ปัจจัยภายนอก

โอกาส : หน่วยงานผกู้ ากับดแู ล ให้การสนบั สนุนด้านโปรแกรมการปฏบิ ตั ิงานอยเู่ สมอ
: การพฒั นาการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ดา้ นต่าง ๆ มกี ารฝึกอบรมอยเู่ สมอ
: มีการสร้างความสัมพนั ธ์กับหนว่ ยงานอนื่ เพ่ือใหค้ าปรกึ ษาและแนะนา อยูเ่ สมอ

ภยั คุกคาม : เครอื ข่ายสัญญาณอินเตอรเ์ นต็ ไม่เสถยี ร
: ระบบการดาเนนิ งานทห่ี นว่ ยงานผกู้ ากับดูแล กาหนดให้ใช้ไม่สมบรู ณ์
: การคกุ คามของ Virus ท่มี าจากระบบอินเตอรเ์ น็ต
: การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศตอ้ งใช้งบประมาณดาเนินการมาก
: การดาเนินการจัดหาครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์มีความ ยุ่งยาก ล่าช้า ต้องผ่าน

คณะกรรมการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ระดบั จังหวัดก่อน ไม่ทนั ต่อการใช้งาน

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 46

บทที่ 3

วิสยั ทัศน์ พันธกจิ และ ยทุ ธศาสตร์ แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยีสารเทศ

จากการวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และ ภัยคุกคาม ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของ
องค์การบริหารส่วนตาบลสนามชัย ในปีงบประมาณที่ผ่านมา พ.ศ. 2564-2566 จึงสามารถนามาสรุปและ
จดั ทาเป็นวสิ ยั ทัศน์ พนั ธกจิ และ ยุทธศาสตร์ ในการจดั ทาแผนแม่บทระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ขององค์การ
บรหิ ารสว่ นตาบลสนามชยั ดังน้ี

วิสัยทศั น์ ( Vision)
“ภายในปี พ.ศ. 2566 จะเปน็ หนว่ ยงานท่ีนาระบบ ICT มาใชใ้ นการสนับสนนุ การ

ปฏิบตั ิงานอยา่ งมีคุณภาพ”

พนั ธกจิ (Mission)
1. พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศขององค์การใหม้ คี วามทนั สมัย
2. นาเทคโนโลยีสารสนเทศเขา้ มาสนบั สนนุ การปฏิบตั ิงานอย่างมคี ุณภาพและเต็ม
รูปแบบ
3. ถา่ ยทอดเทคโนโลยีสารสนเทศส่ปู ระชาชนอยา่ งท่ัวถงึ และเปน็ ธรรม
4. พฒั นาบคุ ลากรให้สามารถก้าวทันเทคโนโลยีเพื่อนามาพัฒนาระบบ

เปา้ ประสงคห์ ลัก
1. องค์การบริหารส่วนตาบลสนามชัย อาเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี มี

แผนแม่บทด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพ่ือใชเ้ ปน็ แนวทางในการพัฒนาจัดการระบบ ICT
2. องค์การบริหารสว่ นตาบลสนามชยั มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศท่เี ป็นระบบ
3. องค์การบริหารส่วนตาบลสนามชัย มีระบบเทคโนโลยีสารเทศเพ่ือการบริหาร

และบริการอย่างมปี ระสิทธิภาพ และมปี ระสิทธผิ ล เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ ในการปฏบิ ัตงิ าน
4. องค์การบริหารส่วนตาบลสนามชัย มีบุคลากรท่ีมีความรู้ด้านเทคโนโลยี

สารสนเทศ

ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ขององค์การบริหารส่วนตาบลสนามชัย
เพือ่ ใหบ้ รรลุวัตถุประสงค์ของแผนแม่บทเทคโนโลยสี ารสนเทศ จึงกาหนดใหม้ ยี ุทธศาสตร์ 3 ยทุ ธศาสตร์ดงั น้ี

ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศใหเ้ ป็นระบบ
การมีการจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีระบบเพื่อให้เป็นมาตรฐานในการ

ดาเนินงานขององค์การบรหิ ารสว่ นตาบลสนามชยั ซ่งึ เปน็ ส่งิ จาเป็นอยา่ งมากหากมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์กร แต่ไม่มีการจัดการระบบ ไม่มีการวางแผนงาน จัดหมวดหมู่ของข้อมูลสารสนเทศขององค์กร ซ่ึงจะทา
ให้เกิดปัญหาได้ในภายหลังได้ ดังน้ัน จึงจัดให้มีการพัฒนาและจัดการระบบเทคโนโลยีเข้าสู่ระบบและเป็น
มาตรฐานในการปฏบิ ตั งิ าน

แผนแม่บทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 47

ยุทธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารเทศการบริหาร เพ่ือการบริการอย่างมี

ประสิทธิภาพ และมปี ระสทิ ธิผล เกิดประโยชน์สงู สุดในการปฏบิ ัติงาน

การพัฒนาระบบการบริหาร เพ่ือการบริการประชาชน ให้มีประสิทธิภาพ เกิด

ประโยชน์สูงสุดแก่ผู้รับบริการ และผู้ให้บริการ โดยมีความพึงพอใจ และส่งผลดีต่อการพัฒนาองค์กร สู่การ

พัฒนาประเทศชาติ ต่อไป ดังน้ัน ระบบเทคโนโลยีจึงจาเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องมีข้อมูลข่าวสารท่ีครบถ้วน เป็น

จริง และสามารถตรวจสอบได้ ตามแนวทางของหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี และไม่ละเมิดสิทธิส่วน

บคุ คล หรอื กอ่ ให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอน่ื หนว่ ยงานอื่น ฯลฯ

ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาบุคลากรให้มคี วามร้ดู า้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ

การพัฒนาระบบ ICT หรือพัฒนาองค์การท่ีสอดคล้องกับการพัฒนา แต่หากไม่

พัฒนาบคุ ลากรผู้ใช้ระบบก็ไม่มีประโยชน์ท่ีจะกาหนดให้มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภายในหน่วยงาน ดังนั้น

การจะทาให้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสารสนเทศในองค์กรมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับการให้บริการ และ

การปฏิบัติงานของบุคลากร จึงจาเป็นต้องพัฒนาบุคลากรในหน่วยงานให้มีความรู้และความสามารถใช้งาน

ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างดีเย่ียมอยู่เสมอ รวมท้ังจัดหาบุคลากรท่ีมีความรู้ด้าน ICT มาประจางานด้าน

ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

ซึ่งท้ัง 3 ยุทธศาสตร์ท่กี ลา่ วมาขา้ งตน้ มคี วามสมั พันธก์ ับภารกิจหลักขององค์การบริหารส่วน

ตาบลสนามชยั ดงั ต่อไปนี้

ยุทธศาสตร์ งาน งาน งาน งาน งาน งาน งาน งาน งาน งาน
ก่อสรา้
การ วิเคราะห์ พัฒนา การเงนิ ปูองกนั พัสดุ จดั เก็บ การ สาธารณ

บริหาร นโยบาย ชมุ ชน และ และ และ รายได้ ศกึ ษา สขุ
/
งาน และแผน บญั ชี บรรเท ทรัพ /

บคุ คล าสา ยส์ ิน /

ธารณ

ภยั

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1

พฒั นาระบบเทคโนโลยี / / / / / / / / /

สารสนเทศใหเ้ ปน็ ระบบ

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2

พฒั นาระบบเทคโนโลยี / / / / / / / / /

สารเทศการบริหาร เพือ่

การบริการอยา่ งมี

ประสิทธภิ าพ และมี

ประสทิ ธผิ ล เกดิ ประโยชน์

สูงสดุ ในการปฏบิ ัติงาน

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3

พัฒนาบคุ ลากรให้มีความรู้ / / / / / / / / /

ด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 48

บทท่ี 4

ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาเทคโนโลยสี ารสนเทศ

4.1 ยุทธศาสตร์การพัฒนาเทคโนโลยสี ารสนเทศ ขององค์การบริหารสว่ นตาบลสนามชัย กาหนด

ไว้ 3 ยทุ ธศาสตร์ ดงั นี้

4.1.1 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศใหเ้ ป็นระบบ

4.1.2 ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารเทศการบริหาร เพอ่ื การบริการอยา่ งมี

ประสิทธิภาพ และมีประสิทธผิ ล เกิดประโยชนส์ ูงสดุ ในการปฏบิ ตั ิงาน

4.1.3 ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 พฒั นาบคุ ลากรใหม้ ีความรูด้ ้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

4.2.การแปลงยุทธศาสตรส์ ่แู ผนงานโครงการดงั ตอ่ ไปน้ี

ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศให้เปน็ ระบบ

วัตถุประสงค์

เพ่ือให้เป็นมาตรฐานในการดาเนินงานขององค์การบริหารส่วนตาบลสนามชัย ซึ่งเป็น

สงิ่ จาเปน็ อยา่ งมากหากมีระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศองคก์ ร แต่ไม่มีการจัดการระบบ ไม่มีการวางแผนงาน จัด

หมวดหมู่ของข้อมูลสารสนเทศขององค์กร ซึ่งจะทาให้เกิดปัญหาได้ในภายหลังได้ ดังน้ัน จึงจัดให้มีการพัฒนา

และจดั การระบบเทคโนโลยเี ข้าสูร่ ะบบและเปน็ มาตรฐานในการปฏบิ ตั งิ าน

เป้าหมาย

1. วางระบบฐานข้อมลู ใหค้ รบถว้ นและเป็นปัจจุบนั

2. มมี าตรฐานในการกากับ ดแู ล และตรวจสอบไดต้ ลอดเวลา

แผนปฏิบตั กิ ารตามยุทธศาสตรท์ ี่ 1 พฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้เปน็ ระบบ

แผนงาน : ตดิ ตัง้ ระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอรใ์ ห้ครอบคลุมการใหบ้ ริการขององคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลสนามชัย

กจิ กรรมหลกั /โครงการ ตวั ชีว้ ัด เปาู หมาย/งบประมาณ ผรู้ ับผดิ ชอบ งบประมาณ

หน่วย 2564 2565 2566 รวม
นับ (บาท) (บาท) (บาท) (บาท)

1.เชื่อมโยงระบบเครือขา่ ย มีระดับความเรว็ จุด 3 3 3
อินเตอร์เน็ตให้ครอบคลมุ ทุก ของอินเตอรเ์ น็ตใน 92,400 86,400 86,400 สานกั งานปลดั 265,200

กองภายในสานักงาน องค์การทุกจุด

2.จัดใหม้ ีศูนยข์ อ้ มลู ข่าวสาร มีห้องศนู ย์ข้อมูล แห่ง 1 1 1
กลาง (DATA CENTER) 25,000 สานักงานปลดั 80,000
ขา่ วสารเพ่อื สบื ค้น 30,000 25,000

ขอ้ มลู ข่าวสารตา่ งๆ

ของผมู้ าใช้บรกิ าร

3.จดั หาระบบโทรศพั ท์ภายใน มีโทรศัพท์เพ่ือ เคร่อื ง 5 5 5
6,000 6,000 6,000 สานักงานปลดั 18,000
อาคารสานักงานให้ครบทกุ กอง ตดิ ตอ่ กนั ภายใน

และห้องผู้บริหาร อย่างท่วั ถึง

รวมค่าใช้จ่ายตามแผนยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 ทงั้ หมด 128,000 117,400 117,400 สานักงาน 363,200
ปลัด

แผนแม่บทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 49

ยุทธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารเทศการบริหาร เพ่ือการบริการอย่างมี

ประสทิ ธภิ าพ และมปี ระสิทธผิ ล เกิดประโยชนส์ งู สดุ ในการปฏิบตั ิงาน

วัตถปุ ระสงค์

เพื่อให้การบริการประชาชน มีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้รับบริการ และผู้

ให้บรกิ าร โดยมีความพงึ พอใจ และสง่ ผลดตี อ่ การพฒั นาองคก์ าร สู่การพัฒนาประเทศชาติ ต่อไป ดังน้ัน ระบบ

เทคโนโลยีจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีข้อมูลข่าวสารที่ครบถ้วน เป็นจริง และสามารถตรวจสอบได้ ตาม

แนวทางของหลักการบรหิ ารกจิ การบา้ นเมืองทดี่ ี และไมล่ ะเมิดสทิ ธิส่วนบุคคล หรือ กอ่ ให้เกิดความเสียหายแก่

บุคคลอื่น หน่วยงานอื่น

เป้าหมาย

1. ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ มีความพร้อมแก่การให้ปฏิบัติงาน และการให้บริการ

ประชาชน

2. มีอปุ กรณใ์ นการปฏบิ ัตงิ านอย่างเพียงพอต่อความต้องการ

3. มีระบบรักษาความปลอดภัยของขอ้ มลู ส่วนบคุ คล

แผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารเทศการบริหาร เพ่ือการ

บริการอย่างมีประสทิ ธภิ าพ และมีประสิทธผิ ล เกิดประโยชนส์ งู สดุ ในการปฏบิ ัตงิ าน

แผนงาน : ระบบการใหบ้ รกิ ารเครอื ขา่ ยจากสว่ นกลางให้ครอบคลมุ การใหบ้ ริการอินเตอรเ์ น็ตและระบบส่ือสารสารสนเทศ

กจิ กรรมหลัก/โครงการ ตัวช้วี ัด เปูาหมาย/งบประมาณ ผู้รบั ผดิ ชอบ งบประมาณ

หนว่ ย 2564 2565 2566 รวม

นบั (บาท) (บาท) (บาท) (บาท)

1.จัดหาเครอื่ ง มเี ครือ่ งแม่ข่ายเพื่อให้ เคร่ือง - - 1

คอมพิวเตอร์แม่ข่าย บรกิ ารดา้ นเว็บไซต์และ 100,000 สานักงาน 100,000

ฐานขอ้ มูลสาหรับ ปลดั

หน่วยงาน

2.จัดหาคอมพิวเตอร์ มเี คร่ืองคอมพวิ เตอร์ เคร่ือง - - 1

โนต๊ บคุ๊ สาหรับงาน สาหรบั ใชป้ ฏบิ ตั ิงานของ

สานักงาน เจ้าหนา้ ท่ีสานกั งานและ 21,000 สานกั งาน 21,000

เจา้ หนา้ ทีป่ ระจาศูนย์ ปลดั

ตามมาตรฐาน ICT

3.จัดหาคอมพิวเตอร์ มีเคร่อื งคอมพิวเตอร์ เคร่อื ง - 1 -

สาหรับงานประมวลผล สาหรับงานประมวลผล 30,000 กองคลงั 30,000

แบบที่ 2 แบบที่ 2 ตามมาตรฐาน

ICT

4. จดั ระบบเครอื ข่าย มเี ครือข่ายสารสนเทศ ครั้ง 1 1 1

สารสนเทศผ่าน ผา่ นอนิ เตอร์เน็ต 9,800 9,800 9,800 สานักงาน 29,400

อินเตอร์เน็ตสานกั งาน ปลดั

แผนแมบ่ ทระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 50


Click to View FlipBook Version