The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-Book-กฎหมายการศึกษา-ศิริธร-604150610

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by siritorn.nay, 2021-03-24 05:58:10

E-Book-กฎหมายการศึกษา-ศิริธร-604150610

E-Book-กฎหมายการศึกษา-ศิริธร-604150610

48

ประเภทการลา

1. การลาปว่ ย
2. การลาคลอดบตุ ร
3. การลาไปชว่ ยเหลอื ภรรยาท่ีคลอดบตุ ร
4. การลากจิ ส่วนตัว
5. การลาพักผอ่ น
6. การลาอปุ สมบทหรอื การลาไปประกอบพธิ ีฮัจย์
7. การลาเขา้ บริการตรวจหรอื เข้ารับการเตรียมพล
8. การลาไปศึกษาฝกึ อบรมปฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั หรอื ดงู าน
9. การลาไปปฏบิ ัตงิ านในองค์การระหวา่ งประเทศ
10.การลาติดตามคสู่ มรส
11.การลาไปฟน้ื ฟูสมรรภถาพดา้ นอาชพี

1. การลาปว่ ย

- ปีละไม่เกนิ 60 วันทาการ
- กรณจี าเป็นผมู้ อี านาจสามารถให้ลาได้อีกไม่เกนิ 60 วันทาการ
- เสนอใบลา กอ่ น/ในวนั ลา
- ลาต้งั แต่ 30 วนั ขึน้ ไป ตอ้ งมีใบรับรองแพทย์
- แมไ้ ม่ถงึ 30 วันแตผ่ ู้มอี านาจฯ จะสง่ั ให้มี
ใบรับรองแพทย์/ใบรบั การตรวจจากแพทยก์ ็ได้

51

49

2. การลาคลอดบุตร

- สามารถลาไดไ้ ม่เกิน 90 วนั /ครั้ง
- ไม่ตอ้ งมีใบรบั รองแพทย์
- ตอ้ งเสนอใบลา ก่อน/ในวนั ลา
- สามารถลาวันท่ีคลอด/ก่อนวันที่คลอดก็ได้
- ถา้ ลาแลว้ ไมไ่ ดค้ ลอดให้ถอื ว่าวนั ทหี่ ยุดไปแลว้ เปน็ วันลากิจสว่ นตัว
- การลาคลอดท่ีคาบเกี่ยวกับลาประเภทอื่นซึ่งยังไม่ครบ ให้ถือว่า ลาประเภทอื่น
สนิ้ สุดและใหน้ ับเป็นวันเริ่มลาคลอดบตุ ร

3. การลาช่วยเหลอื ภรรยาทีค่ ลอดบตุ ร

- ลาไปชว่ ยเหลอื ภริยาโดยชอบดว้ ยกฎหมาย
- ลาไดค้ รัง้ หน่ึงตดิ ต่อกนั ไดไ้ ม่เกิน 15 วันทาการ
- เสนอใบลา กอ่ น/ในวนั ลาภายใน 90 วัน
- ไดร้ บั เงนิ เดอื นระหวา่ ลา

4. การลาปว่ ย

- ไม่เกิน 60 วันทาการ
- กรณจี าเป็นผมู้ ีอานาจสามารถให้ลาไดอ้ ีกไมเ่ กนิ 60 วนั ทาการ
- เสนอใบลา ก่อน/ในวันลา
- ลาต้ังแต่ 30 วันขึ้นไป ตอ้ งมใี บรบั รองแพทย์
- แม้ไมถ่ งึ 30 วันแต่ผมู้ ีอานาจฯ จะสัง่ ให้มีใบรบั รองแพทย์/ใบรับการตรวจจาก
แพทยก์ ไ็ ด้

52

50

5. การลาคลอดบตุ ร

- สามารถลาไดไ้ มเ่ กนิ 90 วัน/ครัง้
- ไม่ตอ้ งมใี บรบั รองแพทย์
- สามารถลาวนั ทคี่ ลอด/ก่อนวันทคี่ ลอดก็ได้
- ถ้าลาแล้วไม่ไดค้ ลอดใหถ้ ือว่าวนั ทห่ี ยุดไปแล้วเป็นวนั ลากจิ สว่ นตัว
- การลาคลอดที่คาบเก่ียวกับลาประเภทอ่ืนซึ่งยังไม่ครบ ให้ถือว่า ลาประเภทอื่น
สิน้ สุดและใหน้ บั เปน็ วันเร่มิ ลาคลอดบตุ ร

6. การลาอปุ สมบทหรอื การลาไปประกอบพธิ ฮี จั ย์

กรณีไม่เกนิ 120 วนั
- ต้องไมเ่ คยลาประเภทน้มี ากอ่ น
- รบั ราชการไมน่ อ้ ยกวา่ 1 ปี

การเสนอใบลา
- กอ่ นอุปสมบท หรอื เดนิ ทางไม่น้อยกว่า 60 วนั
- อปุ สมบท หรือเดินทางภายใน 10 วัน
- เสร็จแลว้ รายงานตวั ภายใน 5 วัน
- หากลาแล้วขอถอนวันลา ถือวา่ วันทีห่ ยดุ ไปเปน็ วันลากิจสว่ นตัว

53

51

7. การลาเข้าบริการตรวจหรอื เขา้ รบั การเตรยี มพล

เข้ารับการตรวจเลือก : เพ่อื รับราชการเป็นทหารกองประจาการ
- ให้รายงานผ้บู ังคบั บัญชาก่อนไมน่ ้อยกวา่ 48 ชม.

เข้ารับการเตรยี มพล : เข้ารบั การระดมพล ตรวจสอบพล ฝกึ วชิ าการทหาร ทดสอบความ
พรง่ั พรอ้ ม

- รายงานผู้บงั คับบญั ชาภายใน 48 ชม. นบั แตร่ ับหมายเรยี ก ลาไดต้ ามระยะเวลา
ของภารกิจในหมายเรียก เสร็จภารกิจให้กลับภายใน 7 วัน (ต่อได้รวมแล้วไม่เกิน 15
วนั )

8. การลาไปศกึ ษาฝึกอบรมปฏบิ ตั ิการวิจัยหรือดงู าน

ได้รับเงนิ เดอื นไม่เกิน 4 ปี ตอ่ ได้ รวมไมเ่ กิน 6 ปี พน้ ทดลองงานเสนอใบลาต่อ
ผู้บังคับบัญชาตามลาดับ จนถึงหัวหน้าส่วนราชการ (ในประเทศ) หรือถึงปลัดกระทรวง
(ตา่ งประเทศ)
กรณตี ่างประเทศ

- ไปศึกษา/ปฏิบัติการวิจัย ต้องรับราชการมาไม่น้อยกว่า 1 ปี ลาศึกษาต่อใน
ประเทศ (กรณีให้ไดร้ ับเงินเดอื น)

- หลักสูตรท่ีไม่สูงกว่าปริญญาตรี สามารถลาได้มีกาหนดเท่ากับระยะเวลาของ
หลกั สตู ร

54

52

9. การลาไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ

- องคก์ ารฯ ซ่ึงไทยเปน็ สมาชกิ และถึงวาระตอ้ งสง่
- รฐั บาลไทยมขี ้อผูกพนั ทจ่ี ะตอ้ งส่งฯ ตามความตกลงระหวา่ งประเทศ
- ส่งเพอ่ื พทิ กั ษร์ กั ษาผลประโยชนข์ องประเทศตามความตอ้ งการรัฐบาลไทย
ข้าราชการท่ีลาไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศที่มีระยะเวลาไม่เกิน ๑ ปี
เมือ่ ปฏิบัติงานแล้วเสร็จ ให้รายงานตัวเข้าปฏิบัติหน้าที่ราชการภายใน ๑๕ วัน นับแต่
วันครบ กาหนดเวลาและให้รายงานผลเกย่ี วกับการลาไปปฏบิ ัติงานให้รฐั มนตรีเจ้าสังกัด
ทราบภายใน ๓๐ วัน นบั แต่วันที่กลบั มาปฏบิ ตั หิ นา้ ทร่ี าชการ

10. การลาตดิ ตามคสู่ มรส

เป็นคู่สมรสโดยชอบดว้ ยกฎหมาย ซึ่งเปน็ ขา้ ราชการ หรือพนักงานรัฐวิสาหกิจลา
ไดไ้ ม่เกนิ 2 ปี

- ต่อไดอ้ ีก 2 ปี รวมไม่เกิน 4 ปี
- ถ้าเกนิ ใหล้ าออก
ไม่ไดร้ ับเงนิ เดอื นระหวา่ งลาผมู้ ีอานาจจะอนุญาตให้ลาครั้งเดียวหรือหลายคร้ังก็ได้
และค่สู มรสต้องอยู่ปฏบิ ตั ิหนา้ ทร่ี าชการติดต่อกนั ครบกาหนด 4 ปี ไม่มีสิทธิลา ยกเว้น
คสู่ มรสกลบั มาแล้วและได้รบั คาส่ังใหไ้ ปอกี

55

53

11. การลาไปฟน้ื ฟสู มรรถภาพด้านอาชีพ

ข้าราชการผไู้ ดร้ ับอนั ตรายหรอื การป่วยเจ็บเพราะเหตุปฏิบัติราชการในหน้าท่ี ถูก
ประทุษร้ายเพราะเหตกุ ระทาการตามหน้าท่ี จนทาใหต้ กเป็นผทู้ พุ พลภาพหรือพิการ
-ลาไปฟ้ืนฟูด้านอาชีพได้ตามระยะเวลาท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรที่ประสงค์จะลา แต่ไม่
เกิน 12 เดือน

ข้าราชการที่ได้รับอันตรายหรือการป่วยเจ็บจนทาให้ตกเป็นผู้ทุพพลภาพหรือ
พิการเพราะเหตอุ ื่น

- ลาไปฟ้ืนฟูด้านอาชีพได้ตามระยะเวลาที่กาหนดไว้ในหลักสูตรที่ประสงค์จะลา
แต่ไม่เกิน 12 เดือนจัดส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชาตามลาดับจนถึงผู้มีอานาจพิจารณา
หรอื อนุญาตพรอ้ มแสดงหลกั ฐานเกี่ยวกบั หลกั สูตรทีป่ ระสงคจ์ ะลา และเอกสารท่ีเก่ยี วขอ้ ง
(ถา้ มี) เพ่ือพจิ ารณาอนญุ าต

56

54

ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ดว้ ยการพานกั เรียนและ
นกั ศกึ ษาไปนอกสถานศกึ ษา

57

55

ขอ้ 4 ในระเบียบน้ี

นักเรียนและนักศึกษา” หมายความว่าบคุ คลซ่งึ กาลงั รับการศึกษาในสถานศึกษา“
สถานศึกษา” หมายความวา่ สถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการและให้หมายความ
รวมถงึ สถานศกึ ษาท่อี ยูใ่ นกากบั ดูแลหรืออยใู่ นความควบคุมของกระทรวงศึกษาธิการด้วย
“ หัวหน้าสถานศึกษา” หมายความว่าผู้อานวยการหรือตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มี
อานาจหน้าทใ่ี นลักษณะเดยี วกนั ทั้งของรฐั และเอกชนท่มี อี านาจหนา้ ท่ีหรอื วตั ถปุ ระสงค์ใน
การจัดการศกึ ษา“ การพานกั เรยี นและนักศกึ ษาไปนอกสถานศึกษา” หมายความว่าการ
ท่ีหวั หนา้ สถานศกึ ษาหรอื ผทู้ ห่ี ัวหน้าสถานศึกษามอบหมายพานักเรียนและนักศึกษาไป
ทากิจกรรมการเรียนการสอนนอกสถานศึกษาซ่ึงอาจไปเวลาเปิดทาการสอนหรือไม่ก็ได้
หรือไปทากิจกรรมการเดินทางไกลและการเข้าค่ายพักแรมของลูกเสือเนตรนารีและยุว
กาชาด แต่ไมร่ วมถงึ การไปนอกสถานท่ีตามคาสง่ั ในทางราชการ

58

56

ขอ้ 5 การพานกั เรยี นและนักศึกษาไปนอกสถานศกึ ษา
จาแนกเป็น 3 ประเภท ดังน้ี

- การพาไปนอกสถานศกึ ษา
- การพาไปนอกสถานศึกษาพักแรม
- การพาไปนอกราชอาณาจกั ร

ขอ้ 6 การพานกั เรียนและนกั ศึกษา ไปนอกสถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ ไปตามความสมัคร

ใจ ของนักเรียนและนักศึกษาโดยความยินยอมของผู้ปกครองตามแบบท่ีกาหนดท้าย
ระเบยี บนี้

ขอ้ 7 การพานกั เรยี นและนกั ศกึ ษาไปนอกศึกษาทุกประเภทใหป้ ฏบิ ัติดงั นี้
- ตอ้ งคานงึ ถงึ ความปลอดภัยในการเดินทางและการพักแรมเป็นอันดับแรก

- ตอ้ งได้รับอนุญาตก่อน โดยขออนญุ าตตามแบบท่กี าหนดท้ายระเบยี บ
- ให้หัวหน้าสถานศึกษา จานวน 1 คน เป็นผู้ควบคุม และต้องมีครู จานวน1
คน ตอ่ นักเรียนไม่เกิน 30 คน และให้มีครคู วบคมุ ด้วยตามความเหมาะสม
- หัวหน้าเลอื กเสน้ ทางท่จี ะเดินทาง

59

57

- ในการเดินทางให้พิจารณาขอความร่วมมือไปยังหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพ่ือขอ
คาแนะนาหรือขอความร่วมมืออื่นเท่าที่จาเป็นรวมถึงจัดให้มีป้ายข้อความที่ระบุโครงการ
กิจกรรมและสถานศึกษาแสดงให้เห็นเด่นชัดติดที่ด้านข้างรถและมีหมายเลขกากับติดที่
ด้านหนา้ และดา้ นหลังรถในตาาแหนง่ ที่เห็นชัดเจนกรณีการพานักเรียนและนักศึกษาไป
นอกสถานศึกษาโดยใชร้ ถโดยสารไม่ต่ากว่า 40 ที่นั่งจานวน 3 อันขึ้นไปควรจัดให้มีรถ
น่าขบวนสาหรับการใช้รถโดยสารต่ากว่า 40 ที่น่ังจานวน 3 นข้ึนไปให้หัวหน้า
สถานศึกษาพจิ ารณาตามความเหมาะสม

- จัดให้มีอุปกรณ์ปฐมพยาบาลเบื้องต้นประจกรถหรือยานพาหนะและดูแล
นักเรยี นและนกั ศึกษา
ทม่ี ีโรคประจาตวั เปน็ พเิ ศษ

- เพอ่ื การคมุ้ ครองความปลอดภยั ในชวี ิตและโรคกายของนกั เรยี นและนกั ศึกษาใน
การพนกั เรียนและนกั ศึกษาไปนอกสถานศกึ ษาใหส้ ถานศึกษาจัดให้มีการประกันภัยการ
เดินทางนักเรียนและนกั ศกึ ษาเว้นแตส่ ถานศึกษาได้จัดใหม้ กี ารประกนั ภยั ท่คี ุม้ ครอง

60

58

ข้อ 8 ให้บคุ คลดังต่อไปน้เี ปน็ ผมู้ อี านาจพิจารณาอนุญาตตามขอ้ 5

- หัวหนา้ สถานศึกษาสาหรบั การพาไปนอกสถานศึกษาไม่พกั แรมตามขอ้ 5
- ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาผู้อนุญาตตามกฎหมายว่าด้วย
โรงเรียนเอชนผู้มีอานาจเหนือสถานศกึ ษาขน้ึ ไปอีกช้ันหน่ึงหรือผู้ได้รับมอบหมายแล้วแต่
กรณีสาหรบั การพาไปนอกสถานศกึ ษาพกั แรมตามข้อ 5
- หัวหน้าส่วนราชการหรือผู้ได้รับมอบหมายสาหรับการพาไปนอกราชอาณาจักร
ตามข้อ 5 (3) สาหรับสถานศึกษาเอกชนประเภทโรงเรียนในระบบตามกฎหมายว่าตัวย
โรงเรียนเอกชนให้หัวหน้าสถานศึกษาเป็นผู้มีอานาจพิจารณาอนุญาตการพาไปนอก
สถานศึกษาไมพ่ ักแรมตามข้อ 5 (1) ใหผ้ รู้ บั ใบอนุญาตเป็นผู้มีอานาจพิจารณาอนุญาต
การพไปนอกสถานศึกษาพักแรมตามข้อ 5 (2) และให้ผู้รับใบอนุญาตโดยความ
เหน็ ชอบของคณะกรรมการบริหารโรงเรยี นเปน็ ผมู้ ีอานาจพิจารณาอนุญาตการพาไปนอก
ราชอาณาจกั รตามข้อ 5 (3)

61

59

ข้อ 9 ให้สถานศึกษาส่งคาขออนุญาตพร้อมโครงการท่ีจะพานักเรียนและ
นักศกึ ษาไปนอก

สถานศกึ ษาตอ่ ผู้มอี านาจพิจารณาอนญุ าตกอ่ นวันเดินทางไม่น้อยกว่า 15 วันหาก
ไม่สามารถย่ืนคาขอได้ทันภายในกาหนดเวลาดังกล่าวให้ชี้แจงเหตุผลความจาเป็นด้วย
เม่ือไดร้ บั อนญุ าตแล้วจึงออกเดนิ ทางได้เอกสารประกอบ การย่ืนคาขออนุญาตตามวรรค
หนึ่งอย่างน้อยต้องประกอบด้วยชื่อโครงการหลักการและเหตุผลวัตถุประสงค์เป้าหมาย
ข้ันตอนการดาเนินงานระยะเวลาและสถานที่ดาเนินการกิจกรรมรายชื่อหน่วยงานและ
ผู้รับผิดชอบโครงการรายช่ือผู้ควบคุมและผู้ช่วยผู้ควบคุมในการเดินทางรายช่ือนักเรียน
และนักศึกษาที่จะเดินทางไปนอกสถานศึกษาแผนท่ีสังเขปแสดงเส้นทางการเดินทาง
แผนผังแสดงท่ีตั้งของสถานท่ีท่ีไปนอกสถานศึกษาหรือสถานท่ีพักแรม เพื่อการ
ตรวจสอบและติดตามผลการดาเนนิ งานทุกระยะและแผนสารองกรณเี หตฉุ กุ เฉินเปน็ ต้น

62

60

ใหส้ ถานศกึ ษาเอกชนประเภทโรงเรยี นในระบบตามกฎหมายว่าดว้ ยโรงเรียนเอกชน
รายงานการพิจารณาอนุญาตตามข้อ 8 วรรคท้ายต่อผู้อนุญาตตามกฎหมายว่าด้วย
โรงเรียนเอกชนก่อนวันเดินทางไม่น้อยกว่า 3 วันทาการตามแบบที่กาหนดท้ายระเบียบ
น้ี

ในกรณีที่ผู้อนุญาตตามกฎหมายว่าตัวยโรงเรียนเอกชนเห็นว่าการพิจารณา
อนุญาตตามข้อ 8 วรรคท้ายอาจมีภัยอันตรายหรือเหตุการณ์อันกระทบต่อสวัสดิภาพ
ของนักเรียนหรือการจัดการศึกษาให้แก่นักเรียนหรือสถานท่ีท่ีจะเดินทางไปนอก
สถานศกึ ษาหรอื สถานทีพ่ ักแรมมสี ภาพขดั ตอ่ สุขลกั ษณะหรอื อนามัยหรือมีเหตอุ น่ื อนั อาจ
เปน็ ภยั อันตรายตอ่ นักเรยี นใหผ้ อู้ นุญาตตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชนมีอานาจส่ัง
ใหร้ ะงับยับยงั้ แกไ้ ขเปลีย่ นแปลงหรอื ยกเลกิ การพจิ ารณาอนุญาตตามข้อ 8 วรรคท้ายได้
ตามที่เหน็ สมควร

ขอ้ 10 ให้ผูค้ วบคมุ และผูช้ ่วยผคู้ วบคุมมหี นา้ ท่ตี อ้ งปฏบิ ัตดิ ังนี้

- ตาเนินการใหน้ กั เรียนและนกั ศกึ ษาอย่ใู นระเบียบวินยั เพ่ือให้การเดินทาเป็นไป
ดา้ นความเรยี บร้อยและปลอดภยั

- ไม่เสพสุธาสี่แสพติดของมึนเมาหรือวัตถุที่ออกฤทธ์ิต่อจิตและประสาทและเล่น
การพนนั ทุกชนิด

63

61

- จดั ใหม้ ชี อ่ งทางหรือระบบการติดตอ่ ส่อื สารและหมายเลขโทรศัพท์ของหน่วยงาน
ท่เี กย่ี วขอ้ งเพอ่ื การประสานในทุกระยะ

- ดูแลนกั เรียนและนักศึกษาใหไ้ ดร้ บั ความปลอดภัยตลอดเวลาที่อยใู่ นระหวา่ งการ
เดนิ ทางและในกรณที ่เี กิดอบุ ัติเหตุจะตอ้ งให้ความชว่ ยเหลอื

- เมือ่ ปรากฏวา่ มีกรณีเกดิ อบุ ัติเหตทุ ี่เป็นอันตรายต่อความปลอดภัยในชีวิตและง
กายของนกั เรียนและนักศึกษาให้ผู้ควบคุมและผู้ช่วยผู้ตบคุมดูแลนักเรียนและนักศึกษา
ดาเนินการยานต่อหวั หนา้ สถานศกึ ษาทราบโดยเรว็ และเมอ่ื เหตกุ ารณ์น้นั ผา่ นพน้ ไป
ใหร้ ายจนเปน็ ลายลักษณ์อกั ษร
อีกครง้ั หนงึ่

ขอ้ 11 ผู้ควบคมุ และผชู้ ่วยผ้คู วบคมุ ต้องกากบั ให้พนักงานขับรถหรือควบคุม
ยานพาหนะปฏิบตั ิดงั นี้

- ควบคุมยานพาหนะให้เป็นไปตามลาดับหมายเลขตามเส้นทางท่ีกาหนดใน
แผนการเดนิ ทาง

- ตรวจสอบสภาพรถหรอื ยานพาหนะและอปุ กรณ์ตา่ งๆใหอ้ ย่ใู นสภาพดีและพร้อม
ท่ีจะใชก้ ารได้ตลอดเวลา

64

62

- ขับรถหรือควบคุมยานพาหนะด้วยความระมัดระวังไม่ขับรถหรือควบคุม
ยานพาหนะในลักษณะประมาทหรือน่าหวาดเสียวอันน่าจะเป็นอันตรายแก่บุคคลหรือ
ทรัพยส์ นิ

- ไม่ใช้โทรศัพท์เคล่ือนที่ในขณะขับรถหรือควบคุมยานพาหนะเว้นแต่การใช้
โทรศัพท์เคลอ่ื นทโี่ ดยใช้อปุ กรณ์เสริมสาหรับการสนทนาโดยพนักงานขับรถหรือควบคุม
ยานพาหนะไม่ต้องถอื หรือจบั โทรศพั ทเ์ คล่อื นท่ีนั้น

- ไมข่ บั รถหรอื ควบคุมยานพาหนะในขณะทม่ี ีอาการมนี เมาหรือเสพสรุ าหรือวตั ถุท่ี
ออกฤทธ์ิ
ตอ่ จิตและประสาทระหวา่ งการขับรถ

ข้อ 12 การพานักเรยี นและนกั ศึกษาโปนอกสถานศึกษาพักแรมใหผ้ คู้ วบคมุ
ปฏิบัตดิ งั นี้

- เมื่อเดินทางถึงสถานท่ีจัดกิจกรรมต้องจัดให้มีการปฐมนิเทศเพ่ือแจ้งกฏ
ระเบยี บขอ้ ปฏบิ ัตใิ นการใช้สถานที่และการปฏิบัติตนขณะอยู่ในบริเวณท่ีจัดกิจกรรมและ
ทีพ่ ักแรม

- จดั สถานท่พี กั แยกชาย-หญิงใหเ้ ปน็ สว่ นสัด
- จดั ให้มีระบบดูแลรกั ษาความปลอดภัยตลอดช่วงเวลาจดั กิจกรรม

65

63

- จัดเจ้าหน้าท่ีหรือบุคคลผู้มีความรู้ในการด้านการรักษาพยาบาลเพื่อดูแล
นกั เรียนนกั ศึกษาระหวา่ งกระทากจิ กรรมรวมท้ังจดั รถรับ-สง่ กรณมี ีเหตฉุ กุ เฉนิ ใ ห้ รี บ
รายงานด้วยวาจาต่อผู้อนุญาตโดยด่วนเพื่อให้ความช่วยเหลือเป็นไปด้วยความรวดเร็ว
และมีประสิทธิภาพและเมื่อเหตุการณ์น้ันผ่านพ้นไปให้รายงานเป็นลายลักษณ์อักษรอีก
คร้งั หนงึ่ โดยเร็ว

ข้อ 13 เม่อื กลบั จากการพานักเรยี นและนักศึกษาโปนอกสถานศึกษาแล้วให้
รายงานให้ผู้อนญุ าตตามขอ้ 8 ทราบตามแบบทีก่ าหนดท้ายระเบยี บน้ี

สาหรับสถานศึกษาเอกชนประเภทโรงเรียนในระบบตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียน
เอกชนนอกจากการรายงานตามวรรคหน่ียแล้วในกรณีท่ีพาไปนอกสถานศึกษาพักแรม
ตามข้อ 5 (2) และการพาไปนอกราชอาณาจักรตามข้อ 5 (3) ต้องรายงานผลการพา
นักเรียนไปนอกสถานศึกษาให้กับผู้อนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชนทราบ
ภายใน 15 วันหลังจากการพานักเรยี นไปนอกสถานศกึ ษาเสรจ็ สิ้นแล้ว

66

64

ข้อ 14 ให้ถือว่าครูอาจารย์ผู้ควบคุมหรือผู้ช่วยผู้ควบคุมที่พานักเรียนและ
นักศึกษาไปนอกสถานศึกษาเป็นการปฏิบัติหน้าที่ราชการและให้เบิกคาใช้
จา่ ยในการเดินทางได้ตามระเบยี บของทางราชกาย

15 ให้ปลัดกระทรวงศึกษาธิการชักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้และให้มี
อานาจตคี วามวนิ ิจฉัยช้ขี าดปญั หาที่เกดิ จากการปฏิบัติตามระเบยี บนี้

67

65

การลงโทษนกั เรยี น

68

66

ระเบียบการลงโทษนกั เรยี นและนกั ศกึ ษา

วา่ ด้วยเร่ืองระเบียบการลงโทษนักเรยี นและนกั ศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.
2548 ไดม้ ีกาหนดวิธกี ารลงโทษไวใ้ นประกาศ โดยมปี ระเด็นสาคัญ ดงั นี้

ตามประกาศ ขอ้ 4 กลา่ ววา่ “การลงโทษ” หมายความว่า การลงโทษนักเรียน

หรอื นักศึกษาที่กระทาความผิด โดยมีความมุง่ หมายเพ่ือการอบรม

ตามประกาศ ข้อ 5 กล่าวว่า โทษทจ่ี ะลงโทษแก่นกั เรยี นหรอื นักศึกษาที่กระทา

ความผดิ มี 4 สถาน ดงั น้ี
1. ว่ากลา่ วตักเตอื น
2. ทาทัณฑ์บน
3. ตัดคะแนนความประพฤติ
4. ทากิจกรรมเพ่อื ใหป้ รบั เปล่ียนพฤติกรรม

ตามประกาศ ข้อ 6 กล่าวว่า ห้ามลงโทษนักเรียนและนักศึกษาด้วยวิธีรุนแรง

หรอื แบบกลั่นแกล้ง หรอื ลงโทษดว้ ยความโกรธ หรือดว้ ยความพยาบาท โดยให้คานึงถึง
อายขุ องนักเรยี นหรือนักศึกษาและความร้ายแรงของพฤติการณป์ ระกอบการลงโทษด้วย

69

67

ตามประกาศ ขอ้ 7 การว่ากล่าวตักเตือน ในกรณนี ักเรยี นหรือนกั ศกึ ษากระทา

ความผดิ ไม่ร้ายแรง

ตามประกาศ ข้อ 8 กล่าววา่ การทาทณั ฑ์บนใช้ในกรณีนักเรียนหรือนักศึกษา

ท่ีประพฤติตนไม่เหมาะสมกับสภาพ นักเรียนหรือนักศึกษา ตามกฎกระทรวงว่าด้วย
ความประพฤตินกั เรียนและนักศกึ ษา

ตามประกาศ ข้อ 9 กล่าวว่า การตัดคะแนนความประพฤติ ให้เป็นไปตาม

ระเบยี บปฏบิ ัติวา่ ด้วยการตัดคะแนนความประพฤตินกั เรยี น

ตามประกาศ ขอ้ 10 กล่าววา่ ทากจิ กรรมเพอ่ื ใหป้ รบั เปลี่ยนพฤติกรรม ใช้ใน

กรณที ีน่ กั เรียนและนักศกึ ษากระทาความผดิ ทสี่ มควรตอ้ งปรบั เปลีย่ น พฤติกรรม

กฎหมายทมี่ คี วามเกย่ี วขอ้ งกบั พระราชบญั ญตั คิ ุ้มครองเดก็ พ.ศ. 2546

หมวด 2 การปฏบิ ตั ิต่อเดก็

มาตรา 26 ภายใต้บังคับบทบัญญัติแห่งกฎหมายอ่ืน ไม่ว่า
เด็กจะยินยอมหรือไม่หา้ มมใิ หผ้ ูใ้ ดกระทาการ ดังตอ่ ไปนี้

- กระทาหรือละเว้นการกระทาอันเป็นการทารุณกรรมต่อ
รา่ งกายหรอื จติ ใจของเด็ก

70

68

หมวด 7 การส่งเสริมความประพฤตนิ กั เรียนและนักศกึ ษา
มาตรา 64 นกั เรยี นและนักศกึ ษาตอ้ งประพฤติตนตามระเบยี บของโรงเรียนหรือ

สถานศกึ ษาและตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง

มาตรา 65 นักเรยี นหรอื นักศึกษาผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 64 ให้พนักงานเจ้าหน้าที่

ปฏบิ ตั ิตามระเบยี บทีร่ ฐั มนตรีกกาหนด

หมวด 9 บทกาหนดโทษ
มาตรา 78 ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 26 ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามเดือน หรือ

ปรบั ไม่เกินสามหมื่นบาท หรอื ทง้ั จาทั้งปรบั

ประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 295 ผใู้ ดทาร้ายผอู้ ืน่ จนเป็นเหตใุ หเ้ กดิ อันตรายแก่กายหรือจิตใจของ

ผอู้ ื่นน้นั ผู้นัน้ กระทาความผิดฐานทาร้ายรา่ งกาย ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปี หรือ
ปรบั ไม่เกินสห่ี มืน่ บาท หรือท้งั จาทัง้ ปรับ

มาตรา 391 "ผู้ใดใช้กาลังทาร้ายผู้อ่ืน โดยไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตราย

แก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหน่ึงเดือน หรือปรับไม่เกินหน่ึงหม่ืนบาท
หรอื ทงั้ จาท้ังปรับ"

71

69

วนิ ัยของขา้ ราชการ

72

70

วินัยขา้ ราชการ

หมายถึง กฎระเบยี บต่าง ๆ ท่วี างหลักขึ้นมาเป็นกรอบควบคุมให้ขา้ ราชการปฏบิ ัติ
หน้าที่ และกาหนดแบบแผนความประพฤติของข้าราชการเพื่อให้ข้าราชการประพฤติ
ปฏิบัติหน้าท่ีราชการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย โดยกาหนดให้ข้าราชการวางตัวให้
เหมาะสมเพ่อื ใหบ้ รรลุจดุ ม่งุ หมายขององคก์ รข้าราชการ

ข้อกาหนดวินยั

มาตรา 80 ขา้ ราชการพลเรือนสามัญ ต้องรกั ษาวนิ ยั โดยกระทาการหรอื ไม่กระทา

การตามท่ีบัญญตั ไิ ว้ในหมวดนี้โดยเครง่ ครัดอยเู่ สมอ
ขา้ ราชการพลเรอื นสามัญผ้ปู ฏบิ ตั ริ าชการในต่างประเทศ นอกจากจะตอ้ งรักษาวินัย

ตามที่ได้บัญญัติไว้ในหมวดนี้ แล้วต้องรักษาวินัย โดยกระทาการหรือไม่กระทาการ
ตามที่กาหนดในกฎ ก.พ.ดว้ ย”

มาตรา 81 ข้าราชการพลเรือนสามัญ ต้องสบับสนุนการปกครองระบอบ

ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุขดว้ ยความบริสทุ ธิใ์ จ

73

71

มาตรา 82 “ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องกระทาการอันเป็นข้อปฏิบัติ

ดงั ตอ่ ไปน้ี”
- ตอ้ งปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีราชการดว้ ยความซ่อื สัตย์ สจุ รติ และเท่ยี งธรรม
- ต้องปฏิบัติหน้าท่ีราชการให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎระเบียบของทางราชการ

มติของคณะรัฐมนตรี นโยบายของรัฐบาลและปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนของทาง
ราชการ

- ต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เกิดผลดีหรือความก้าวหน้าแก่ราชการด้วยความ
ต้งั ใจ อตุ สาหะ เอาใจใส่และรักษาประโยชน์ของทางราชการ

- ต้องปฏิบัติตามคาสั่งของผู้บังคับบัญชา ซึ่งส่ังในหน้าท่ีราชการโดยชอบด้วย
กฎหมายและระเบียบของทางราชการ โดยไม่ขัดขืนหรือหลีกเลี่ยง แต่ถ้าเห็นว่าปฏิบัติ
คาสั่งนั้นจะทาให้เสียหายแก่ราชการ หรือจะเป็นการไม่รักษาประโยชน์ของ ทางราชการ
จะต้องเสนอความเหน็ เปน็ หนังสือทันทีเพ่ือใหผ้ ู้บงั คบั บัญชาทบทวนคาสั่งนั้น และเม่ือได้
เสนอความเหน็ แล้ว ถา้ ผบู้ งั คับบัญชายนื ยนั ให้ปฏบิ ตั ิตามคาส่ังเดมิ

-ต้องอทุ ศิ เวลาของตนใหแ้ ก่ราชการ จะละทิง้ หรือทอดทง้ิ หน้าทร่ี าชการมิได้

74

72

- ต้องรกั ษาความลบั ของทางราชการ
- ต้องสุภาพเรียบร้อย รักษาความสามัคคี และต้องช่วยเหลือกัน ในการปฏิบัติ
ราชการระหว่างข้าราชการด้วยกนั และผ้รู ว่ มปฏบิ ัติราชการ
- ต้องต้อนรับให้ความสะดวก ให้ความเป็นธรรม และให้การสงเคราะห์แก่
ประชาชนผ้มู าตดิ ต่อราชการเก่ยี วกับหนา้ ทขี่ องตน
- ต้องวางตัวเป็นกลางทางการเมืองในการปฏิบัติหน้าท่ีราชการ และในการ
ปฏบิ ัติการอื่นท่เี กยี่ วข้องกบั ประชาชนกับจะต้องปฏิบตั ิตามระเบยี บของทางราชการ วา่ ดว้ ย
มารยาททางการเมืองของขา้ ราชการด้วย
-ต้องรักษาช่ือเสียงของตน และรักษาเกียรติศักดิ์ของตาแหน่งหน้าที่ราชการของ
ตนมิให้เส่อื มเสีย
- กระทาการอืน่ ใดตามท่ีกาหนดในกฎ ก.พ.

75

73

มาตรา 83 “ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องไม่กระทาการอันเป็นข้อปฏิบัติ

ดงั ตอ่ ไปน้ี”
- ต้องไม่รายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชา การรายงานโดยปกปิดข้อความซ่ึงควร

ตอ้ งแจง้ ถือวา่ เป็นการรายงานเทจ็ ด้วย
- ต้องไม่ปฏิบัติราชการอันเป็นการกระทาการข้ามผู้บังคับบัญชาเหนือตน เว้น

แต่ผบู้ งั คับบัญชาเหนือตนข้นึ ไปเป็นผู้ส่งั ให้กระทาหรือได้รับอนุญาตเป็นพิเศษ ช่ัวคร้ัง
คราว

- ต้องไม่อาศัยหรือยอมให้ผู้อ่ืนอาศัยตาแหน่งหน้าท่ีราชการของตนหาประโยชน์
ใหแ้ ก่ตนเอง

- ต้องไมป่ ระมาทเลินเล่อในหน้าที่ราชการ
- ตอ้ งไม่กระทาการหรอื ยอมให้ผู้อื่นกระทาการหาประโยชน์อันอาจทาให้เสียความ
เท่ียงธรรม
- ต้องไม่เป็นกรรมการผู้จัดการ หรือผู้จัดการ หรือดารงตาแหน่งอ่ืนใด ท่ีมี
ลักษณะงานคล้ายคลงึ กันนน้ั ในห้าง
- ต้องไม่กระทาการอย่างใดที่เป็นการกลั่นแกล้ง กดข่ีหรือข่มเหงกันในการ
ปฏิบตั ริ าชการ
- ต้องไมก่ ระทาการอนั เป็นการลว่ งละเมิดหรือคกุ คามทางเพศตามที่กาหนดในกฎ
ก.พ.
- ต้องไม่ดูหมิน่ เหยยี ดหยาม กดขี่ หรอื ข่มเหงประชาชนผตู้ ิดตอ่ ราชการ
- ไมก่ ระทาการอื่นใดตามท่ีกาหนดในกฎ ก.พ.

76

74

มาตรา 85 การกระทาผิดวินัยในลักษณะดังต่อไปนี้ เป็นความผิดวินัยอย่าง

ร้ายแรง
- ปฏบิ ตั ิหรือละเวน้ การปฏบิ ัตหิ น้าทรี่ าชการโดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหาย

อยา่ งร้ายแรงแกผ่ ้หู นงึ่ ผ้ใู ด หรอื ปฏิบัติ หรอื ละเว้นการปฏิบัติหน้าทร่ี าชการโดยทุจรติ
- ละทิ้งหรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการโดยไม่มีเหตุอันสมควรเป็นเหตุให้เสียหายแก่

ราชการอยา่ งร้ายแรง
- ละท้ิงหน้าท่ีราชการติดต่อในคราวเดียวกันเป็นเวลาเกินสิบห้าวันโดยไม่มีเหตุ

อันสมควร หรือโดยมีพฤติการณ์อันแสดงถึงความจงใจไม่ปฏิบัติตามระเบียบของทาง
ราชการ

- กระทาการอันไดช้ ื่อวา่ เปน็ ผูป้ ระพฤติชว่ั อยา่ งรา้ ยแรง
- ดูหม่ิน เหยียดหยาม กดขี่ ข่มเหง หรือทาร้ายร่างกายประชาชน ผู้มาติดต่อ
ราชการอยา่ งร้ายแรง

- ละเว้นการกระทาหรือกระทาการใด ๆ อันเป็นการไม่ปฏิบัติตามมาตรา
82 หรอื ฝา่ ฝืนข้อห้ามตามมาตรา 83 อนั เปน็ เหตใุ ห้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง

- ละเว้นการกระทาหรือกระทาการใด ๆ อันเป็นการไม่ปฏิบัติตามมาตรา 80
วรรคสอง และมาตรา 82(11) หรือฝ่าฝืนข้อห้ามตามมาตรา 83 (10) ท่ีมี กฎ ก.พ.
กาหนดใหเ้ ป็นความผิดวนิ ยั อยา่ งร้ายแรง

77

75

การโทษทางวนิ ยั

กรณีข้าราชการพลเรือนกระทาผิดวินัยจะต้องได้รับโทษทางวินัย เว้นแต่มีเหตุอัน

ควรงดโทษตามท่ีบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551

หมวด 7 การดาเนินการทางวินัย ซ่ึงโทษทางวินัยได้กาหนดไว้ในมาตรา 88 โดยมี 5

สถาน ดังต่อไปน้ี

- ตัดเงนิ เดือน - ปลดออก

- ลดเงินเดอื น - ไลอ่ อก

ขอ้ ควรรเู้ กยี่ วกบั วนิ ยั ขา้ ราชการ

- ความผิดทางวินัยไม่มีอายุความ แม้จะกระทาผิดวินัยไว้นานเท่าใด หาก
ตรวจสอบพบกส็ ามารถดาเนนิ การทางวนิ ัยและลงโทษได้เสมอ

- ความผิดทางวินัยไม่มีอายุความ แม้จะกระทาผิดวินัยไว้นานเท่าใด หาก
ตรวจสอบพบก็สามารถดาเนนิ การทางวินัยและลงโทษได้เสมอ

- ผู้สัง่ ลงโทษตอ้ งเปน็ ผบู้ งั คบั บัญชาซงึ่ มีอานาจส่งั บรรจตุ ามมาตรา 57
- สภาพการเป็นข้าราชการ กรณีจะเป็นความผิดวินัยจะต้องกระทาผิดในขณะที่
เปน็ ข้าราชการ จะนาเหตทุ ่เี คยกระทาผดิ ก่อนเป็นขา้ ราชการมาลงโทษทางวินัยไมไ่ ด้

78

76

จรรยาบรรณวชิ าชพี

79

77

จรรยาบรรณวชาชพี ครคู อื กฎแหง่ ความประพฤตสิ าหรบั สมาชกิ วชาชพี ครซู ง่ึ
องค์กรวชิ าชพี ครเู ปน็ ผกู้ าหนดและสมาชกิ ในวชิ าชพี ทกุ คนตอ้ งถอื ปฏบิ ตั โิ ดย

เครง่ ครดั หากมกี ารละเมดิ จะมกี ารลงโทษ

ข้อบงั คับครุ ุสภาว่าด้วยจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2556 จรรยาบรรณวชิ าชีพครู
มี 5 หมวด 9 ขอ้

หมวด 1 จรรยาบรรณต่อตนเองผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องมีวินัยใน

ตนเองพัฒนาตนเองด้านวิชาชีพบุคลิกภาพและวิสัยทัศน์ให้ทันต่อการพัฒนาทาง
วิทยาการเศรษฐกิจสังคมและการเมอื งอยู่เสมอ

หมวด 2 จรรยาบรรณต่อวิชาชีพผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องรักศรัทธา

ซ่อื สตั ยส์ ุจรติ รบั ผดิ ชอบต่อวชิ าชีพและเป็นสมาชิกท่ีดขี ององคก์ รวิชาชีพ

หมวด 3 จรรยาบรรณตอ่ ผรู้ บั บรกิ าร

- ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องรักเมตตาเอาใจใส่ช่วยเหลือส่งเสริมให้
กาลงั ใจแก่ศิษยแ์ ละผู้รบั บรกิ ารตามบทบาทหนา้ ท่ีโดยเสมอหนา้

80

78

- ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ทักษะและนิสัยท่ี
ถูกตอ้ งดงี ามแก่ศิษย์และผู้รับบรกิ ารตามบทบาทหน้าที่อยา่ งเต็มความสามารถด้วยความ
บรสิ ุทธิ์ใจ

- ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษาต้องประพฤตปิ ฏบิ ัตติ นเปน็ แบบอยา่ งที่ดีท้งั ทาง
กายวาจาและจติ ใจ

หมวด 4 จรรยาบรรณตอ่ ผู้รว่ มประกอบวชิ าชพี ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษาซึ่ง

ช่วยเหลือเกื้อกูลซ่ึงกันและกันอย่างสร้างสรรค์โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรมสร้างความ
สามัคคีในหมคู่ ณะ

หมวด 5 จรรยาบรรณต่อสังคมผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาพึงประพฤติ

ปฏิบัติตนเป็นผู้นาในการอนุรักษ์พัฒนาเศรษฐกิจสังคมศาสนาศิลปะวัฒนธรรมภูมิ
ปัญญาสิ่งแวดล้อมรักษาผลประโยชน์ของส่วนรวมและยึดม่ันในการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข

81


Click to View FlipBook Version