The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-Book-กฎหมายการศึกษา-ศิริธร-604150610

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by siritorn.nay, 2021-03-24 05:58:10

E-Book-กฎหมายการศึกษา-ศิริธร-604150610

E-Book-กฎหมายการศึกษา-ศิริธร-604150610

1

2

3

1

รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทยพทุ ธศกั ราช 2560

4

2

หมวดและมาตราทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การศกึ ษา

หมวด 4 หนา้ ทขี่ องปวงชนชาวไทย
- มาตรา 50

หมวด 5 หน้าท่ขี องรฐั
- มาตรา 54

หมวด 16 การปฏิรูปประเทศ
- มาตรา 258 จ. ดา้ น

การศกึ ษา

5

3

หมวดและมาตราทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การศกึ ษา

หมวด 4 หนา้ ทข่ี องปวงชนชาวไทย

มาตรา 50 บคุ คลมหี นา้ ที่ ดงั ตอ่ ไปนี้
เขา้ รับการศกึ ษาอบรมในการศึกษาภาคบังคับ

4

หมวดและมาตราทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การศึกษา

หมวด 5 หน้าทขี่ องรฐั

มาตรา 54 รัฐต้องดาเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี
ตัง้ แต่ก่อนวยั เรียนจนจบการศึกษาภาคบังคบั

รัฐต้องดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษา ตาม
วรรคหนึ่ง เพ่ือพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย
โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนเข้ามีส่วนร่วมใน
การดาเนนิ การดว้ ย

การศึกษาทั้งปวงตอ้ งมงุ่ พฒั นาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถ
เชย่ี วชาญได้ตามความถนดั ของตนและมคี วามรบั ผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และ
ประเทศชาติ

เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาตามวรรคสองหรือให้
ประชาชนได้รับการศึกษาตามวรรคสาม รัฐต้องดาเนินการให้ผู้ขาด
แคลนทนุ ทรพั ย์ไดร้ บั การสนับสนนุ ค่าใช้จ่าย
ในการศกึ ษาตามความถนดั ของตน

7

5

หมวดและมาตราทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การศกึ ษา

หมวด 16 การปฏริ ปู ประเทศ

มาตรา 258 จ. ด้านการศกึ ษา ใหด้ าเนนิ การปฏิรูปประเทศอยา่ งน้อยในด้านตา่ งๆ ให้
เกดิ ผล ดังตอ่ ไปนี้

1. สามารถเร่ิมดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษา
ตามมาตร 54 วรรคสอง เพอื่ ให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์
สงั คมและสตปิ ญั ญาให้สมกบั วยั โดยไมเ่ ก็บคา่ ใชจ้ า่ ยใดๆ

2. ให้ดาเนินการตรากฎหมายเพื่อจัดตั้งกองทุนตามมาตรา 54 วรรคหก ให้
เสร็จภายในหน่งึ ปนี ับต้ังแต่วันประกาศใชร้ ฐั ธรรมนญู

3. มีกลไกลและระบบการผลิต คดั กรองและพฒั นาผู้ประกอบวิชาชีพครูและอาจารย์
ใหไ้ ดผ้ มู้ ีจติ วิญญาณของความเป็นครู

4. ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุก ระดับเพ่ือให้
ผู้เรียนสามารเรียนได้ตามความถนัดและปรับปรุงโครงสร้างของ
หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วข้องให้บรรลตุ ามเป้าหมาย

8

6

แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 2560-2579

9

7

แผนการศกึ ษาแห่งชาติ 2560-2579

ความหมาย เปน็ การวางกรอบเปา้ หมายและทิศทางการจัดการศึกษาของประเทศ
ในการพัฒนาสกั ยาภาพและขดี ความสามารถของคนไทยทุกช่วงวัยให้เต็มตามศักยภาพ
สามารถแสวงหาความรู้และเรยี นรไู้ ด้ดว้ ยตนเองอย่างตอ่ เน่อื งตลอดชีวติ

สภาวการณแ์ ละบรบิ ทแวดลอ้ มทมี่ ผี ลตอ่ การพฒั นาการศกึ ษาของประเมศ

1. ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารแบบก้าวกระโดดท่ีส่งผลต่อ
ระบบเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศภมู ิภาคและของโลก

- การปฏวิ ัติดิจทิ ลั ต่อการเปล่ยี นแปลงการปฏวิ ตั ิอตุ สาหกรรม 4.0
- ผลกระทบของการเป็นประชาคมอาเซียนต่อระบบเศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรม
และการเมืองและความมน่ั คง
- สญั ญาประชาโลก
- การปรบั เปลีย่ นเศรษฐกิจและสงั คมใหพ้ ร้อมรองรับประเทศไทยยุค 4.0

10

8

แผนการศึกษาแหง่ ชาติ 2560-2579

2.การเปล่ียนแปลงโครงสรา้ งประชากร

- สถานการณส์ ังคมสูงวยั ในประเทศไทย

3. สภาวการณก์ ารเปลย่ี นแปลงของโลก

- การเปล่ยี นแปลงทางธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ มทีท่ วีความรนุ แรงมากขน้ึ
- แนวโน้มความขดั แย้งและความรนุ แรงในสงั คม
- การเปลย่ี นแปลงด้านการสาธารณสุข
- ความเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยีดิจิทลั กบั การดารงชีวติ

4. ทักษะของประชากรในศตวรรษท่ี 21 : ความตอ้ งการกาลงั คนยคุ 4.0

3RS ประกอบดว้ ย อา่ นออก,เขียนได้,คิดเลขเป็น
8CS ประกอบด้วย ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการ
แก้ปัญหา,ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม,ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม
ต่างกระบวนทัศน์,ทักษะด้านความร่วมมือการทางานเป็นทีมและภาวะผู้นา,ทักษะด้านการ
สื่อสารสารสนเทศและรู้เท่าทันส่ือ,ทักษะด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การส่ือสาร,ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้,ความมีเมตตากรุณาวินัยคุณธรรมจริยธรรม

11

9

การศกึ ษาตามความถนดั

12

10

หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานจดั ระดับการศกึ ษาเปน็
3 ระดบั ดังน้ี

1. ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6) มุ่งเน้นทักษะพื้นฐานด้านการ
อ่านการเขียนการคิดคานวณทักษะการคิดพื้นฐานการติดต่อส่ือสารกระบวนการเรียนรู้
ทางสงั คมและพ้นื ฐานความเปน็ มนษุ ย์การพัฒนาคณุ ภาพชีวิตอยา่ งสมบูรณ์

2. ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น (ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 -3) เน้นใหผ้ ้เู รียนได้สารวจ
ความถนดั และความสนใจของตนเองสง่ เสริมการพัฒนาบคุ ลกิ ภาพส่วนตนมีทักษะในการ
คดิ วจิ ารณญาณคิดสรา้ งสรรคแ์ ละคิดแก้ปัญหามีทกั ษะในการดาเนินชวี ติ

3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6) เน้นการเพ่ิมพูน
ความรู้และทักษะเฉพาะดา้ นตอบสนองความสามารถความถนัดและความสนใจของผู้เรียน
แตล่ ะคนทงั้ ด้านวชิ าการและวิชาชพี มีทกั ษะในการใช้วิทยาการและเทคโนโลยี

13

11

หมวด 4 แนวทางการจดั การศกึ ษา

มาตรา 24 การจดั กระบวนการเรยี นรู้

1. จดั เนอื้ หาสาระและกจิ กรรมใหส้ อดคล้องกบั ความสนใจและความถนดั ของผเู้ รียน
2. ฝึกทักษะกระบวนการคิดการจัดการการเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์
ความรู้
3. จดั กจิ กรรมใหผ้ ูเ้ รยี นได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงฝึกการปฏิบัติให้ทาได้คิด
เปน็ ทาเป็นรกั การอ่านและเกิดการใฝร่ อู้ ย่างต่อเนอื่ ง
4. จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระด้านต่างๆอย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน
รวมทง้ั ปลูกฝังคณุ ธรรมคา่ นิยมท่ีดีงาม
5. ส่งเสริมสนับสนุนผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อมสื่อการเรียนและ
อานวยความสะดวกเพอ่ื ให้ผู้เรยี นเกดิ การเรียนรู้
6.จัดการเรยี นรู้ใหเ้ กิดขน้ึ ไดท้ ุกเวลาทุกสถานท่ีมีการประสานความร่วมมือกับบิดามารดา
ผปู้ กครอง

14

12

การจดั การเรียนรทู้ เ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั

ความหมายดา้ นผ้เู รยี น

คือ กระบวนการเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมเน้นการปฏิบัติจริงได้พัฒนา
กระบวนการคิดมีอิสระในการเรียนรู้ตามความถนัดและความสนใจสามารถสร้างองค์
ความรู้ได้ดว้ ยตนเองด้วยวิธีการและแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลายนาความรู้ประสบการณ์ไป
ใชใ้ นชวี ิตได้

ความหมายดา้ นผจู้ ัด

คือ กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลการเป็น
ประโยชน์สูงสุดของผู้เรียนเป็นสาคัญการเคารพในศักดิ์ศรีสิทธิของผู้เรียนโดยมีการวาง
แผนการจดั ประสบการณ์การเรียนร้อู ยา่ งเปน็ นระบบ

15

13

ความแตกตา่ งระหวา่ งการสอนแบบเดิมกบั การจดั การเรยี นรู้ท่ี
เนน้ ผเู้ รียนเปน็ ศนู ยก์ ลาง

แบบเดมิ

- เนน้ เนือ้ หา
- ผสู้ อน บอก สงั่
- การสื่อสารทางเดยี ว
- ผเู้ รียนจด จา สอน สืบ
- บรรยากาศปดิ กั้นความคดิ
- ประเมินเน้อื หา

ผู้เรยี นเปน็ ศนู ยก์ ลาง

- เน้นกระบวนการและผลงาน
- ผสู้ อนสนับสนุนใหเ้ กิดการเรียนรู้
- การสือ่ สารสองทาง
- ผูเ้ รียนเรียนรรู้ ว่ มกัน/คน้ ควา้ ความรผู้ า่ น
- กระบวนการคิด
- บรรยากาศสรา้ งสรรคค์ วามคดิ
- ประเมินกระบวนการและผลงาน

16

14

กองทนุ เพอื่ ความเสมอภาคทางการศกึ ษา (กสศ.)

17

15

กองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา จัดตั้งข้ึนตามข้อเสนอของ
คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏริ ปู การศกึ ษา โดยปรากฏในรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 มาตรา 54

วัตถุประสงค์

ประกาศใชบ้ งั คบั เมอ่ื วนั ท่ี 14 พฤษภาคม 2561 มวี ัตถุประสงค์เพือ่ สร้างความเสมอ
ภาคททางการศึกษาช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ลดความเหลื่อมล้าทางการศึกท
รวมทั้งเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู โดยให้รัฐเป็นผู้จัดสรร
งบประมาณให้กองทนและมีการเรีทนทีเ่ ป็นอิสระ

สาเหตขุ องความเหลอ่ื มลา้ ในการศกึ ษา

- ฐานะทางเศรษฐกจิ หรือสังคม
- คุณภาพหรือประสทิ ธิภาพของครู
- คุณภพหรอื มาตรฐานของสถานศึกษา

*ความยากจนทาใหเ้ ดก็ ไทยมากกว่า 5 แสนคน หลุดออกนอกระบบไปแลว้ และอกี 2 ลา้ นคน มี
แนวโน้มทจี่ ะไม่ไดเ้ รยี นตอ่

18

16

ภารกจิ ของกสศ.

กสศ. มีภารกิจในการช่วยเหลือดูแลกลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์
หรือด้อยโอกาสนับตั้งแต่แรกเกิดจนถึงวัยแรงงานให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาเพ่ือ
บรรเทาความยากจนอนั เปน็ รากเหง้าของปญั หาอื่น ๆ ซงึ่ หากแก้ไม่ได้ปัญหานี้จะส่งทอด
วนเวียนไปข้ามช่ัวคนจากพ่อแม่ส่งต่อไปถึงรุ่นลูกรุ่นหลานได้เพราะมีกลุ่มคนที่เข้าไม่ถึง
การศกึ ษาหรอื ได้รับการศึกษาทมี่ ีคุณภาพต่างกัน

1. สร้างเสริมองค์ความรู้และบริการจัดการเชิงระบบเพื่อสร้างความเสมอภาคทาง
การศกึ ษา

2. ลงทุนโดยใชค้ วามรนู้ าเพอื่ ช่วยเหลอื และสร้างคุณค่าเพิ่มแก่กล่มุ เปา้ หมาย
3. ระดมการมีสว่ นรว่ มอย่างสรา้ งสรรค์จากทุกภาคสว่ น
4.เสนอแนะมาตรการเพ่อื สร้างความเปลย่ี นแปลงเข็งนโยบาย

19

17

วิสัยทัศนข์ องกสศ.

เด็กเยาวชนและประชาชนท่ีขาดแคลนทุนทรัพย์หรือด้อยโอกาสทุกคนมีโอกาส
พฒั นาตนเองตามศกั ยภาพและเข้าถึงการศกึ ษาท่มี ีคณุ ภาพ

กลุ่มเปา้ หมายในการทางานของกสศ.

ผูข้ าดแคลนทนุ ทรพั ย์และเข้าไมถ่ ึงโอกาสทางการศกึ ษา 4.3 ลา้ น

การดาเนินงานใน 3 ปีแรก มุ่งส่งเสริมให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ สามารถเข้าถึง
การศึกษาทีส่ อดคลอ้ งกบั ความจาเป็นรายบุคคลตามศักยภาพในทุกกลุ่มเป้ามายควบคู่
กับการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรียนและหนว่ ยจัดการเรียนรู้

20

18

ความเหลื่อมลา้ ทางการศกึ ษาบรรเทาไดด้ ว้ ยแนวทางเสมอ
ภาค

ความเสมอภาค (Equity) แตกต่างกับความเท่าเทียม (Equality)เพราะ

เดก็ แต่ละคนมคี วามจาเปน็ และโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาไม่เท่ากันโดยความยากจน
ทาใหเ้ ด็กไทยราว 5 แสนคนหลดุ ออกนอกระบบไปแล้วและอกี 2 ลา้ นคนมแี นวโนม้ ขาด
โอกาสทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพปัญหานี้สาคัญเกิดจากครอบครัวของเด็กต้องแบก
รับภาระค่าใช้จ่ายด้านการศึกษาสูงมากเมื่อเทียบกับรายได้สูงกว่าครอบครัวร่ารวยถึง 4
เท่า (ข้อมลู จากบัญชีรายจา่ ยดา้ นการศกึ ษาแหง่ ชาติ 2551-2559)

จากปญั หานี้ ความเทา่ เทยี มในการจดั สรรทรัพยากรเพื่อลดความเหลอ่ื มลา้ ด้าน

การศึกษาจึงไม่อาจเพียงพอ เช่น นักเรียนท่ีมีฐานะแตกต่างกัน แต่ได้รับเงินอุดหนุน
ช่วยเหลอื จานวนเท่า ๆ กัน

สาเหตุความเหลื่อมล้า ยังสืบเน่ืองจากความแตกต่างของคุณภาพหรือ

มาตรฐานของสถานศึกษา คณุ ภาพหรอื ประสทิ ธิภาพของครู

21

19

พระราชบญั ญตั ขิ อ้ มูลขา่ วสาร
ของราชการ พ.ศ.2540

22

20

พระราชบญั ญตั ขิ อ้ มูลขา่ วสารของราชการ พ.ศ. 2540

เป็นกฎหมายที่รองรับ“ สิทธิได้รู้ "ของประชาชนท่ีเกี่ยวกับการดาเนินการของรัฐ
โดยประชาชนไม่จาเป็นต้องมีส่วนได้สว่ นเสียเกี่ยวขอ้ งกับข้อมูลข่าวสารนน้ั เม่ือประชาชนได้
ร้ขู ้อมลู ข่าวสาร

หลกั การและแนวคิด

1. ให้ประชาชนมีโอกาสรบั รู้ข้อมูลขา่ วสารเกยี่ วกับการดาเนินงานต่าง ๆ ของรฐั
2. รบั รองสทิ ธิของประชาชนในการเขา้ ถึงขอ้ มูลข่าวสารของราชการ
3. เปิดเผยเป็นหลักปกปิดเป็นข้อยกเว้น โดยรัฐไม่ต้องเปิดเผยข้อมูลเฉพาะที่มี
กฎหมายกาหนดเท่านัน้

23

21

ประชาชนมีสทิ ธพิ ระราชบญั ญตั ขิ อ้ มลู ขา่ วสารของราชการ พ.ศ.
2540

1. สทิ ธิรับรแู้ ละการเขา้ ถึงข้อมลู ขา่ วสารของราชการการตรวจคน้ ไดจ้ ากราชกจิ จา

นเุ บกษาสาหรบั ขอ้ มลู ขา่ วสารท่ตี อ้ งเปดิ เผยโดยวธิ ีการลงพมิ พ์ในราชกจิ จานเุ บกษาตาม
มาตรา 7 แหง่ พระราชบัญญตั ขิ อ้ มลู ข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540

มาตรา 7 หน่วยงานของรฐั ตอ้ งสง่ ขอ้ มลู ขา่ วสาร
มาตรา 9 หน่วยงานของรฐั ตอ้ งจดั ใหม้ ขี อ้ มลู ขา่ วสาร
มาตรา 11 หน่วยงานของรฐั ผรู้ บั ผดิ ชอบจดั หาขอ้ มลู
มาตรา 26 หน่วยงานของรฐั ไมป่ ระสงคจ์ ะเกบ็ รกั ษา

ข้อมลู ข่าวสารท่หี น่วยงานของรฐั ไม่ตอ้ งเปิดเผย
มาตรา 14 ข่าวสารที่ก่อให้เกดิ ความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษตั ริยจ์ ะเปดิ เผย

ไม่ได้
มาตรา 15 ขา่ วสารมลี ักษณะอย่างใดอยา่ งหนึง่ หน่วยงานหรือเจา้ หน้าทีอ่ าจมคี าสงั่ มิ

ให้เผยกไ็ ด้

24

22

มาตรา 7 หนว่ ยงานของรัฐต้องส่งข้อมลู ขา่ วสารของราชการอยา่ งน้อยดงั ตอ่ ไปนีล้ ง

พมิ พ์ในราชกจิ จานุเบกษา
1. โครงสรา้ งและการจัดองคก์ รในการดาเนนิ งาน
2. สรปุ อานาจหนา้ ทีท่ สี่ าคัญและวิธกี ารดาเนนิ งาน
3. สถานที่ตดิ ตอ่ เพอ่ื ขอรบั ขอ้ มลู ข่าวสารหรือคาแนะนาในการติดต่อกับหน่วยงาน

ของรฐั
4. กฎมติคณะรัฐมนตรีข้อบังคบั คาส่งั หนังสอื เวียนระเบียบแบบแผนนโยบายหรือ

การตีความท้ังนี้เฉพาะที่จัดให้มีขึ้นโดยมีสภาพอย่างกฎเพ่ือให้มีผลเป็นการท่ัวไปต่อ
เอกชนที่เก่ียวขอ้ ง

5. ขอ้ มลู ขา่ วสารอ่ืนตามทค่ี ณะกรรมการกาหนดข้อมลู ขา่ วสารใดท่ไี ด้มีการจดั พมิ พ์
เพอื่ ใหเ้ ผยแพร่หลายตามจานวนพอสมควรและถา้ มกี ารลงพิมพใ์ นราชกิจจานเุ บกษาโดย
อา้ งอิงถงึ สงิ่ พมิ พ์นน้ั กใ็ หถ้ ือวา่ เปน็ การปฏบิ ตั ิตามบทบัญญตั วิ รรคหนง่ึ แลว้

25

23

มาตรา 9 ภายใตบ้ งั คับมาตรา 14 และมาตรา 15 หน่วยงานของรัฐต้องจัดให้มี

ข้อมูลข่าวสารของราชการอย่างน้อยดังต่อไปนี้ไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ท้ังนี้ตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการทคี่ ณะกรรมการกาหนด

1. ผลการพิจารณาหรือคาวินิจฉัยที่มีผลโดยตรงต่อเอกชนรวมท้ังความเห็นแย้ง
และคาสั่งที่เก่ียวขอ้ งในการพจิ ารณาวินิจฉัยดังกลา่ ว

2. นโยบายหรือการตีความที่ไม่เข้าข่ายต้องลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษาตาม
มาตรา 7

3. แผนงานโครงการและงบประมาณรายจา่ ยประจาปีของปที ่กี าลงั ดาเนินการ
4. คมู่ อื หรอื คาส่ังเกยี่ วกับวิธีปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐซ่ึงมีผลกระทบถึงสิทธิ
หน้าทข่ี องเอกชน
5. สิง่ พมิ พ์ที่ได้มกี ารอ้างองิ ถงึ มาตรา 7 วรรคสอง
6. สัญญาสมั ปทานสัญญาท่ีมีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอนหรือสัญญาร่วมทุน
กับเอกชนในการจดั ทาบริการสาธารณะ
7. มตคิ ณะรัฐมนตรีหรือมตคิ ณะกรรมการท่แี ต่งต้ังโดยกฎหมาย

26

24

8. ข้อมูลข่าวสารอ่ืนตามที่คณะกรรมการกาหนดข้อมูลข่าวสารที่ได้จัดไว้ให้
ประชาชนเข้าตรวจดูได้ตามวรรคหน่ึงถ้ามีส่วนที่ต้องห้ามมิให้เปิดเผยตามมาตรา 14
หรอื มาตรา 15 อยู่ด้วยให้ลบหรือตัดทอนหรอื ทาโดยประการอื่นใดที่ไม่เป็นการเปิดเผย
ข้อมลู ข่าวสารสว่ นน้นั

มาตรา 11 นอกจากข้อมูลข่าวสารของราชการท่ีลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษาแล้ว

หรือที่จัดไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้แล้วหรือท่ีมีการจัดให้ประชาชนได้ ค้นคว้าตาม
มาตรา 26 แลว้ ถา้ บุคคลใดขอขอ้ มลู ข่าวสารอน่ื ใดของราชการและคาขอของผูน้ ้ันระบุขอ้ มูล
ข่าวสารท่ีต้องการในลักษณะทอ่ี าจเขา้ ใจได้ตามควรใหห้ นว่ ยงานของรัฐผู้รับผิดชอบจัดหา
ขอ้ มลู ขา่ วสารน้นั ให้แก่ผู้ขอภายในเวลาอนั สมควรเว้นแต่ผนู้ น้ั ขอจานวนมากหรือบ่อยครั้ง
โดยไมม่ เี หตอุ นั ควรขอ้ มูลขา่ วสารของราชการใดมีสภาพที่อาจบุบสลายง่าย หน่วยงานของ
รฐั จะขอขยายเวลาในการจัดหาให้หรือจะจัดทาสาเนาใหใ้ นสภาพทพ่ี ร้อมจะใหไ้ ด้

27

25

มาตรา 26 ข้อมูลข่าวสารของราชการที่หน่วยงานของรัฐไม่ประสงค์จะเก็บรักษา

หรอื มอี ายคุ รบกาหนดตามวรรคสองนบั แตว่ ันท่ีเสร็จสิ้นการจัดให้มีข้อมูลข่าวสารนั้นให้
หน่วยงานของรัฐส่งมอบให้แก่หอจดหมายเหตุแห่งชาติกรมศิลปากรหรือหน่วยงานอ่ืน
ของรัฐตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกาเพื่อคัดเลือกไว้ให้ประชาชนได้ศึกษาค้นคว้า
ข้อมลู ข่าวสารของราชการตามวรรคหนงึ่ ให้แยกตามประเภทดงั น้ี

1. ข้อมลู ข่าวสารของราชการตามมาตรา 14 เม่ือครบเจ็ดสิบห้าปี
2. ข้อมลู ขา่ วสารของราชการตามมาตรา 15 เมื่อครบย่ีสิบปีกาหนดเวลาตามวรรค
สองอาจขยายออกไปได้
3. หน่วยงานของรัฐยังจาเป็นต้องเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารของราชการไว้เองเพ่ือ
ประโยชน์ในการใช้สอยโดยต้องจัดเก็บและจัดให้ประชาชนได้ศึกษาค้นคว้าตามท่ีตกลง
กับหอจดหมายเหตุแหง่ ชาติกรมศลิ ปากร
4. หน่วยงานของรัฐเห็นว่าข้อมูลข่าวสารของราชการนั้นยังไม่ควรเปิดเผยโดยมี
คาสัง่ ขยายเวลากากบั ไว้เปน็ การเฉพาะรายคาส่ังการขยายเวลานนั้ ใหก้ าหนดระยะเวลา

28

26

ขอ้ มลู ขา่ วสารทหี่ า้ มมใิ หเ้ ปดิ เผยขอ้ มลู ขา่ วสารทอ่ี าจกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หาย
ตอ่ สถาบนั พระมหากษตั รยิ พ์ ระราชบญั ญตั ิ

กาหนดวา่ จะเปดิ เผยมิได้นนั่ หมายถงึ ว่าถ้ามีขอ้ มลู ข่าวสารท่มี ขี ่ายลักษณะตามข้อนี้
หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐจะต้องไม่เปิดเผยไม่มีข้อยกเว้นให้ไปพิจารณาใช้
ดลุ พนิ จิ ชัง่ นา้ หนกั ทง้ั สนิ้ ทั้งนีเ้ ป็นไปตามมาตรา 14 แหง่ พระราชบญั ญตั ขิ อ้ มลู ข่าวสารของ
ราชการ พ.ศ. 2540 กลา่ วคือ

มาตรา 14 ข้อมูลข่าวสารของราชการที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสถาบัน

พระมหากษัตริย์จะเปิดเผยไม่ได้ ข้อมูลข่าวสารท่ีอาจมีคาสั่งมิให้เปิดเผยเพ่ือให้
หน่วยงานของรัฐหรอื เจ้าหน้าที่ของรัฐซ่ึงมีหน้าที่ในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติข้อมูล
ข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ได้มีแนวทางปฏิบัติท่ีชัดเจนในการพิจารณาว่าข้อมูล
ขา่ วสารใดเป็นขอ้ มลู ขา่ วสารทีอ่ าจมีคาสั่งมิให้เปิดเผยหรือสมควรสงวนไว้ยังมีให้เปิดเผย
รวมทง้ั ประชาชนผูใ้ ช้สิทธิตามกฎหมายกไ็ ด้ทราบถึงแนวทางหรอื หลักเกณฑ์ดงั กลา่ ว

29

27

มาตรา 15 ข้อมูลข่าวสารของราชการที่มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปน้ี

หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐบาลอาจมีคาสั่งมิให้เปิดเผยก็ได้โดยคานึงถึงการ
ปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายของหน่วยงานของรัฐประโยชน์สาธารณะและประโยชน์ของ
เอกชนทเ่ี กี่ยวข้องประกอบกนั

1. การเปดิ เผยจะกอ่ ให้เกดิ ความเสียหายตอ่ ความมนั่ คงของประเทศความสัมพันธ์
ระหว่างประเทศหรอื ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจหรือการคลงั ของประเทศ

2. การเปิดเผยจะทาให้การบังคับใช้กฎหมายเสื่อมประสิทธิภาพหรือไม่อาจสาเร็จ
ตามวัตถุประสงค์ได้ไม่ว่าจะเก่ียวกับการฟ้องคดีการป้องกันการปราบปรามการทดสอบ
การตรวจสอบหรอื การรู้แหลง่ ท่มี าของขอ้ มลู ขา่ วสารหรือไม่ก็ตาม

3. ความเหน็ หรือคาแนะนาภายในหน่วยงานของรฐั ในการดาเนนิ การเรอ่ื งหน่ึงเรื่อง
ใด แต่ท้งั นี้ไมร่ วมถงึ รายงานทางวิชาการรายงานขอ้ เทจ็ จรงิ หรือข้อมูลข่าวสารที่นามาใช้ใน
การทาความเห็นหรือคาแนะนาภายในดงั กลา่ ว

4. การเปิดเผยจะก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตหรือความปลอดภัยของบุคคลหน่ึง
บุคคลใด

30

28

5. รายงานการแพทย์หรือข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลซ่ึงการเปิดเผยจะเป็นการรุกล้า
สิทธสิ ่วนบคุ คลโดยไมส่ มควร

6. ข้อมลู ขา่ วสารของราชการที่มกี ฎหมายคุ้มครองมิให้เปดิ เผยหรือข้อมลู ขา่ วสารทม่ี ี
ผู้ใหม้ าโดยไมป่ ระสงคใ์ ห้ทางราชการนาไปเปดิ เผยตอ่ ผูอ้ ่ืน

7. กรณีอน่ื ตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎกี า

คาสั่งมิให้เปิดเผยขอ้ มลู ข่าวสารของราชการจะกาหนดเง่ือนไขอย่างใดก็ได้แต่ต้อง

ระบไุ วด้ ้วยวา่ ทเ่ี ปดิ เผยไม่ได้เพราะ เป็นข้อมูลข่าวสารประเภทใดและเพราะเหตุใดและให้
ถือวา่ การมีคาส่งั เปดิ เผย ขอ้ มลู ขา่ วสารของราชการเป็นดุลพินิจ โดยเฉพาะของเจ้าหน้าท่ี
ของรัฐตามล าดับสายการบังคับบัญชาแต่ผู้ขออาจอุทธรณ์ ต่อ คณะกรรมการวินิจฉัย
การเปดิ เผยขอ้ มูลขา่ วสารไดต้ ามทก่ี าหนดในพระราชบัญญตั ิ

31

29

การจัดการศกึ ษา
ท่เี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั

32

30

การจดั การศกึ ษาทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั

ความหมาย การจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีบทบาทสาคัญในการเป็นผู้

เรียนรู้โดยพยายามจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้สร้างความรู้ได้มี” ปฏิสัมพันธ์กับบุคคลส่ือ
และสิง่ แวดลอ้ มตา่ ง ๆ โดยใช้กระบวนการตา่ ง ๆ เปน็ เคร่อื งมือในการเรียนร้แู ละนักเรียน
มโี อกาสนาความรูไ้ ปประยุกตใ์ ชใ้ นสถานการณอ์ ่ืน

เทคนิคการจดั การเรยี นรกู้ ารสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั 3 ประเดน็ คอื

1. เทคนคิ การจัดกจิ กรรมท่สี ง่ เสริมให้ผูเ้ รียนสร้างความรูด้ ว้ ยตวั เอง
2. เทคนิคการจัดกจิ กรรมที่สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนไดท้ างานร่วมกบั คนอนื่
3. เทคนิคการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน
ชวี ติ ประจาวัน

33

31

องค์ประกอบและตวั บง่ ช้ี

การบรหิ ารจดั การ
1. การกาหนดเป้าหมายในการพัฒนาท่ีมีจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพนักเรียน

อย่างชดั เจน
2. การกาหนดแผนยุทธศาสตรส์ อดคล้องกับเป้า
3. การกาหนดแผนการดาเนินงานในทุกองค์ประกอบของโรงเรียนสอดคล้องกับ

เป้าหมายและเปน็ ไปตามแผนยทุ ธศาสตร์หมาย
4. การจดั ใหม้ รี ะบบประกนั คุณภาพภายใน
5. การจดั ทารายงานประจาปีเพื่อรายงานผู้เก่ียวข้องและสอดคล้องกับแนวทางการ

ประกนั คุณภาพจากภายนอก

การจัดการเรยี นรู้

1. การเรยี นรูเ้ ปน็ งานเฉพาะบคุ คลทาแทนกนั ไมไ่ ด้ครูท่ีต้องการให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้

2. การเรียนรู้เป็นกระบวนกรทางสติปัญญาท่ีต้องมีการใช้กระบวนการคิดสร้าง
ความเขา้ ใจ

3. การเรียนรเู้ ปน็ กระบวนการทางสังคมเพราะในเร่ืองเดียวกนั อาจคิดได้หลายแง่

34

32

5. การเรียนรูเ้ ป็นงานต่อเนื่องตลอดชีวิตขยายพรมแดนความรู้ได้ไม่มีที่สิ้นสุดครู
จงึ ควรสรา้ งกิจกรรมที่กระตุน้ ใหเ้ กิดการแสวงหาความรูไ้ ม่ร้จู บ

6. การเรียนร้เู ป็นการเปลี่ยนแปลงเพราะได้รู้มากขึ้นทาให้เกิดการนาความรู้ไปใช้
ในการเปลี่ยนแปลงส่งิ ต่างๆ

การเรียนรู้ของผเู้ รียน

1. การเรยี นรูอ้ ยา่ งมีความสขุ จากการจดั การเรยี นรู้ที่คานึงถึงความแตกต่างระหว่าง
บคุ คล

2. การเรียนรู้จากการได้คิดและลงมือปฏิบัติจริงหรือกล่าวอีกลักษณะหนึ่งคือ
"เรียนดว้ ยสมองและสองมือ"

3. การเรยี นรู้จากแหล่งเรยี นรูท้ ี่หลากหลายและเรยี นร้รู ว่ มกับบุคคลอื่น
4. การเรียนรจู้ ากแหลง่ เรียนรู้ท่ีหลากหลายและเรียนรู้ร่วมกับบุคคลอ่ืนเป้าหมาย
สาคัญด้านหนึง่ ในการจดั การเรียนร้ทู ี่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั
5. ผู้จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญว่าทุกคนเรียนรู้ได้และเป้าหมายท่ี
สาคัญคือพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถที่จะแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองผู้จัดการ
เรียนร้จู ึงควรสังเกต
และศกึ ษาธรรมชาติ

35

33

บทบาทของครใู นการจดั การเรียนการสอน

บทบาทในฐานะผจู้ ัดการและผู้อานวยความสะดวก

1. วางแผนการจัดการเรียนรู้ ซง่ึ ประกอบด้วย
1.1 การวางแผนอานวยความสะดวก เป็นการวเิ คราะหข์ ้อมลู ของผเู้ รยี น
1.2 การวงาแผนการเรียนรู้ รวมถึงบริหารชนั้ เรียน
1.3 การวางแผนการจัดการเรียนรูใ้ นแตล่ ะครงั้ ที่มขี ั้นตอนสาคญั

2. กาหนดบทบาทของตนเองโดยเฉพาะการเป็นตัวกลางที่จะทาให้เกิดการเรียนรู้
เช่น การสร้างความสัมพันธ์เชิงบวกกับผู้เรียน การเป็นแบบอย่างที่ดี การสร้าง
สภาพแวดลอ้ มที่เกอ้ื กูลต่อการเรียนรู้ และการประพฤติปฏิบัติของผู้เรียน การสร้างระบบ
และการส่ือสารกับผู้เรียนให้ชัดเจน การสร้างระบบควบคุม กากับ ดูแล ด้วยความเป็น
ธรรมและประชาธปิ ไตย

36

บทบาทในฐานะผจู้ ดั การเรยี นรู้ 34

1. การเตรยี มการสอน ครูควรเตรยี มการสอนดงั น้ี 37

1.1 วิเคราะหข์ ้อมลู ของผูเ้ รียน
1.2 วเิ คราะห์หลกั สตู รเพ่ือเชื่อมโยง
1.3 เตรยี มแหลง่ เรยี นรู้ ห้องเรยี น
1.4 วางแผนการสอนควรเขียนใหค้ รอบคลมุ

1.4.1 กาหนดเร่ือง
1.4.2 กาหนดวตั ถุประสงค์ใหช้ ัดเจน
1.4.3 กาหนดเน้ือหาใหเ้ พยี งพอ
1.4.4 กาหนดกิจกรรมท่ีไดค้ ิดและลงมือ
1.4.5 กาหนดวธิ ีการประเมินตาม
1.4.6 กาหนดสอ่ื วสั ดุอุปกรณ์

2. การสอน ครูควรคานงึ ถงึ องคป์ ระกอบตา่ งๆดงั นี้

2.1 สร้างบรรยากาศทเ่ี อ้ือตอ่ การเรียนรู้
2.2 กระตุ้นให้ผูเ้ รียนรว่ มกิจกรรม
2.3 ดกู ิจกรรม
2.4 ใหก้ ารเสริมแรง
2.5 การประเมินผลการเรยี น

35

กฎหมายและระเบยี บขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการ
ศึกษา

38

36

พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
พ.ศ. 2547

มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า“ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากร

ทางการศกึ ษา พ.ศ. 2547

มาตรา 4 ในพระราชบญั ญตั ินี้

ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา หมายความวา่ บคุ คลซ่งึ ไดร้ ับการบรรจแุ ละ
แต่งตงั้ ตามพระราชบญั ญัตนิ ใ้ี ห้รบั ราชการโดยไดร้ บั เงินเดือนจากเงินงบประมาณแผ่นดนิ
บคุ ลากรทจี่ า่ ยในลกั ษณะเงินเดือนในกระทรวงศึกษาธิการกระทรวงการทอ่ งเทยี่ ว

ขา้ ราชการครู หมายความว่าผู้ที่ประกอบวิชาชีพซ่ึงทาหน้าที่หลักทางด้านการเรียน
การสอนและสง่ เสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวธิ กี ารตา่ ง ๆ ในสถานศกึ ษาของรฐั

บุคลากรทางการศึกษา หมายความว่า ผู้บริหารสถานศึกษาผู้บริหารการศึกษา
รวมท้ังผูส้ นบั สนุนการศึกษาซ่งึ เปน็ ผู้ทาหนา้ ท่ีใหบ้ รกิ ารหรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการ
จดั กระบวนการเรยี นการสอน

39

37

มาตรา 7 ให้มีคณะกรรมการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากร ทาง

การศึกษาคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา”
เรยี กโดย ยอ่ วา่ “ ก.ค.ศ. ”

มาตรา 27 ให้ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการครูและบุคลากร

ทางการศกึ ษาในสถานศึกษาและมอี านาจและหนา้ ท่ี

มาตรา 31 อัตราเงนิ เดอื น เงินวิทยฐานะ และเงินประจาตาแหน่งของข้าราชการครูและ

บคุ ลากรทางการศึกษา ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงิน
ประจาตาแหน่งขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา

เงินวทิ ยฐานะ
ชานาญการ : 3,500 บาท
ชานาญการพเิ ศษ : 5,600 + 5,600 บาท
เชีย่ วชาญ : 9,900 + 9,900บาท
สถา นศึก ษา ขอ งรั ฐ เช่ียว ชา ญพิเศ ษ : 13,000 /15,6 00 +
13,000/15,600

40

38

มาตรา 33 ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาอาจไดร้ บั เงนิ เพม่ิ สาหรบั ตาแหน่ง

ทมี่ เี หตุพิเศษตามระเบียบท่ี ก.ค.ศ. กาหนดโดยความเหน็ ชอบของคณะรฐั มนตรี

หมวด 3 การกาหนดตาแหน่ง วิทยฐานะ และการให้ได้รับเงินเดือน เงินวิทยฐานะ

และเงินประจาตาแหนง่
ข้าราชการครู
- ผ้ปู ระกอบวชิ าชีพ : ซ่ึงทาหนา้ ทห่ี ลกั
- ทางดา้ นการเรียนการสอน
- ส่งเสรมิ เรียนรู้
บคุ ลากรทางการศึกษา
- ผู้บริหารสถานศกึ ษา
- ผบู้ ริหารการศกึ ษา
- ผูส้ นับสนนุ การศกึ ษา
- การนิเทศ
- ผทู้ าหน้าท่ใี หบ้ รกิ ารหรือปฎบิ ตั ิงาน
- การบรหิ ารการศึกษา
- ปฎิบัตงิ านอื่น

41

39

มาตรา 42 ให้ ก.ค.ศ. จัดทามาตรฐานตาแหน่ง มาตรฐานวิทยฐานะและมาตรฐาน

ตาแหน่งทางวิชาการของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาไว้เป็นบรรทัดฐานทุก
ตาแหน่งทุกวิทยฐานะเพ่อื ใช้ในการปฏิบัตงิ าน

การย้ายสายครูผูส้ อน 3 ประเภท

เขียนคาร้องขอย้าย ได้เพียง 1 คร้ัง : ภายใน เดือน มกราคม ของปี : แบ่ง
ออกเปน็ 3 ประเภท ดงั นี้

1. การย้ายกรณีปกติ
2. การย้ายกรณพี ิเศษ
3. การย้ายกรณเี พ่อื ความเหมาะสมและประโยชน์ของทางราชการ

การลาบอ่ ยครงั้

ขา้ ราชการในสถานศึกษา : ลาไม่เกนิ 6 ครงั้
ขา้ ราชการใน สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา : ลาไมเ่ กนิ 8 คร้งั

42

40

ลักษณะของวนิ ยั ของขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา

1. ใช้เฉพาะข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
2. ไมม่ อี ายุความ
3. บดิ า มารดา ร้องแทนได้
4. ถอนคาร้อง : ไม่มีผลระงับการดาเนินการทางวินยั
5. ยอมความกนั ไม่ได้/ไม่อาจชดใชด้ ว้ ยเงิน
6. วนิ ัยไมร่ า้ ยแรง : ตาย/ลาออก/เกษียณ : งด วินัยร้ายแรง : ตาย/ลาออก/
เกษยี ณ : ไมง่ ด
7. ความผิดชัดแจง้ : ไมต่ ้องต้งั กรรมการสอบก็ได้
8. รับสารภาพ : ไม่เปน็ เหตุลดหยอ่ น

มาตรา 61 การเล่อื นตาแหน่งบุคลากรทางการศกึ ษาซ่งึ เปน็ ตาแหนง่ ที่มไิ ดก้ าหนดใหม้ ี

วิทยฐานะเพื่อให้ได้รับเงินเดือนในระดับท่ีสูงข้ึน ให้กระทาได้โดยการสอบแข่งขันสอบ
คัดเลือก คัดเลอื ก หรอื ประเมนิ ดว้ ยวิธีการอ่ืน

ผู้ประสงค์จะลาออก ยนื่ ต่อ ผอ. เพื่อให้มีอานาจตามมาตรา 53 พิจารณาอนญุ าต
(ผูม้ ีอานาจ ยับย้งั ไมเ่ กนิ 90 วนั

43

41

พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ฉบับ
ท่ี 2พ.ศ. 2551

หมวด 1

มาตรา 7 ให้มีคณะกรรมการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากร

ทางการศกึ ษาคณะหน่งึ เรยี กว่า “คณะกรรมการขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา”
เรยี กโดยย่อวา่ “ก.ค.ศ.”

หมวด 2

มาตรา 31 อตั ราเงินเดอื น เงนิ วิทยฐานะ และเงินประจาตาแหน่งของข้าราชการ

ครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน เงินวิทยฐานะ
และเงินประจาตาแหน่งขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา

หมวด 3

มาตรา 38 ตาแหนง่ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษามี 3 ประเภท ดังนี้

ก. ตาแหน่งซงึ่ มหี นา้ ทเี่ ป็นผู้สอนในหนว่ ยงานการศกึ ษา คือ ครแู ละครผู ู้ช่วย
ข. ตาแหน่งผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาและผู้บริหารการศกึ ษา
ค. ตาแหน่งบุคลากรทางการศกึ ษาอน่ื

44

42

หมวด 4

มาตรา 53 การบรรจุและแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งรองผู้อานวยการสถานศึกษา

ตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศึกษา ให้ผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเป็นผู้มี
อานาจส่ังบรรจุและแต่งตัง้ โดยอนมุ ัติ อ.ก.ค.ศ. เขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา

มาตรา 59 การยา้ ยขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาผู้ใดไปดารงตาแหนง่

ในหน่วยงานการศกึ ษาอน่ื ภายในส่วนราชการหรอื ภายในเขตพ้ืนท่ีการศึกษาหรือต่างเขต
พน้ื ทกี่ ารศึกษา ตอ้ งได้ รับอนมุ ตั ิจาก อ.ก.ค.ศ.

มาตรา 80 ใหม้ ีการพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งต้ัง

ให้ดารงตาแหน่งบางตาแหน่งและบางวิทยฐานะ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ เจตคติที่ดี
คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชพี ท่เี หมาะสม

45

43

พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ฉบบั ที่ 3
พ.ศ. 2553

มาตรา 5 ให้กรรมการ ก.ค.ศ. ในส่วนของกรรมการผู้แทนข้าราชการครูและ

บุคลากรทางการศึกษาตามมาตรา 7 (5) ซ่ึงปฏิบัติหนา้ ทอ่ี ยู่ในวนั ที่พระราชบัญญัติน้ีใช้
บังคับ ปฏิบัติหน้าทต่ี ่อไปจนกว่าจะไดม้ ีการเลือกตง้ั กรรมการผแู้ ทนขา้ ราชการครู

มาตรา 6 ให้ อ.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนท่ีการศึกษาที่มีอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้

บงั คบั ทาหนา้ ท่ีเป็น อ.ก.ค.ศ. เขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาตามพระราชบญั ญตั ิน้ี

มาตรา 7 การใดอยรู่ ะหวา่ งดาเนนิ การหรอื เคยดาเนินการตามอานาจหน้าท่ีของ

อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ เฉพาะเรื่องการ
บริหารงานบุคคล การดาเนินการทางวินัยและการอุทธรณ์ที่เกี่ยวกับข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา

46

44

พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ฉบบั ท่ี 4
พ.ศ. 2562

มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและ

บุคลากร ทางการศกึ ษา (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ. 2562 ”

มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา

นเุ บกษา เป็นตน้ ไป

มาตรา 3 ให้ยกเลกิ ความในมาตรา 102 แห่งพระราชบญั ญัติระเบียบข้าราชการ

ครแู ละ บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 และให้ใช้ความต่อไปน้แี ทน

มาตรา 102 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดซ่ึงออกจากราชการอัน

มิใช่เพราะเหตุตาย มกี รณถี ูกกล่าวหาเป็นหนงั สอื ก่อนออกจากราชการวา่ ขณะรับราชการ
ไดก้ ระทาหรอื ละเวน้ กระทาการใด อันเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ถ้าเป็นการกล่าวหา
ต่อผู้บงั คบั บญั ชาของผู้นัน้ หรอื ต่อผูม้ ีหนา้ ทสี่ บื สวน สอบสวนหรอื ตรวจสอบตามกฎหมาย
หรือระเบียบของทางราชการ

47

45

การดาเนนิ การทางวนิ ยั ตามวรรคหน่ึง วรรคสอง และวรรคสาม ถ้าผลการสอบสวน
พิจารณาปรากฏว่าผู้น้ันกระทาผิดวินัยไม่ร้ายแรงก็ให้งดโทษ ความในมาตรานี้มิให้ใช้
บงั คับแก่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาซึ่งถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อนตาม
มาตรา 103

มาตรา 4 ใหเ้ พ่ิมความต่อไปน้ีเป็นมาตรา 102/1 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ

ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2547

มาตรา 102/1 ในกรณีที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต

แห่งชาติ หรือ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐมีมติช้ีมูล
ความผิดข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาผู้ใดซ่ึงออกจากราชการแล้ว การ
ดาเนินการทางวินัยและสั่งลงโทษแก่ข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาผู้นั้นให้
เป็นไปตามหลักเกณฑ์และเง่ือนไขท่ีกาหนดไว้ในกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย
การป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตหรือกฎหมายวา่ ด้วยมาตรการของฝ่ายบริหารในการ
ปอ้ งกนั

48

46

ระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยการลาของขา้ ราชการ
พ.ศ.2555

49

47

ความเปน็ มา

ระเบียบสานักนายกรฐั มนตรีว่าดว้ ยการลาของข้าราชการ พ.ศ. 2555 ไดป้ ระกาศใช้
บังคับเป็นระยะเวลาหน่ึง และได้เพิม่ เติมสิทธิการลาของข้าราชการรวม 2 ประเภท ได้แก่
การลาไปชว่ ยเหลือภรยิ าท่คี ลอดบุตร และการลาไปฟ้ืนฟูสมรถภาพด้านอาชีพ เน่ืองจาก
ไดม้ กี ารปรบั ปรุงระเบียบว่าด้วยการลาของข้าราชการให้มีความหมาะสมและสอดคล้องกับ
การปฏิบตั ิราชการ ที่ข้าราชการได้รับนอกเหนือจากเงินเดือนซ่ึงเป็นค่าตอบแทนในการ
ปฏิบัติงาน และใช้ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ. 2555
เป็นข้อบังคับในการดาเนินการ เพื่อความสะดวกในการปฏิบัติของข้าราชการ หรือ
ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านหน่วยงานราชการต่างกม็ ีแนวทางปฏิบัติท่ีแตกต่างกัน และระเบียบดังกล่าว
มีผลตอ่ เนอ่ื งถงึ การจ่ายเงินเดือน ตลอดจนการจ่ายเงินบาเหน็จบานาญให้แก่ข้าราชการ
เมื่อพ้นจากสว่ นราชการ

50


Click to View FlipBook Version