ปกหน้า
ฐานฅนรักษ์สุขภาพ วัตถุประสงค์ 1, เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีทักษะ ความรู้ ความเข้าใจ ในฐานเร ียนรู้ฅนรักษ์สุขภาพ และน าไปปฏิบัติได้ 2. สามารถน าความรู้และเทคนิคในฐานเร ียนรู้ฅนรักษ์สุขภาพ ไปประยุกต์ใช้เป็นอาชีพเสร ิมในครัวเร ือน ก่อให้เกิดรายได้และพึ่งพาตนเองได้ ระยะเวลา จ านวน 1 ชั่วโมง ขอบเขตเนื้อหา 1. เร ียนรู้และฝึกปฏิบัติฐานฅนรักษ์สุขภาพ จ านวน 5 กิจกรรม ดังนี้ 1.1 เร ียนรู้สรรพคุณสมุนไพรในพื้นที่เส้นทางศึกษาธรรมชาติ 1.2 การแช่มือแช่เท้าสมุนไพร 1.3 การพอกหน้าผงถ่านชาร์โคล 1.4 การท าน้าสมุนไพรเพื่อสุขภาพ 1.5 การอบสมุนไพร 2. สรุปผลกิจกรรม แลกเปลี่ยนเร ียนรู้ และตอบข้อซักถาม เทคนิค/วิธีการ 1. วิทยากรประจ าฐานแนะน าตัว สร้างบรรยากาศการเร ียนรู้ร่วมกัน ด้วยการทักทาย มีการเตร ียมความพร้อม ด้วยการปรบมือก่อนน าเข้าสู่กระบวนวิชา 2. วทิยากรประจา ฐานเกรน่ิน าถึงวัตถุประสงค์ของวชิา ประเด็นกิจกรรม และข้อปฏิบัติในการท ากิจกรรม ร่วมกัน 3. วิทยากรประจ าฐานบรรยายให้ความรู้และฝึกปฏิบัติตามกิจกรรม 4. สรุปผลกิจกรรม แลกเปลี่ยนเร ียนรู้ และตอบข้อซักถาม วัสดุ/อุปกรณ์ 1. วัสดุ/อุปกรณ์ประจ าฐานเร ียนรู้ 2. สื่อประกอบการเร ียนรู้ 3. อุปกรณ์เคร ื่องเสียง ไมโครโฟน โทรโข่ง 4. เอกสารองค์ความรู้ประจ าฐานเร ียนรู้ การประเมินผล 1. การสังเกตของวิทยากร 2. พฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการลงมือปฏิบัติ และการตอบข้อซักถาม/การแลกเปลี่ยนเร ียนรู้ 3. การประเมินรายวิชาและประเมินผลวิทยากร
แผนการสอน ฐานฅนรักษ์สุขภาพ วัน/เวลา กิจกรรม/หัวข้อ เนื้อหา/วิธีการ/เทคนิค วัสดุ/อุปกรณ์ หมายเหตุ 1 ชั่วโมง 1. เร ียนรู้และฝึกปฏิบัติ ฐานฅนรักษ์สุขภาพ จ านวน 5 กิจกรรม ดังนี้ 1.1 เร ียนรู้สรรพคุณ สมุนไพรในพื้นที่ เส้นทางศึกษาธรรมชาติ 1.2 การแช่มือ แช่เท้าสมุนไพร 1.3 การพอกหน้า ผงถ่านชาร์โคล 1.4 การท าน้า สมุนไพรเพื่อสุขภาพ 1.5 การอบสมุนไพร 2. สรุปผลกิจกรรม แลกเปลี่ยนเร ียนรู้ และ ตอบข้อซักถาม 1. วิทยากรประจ าฐานแนะน าตัว สร้างบรรยากาศการเร ียนรู้ร่วมกัน ด้วยการทักทาย มีการเตร ียม ความพร้อมด้วยการปรบมือก่อน น าเข้าสู่กระบวนวิชา 2. วทิยากรประจา ฐานเกรน่ิน าถึง วัตถุประสงค์ของวิชา ประเด็น กิจกรรม และข้อปฏิบัติในการท า กิจกรรมร่วมกัน 3. วิทยากรประจ าฐานบรรยายให้ ความรู้และฝึกปฏิบัติตามกิจกรรม 4. สรุปผลกิจกรรม แลกเปลี่ยนเร ียนรู้ และตอบข้อซักถาม 1. วัสดุ/อุปกรณ์ ประจ าฐานเร ียนรู้ 2. สื่อประกอบ การเร ียนรู้ 3. อุปกรณ์ เคร ื่องเสียง ไมโครโฟน โทรโข่ง 4. เอกสารองค์ความรู้ ประจ าฐานเร ียนรู้
เนื้อหาวิชา ฐานฅนรักษ์สุขภาพ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคและวิกฤตการณ์มลพิษทางอากาศที่เกิดขึ้น ท าให้การดูแลสุขภาพ ถือเป็นปัจจัยส าคัญหนึ่งที่ควรตระหนักและให้ความส าคัญในการด าเนินชีวิต วิธีการดูแลสุขภาพมีหลากหลายวิธี ได้แก่ การออกก าลังกาย ลดความเคร ียด รับประทานอาหารสุขภาพ หลีกเลี่ยงความเสี่ยงต่าง ๆ และการใช้สารธรรมชาติหร ือ พืชสมุนไพร นับเป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการรักษาและดูแลสุขภาพ สมุนไพร เป็นพืชที่ใช้ท าเคร ื่องยา มีที่มาจากธรรมชาติ และมีความหมายต่อชีวิตมนุษย์ โดยเฉพาะในทางสุขภาพ อันหมายถึงทั้งการส่งเสร ิมสุขภาพและการรักษาโรค กิจกรรมที่ 1 เร ียนรู้สรรพคุณสมุนไพรในพื้นที่เส้นทางศึกษาธรรมชาติ ข้อมูลพรรณพืชที่มีสรรพคุณทางยา สามารถน ามาใช้ประโยชน์เพื่อการบ าบัดรักษาโรค และช่วยบ ารุง รา่งกายให้แขง็แรง ซงึ่เป็นการใชป้ระโยชน์จากพืชสมุนไพรที่พบในพื้นที่ โดยใชภ้มูิปญัญาทอ้งถิ่นและแพทยแ์ผนไทย ประยุกต์ทั้งนี้ศพช.ล าปาง ได้ออกแบบและพัฒนาพื้นที่ปลูกสมุนไพรพื้นถิ่นเพื่อการอนุรกัษ์จา แนกตามกลุ่มอาการ และระบบต่าง ๆ ของร่างกาย เป็น 11 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มดับพิษร้อน ถอนพิษไข้ เช่น รางจืด ย่านาง 2) กลุ่มระบบกล้ามเนื้อ เช่น เปล้า หนาด 3) กลุ่มระบบขับถ่าย เช่น ดีปลากั้ง หญ้าหนวดแมว 4) กลุ่มแก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ เช่น กระทือ กระวาน 5) กลุ่มระบบหัวใจและเลือด เช่น กุหลาบมอญ แมงลัก 6) กลุ่มระบบผิวหนัง เช่น โปร่งฟ้า สบู่เลือด 7) กลุ่มระบบตา เช่น อัญชัน เสาวรส 8) กลุ่มรักษาโรคมะเร็ง เช่น ทองพันชั่ง ผักชีช้าง
9) กลุ่ม 5 สมุนไพรพื้นบ้าน ต้าน COVID-19 เช่น กระชายขาว ขิง . 10) กลุ่มแก้อาเจียน เช่น สเปียร์มินต์ กะเพรา 11) กลุ่มรักษาเบาหวาน เช่น ใบเตย หญ้าหวาน นอกจากนี้ ยังสามารถแบ่งประเภทของสมุนไพรตามสภาพฤทธขิ์องยา ออกเป็น2 กลุ่ม โดยเลือกใชใ้ห้ เหมาะสมตามสภาพอาการและผู้ป่วย ได้แก่ 1) สมุนไพรฤทธเิ์ย็น ชว่ยระบายพิษ สงัเกตได้จากสมุนไพรมีใบสีเขียว รสชาติจดื ไม่มีกลิ่นฉุน เมื่อรา่งกาย ได้รับเข้าไปจะท าให้รู้สึกเย็น ชุ่มชื่นมากขึ้น เป็นประเภทสมุนไพรที่คนไทยนิยมใช้ เช่น ใบเตย: เป็นยาขับปัสสาวะ แก้กระษัย รักษาโรคหอบหืด บ ารุงหัวใจ วอเตอร์เครส: ต่อต้านอนุมูลอิสระ ชะลอความแก่ชรา เสร ิมสร้างภูมิคุ้มกัน บ ารุงและรักษาสายตา ช่วย ย่อยอาหาร ว่านกาบหอยแครง: แก้ร้อนใน กระหายน้า แก้ไอ แก้ฟกช้าภายใน แก้บิด แก้อาเจียน และถ่ายเป็นเลือด ใบย่านาง: ต่อต้านอนุมูลอิสระ ชะลอความแก่ชรา เสร ิมสร้างภูมิคุ้มกัน ฟื้นฟูเซลล์ต่าง ๆ ในร่างกาย ปรับสมดุล ใบออมแซบ่ (เบญจรงค์): ฤทธริ์ะงับการอักเสบ ลดระดับน ้ าตาลและไขมันในเลือด ต้านอนุมูลอิสระ ต้านเชื้อแบคทีเร ียและเชื้อรา ผักปลาบแหลม: แก้โรคเร ื้อน แก้อาการระคายเคืองที่ผิวหนัง บรรเทาอาการปวด 2) สมุนไพรฤทธริ์อ้น เมื่อรา่งกายได้รบัเข้าไป อุณหภูมิรา่งกายจะสูงขึ้น เชน่ ใบพลับพลึง: แก้เคล็ดยอกและบวม ใบมะขาม: ช่วยฟอกเลือด ส้มป่อย: แก้ปวดเมื่อย ตะไคร้: แก้หวัด ปวดศีรษะ ไอ แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ แน่นจุกเสียด ขับลมในล าไส้ บ ารุงไฟธาตุ แก้ปวด กระเพาะอาหาร ไพล: แก้ฟกช้า เคล็ดบวม แก้ผื่นคัน กันเล็บถอด ผิวและใบมะกรูด: แก้ปัญหากลิ่นเท้าเหม็น ขมิ้น: แก้การอักเสบ
กิจกรรมที่ 2 การแช่เท้าสมุนไพร วัสดุอุปกรณ์ 1) ไพล 2) ผิวมะกรูด 3) ใบมะกรูด 4) ตะไคร้ 5) ใบมะขาม 6) ใบสาบเสือ 7) ส้มป่อย 8) หม้อส าหรับต้มสมุนไพร 9) เตาแก๊ส 10) ขันตักน้า 11) กะละมังส าหรับแช่เท้า 12) เกลือ ขั้นตอน การเตร ียมน้าสมุนไพรแช่มือแช่เท้า 1. น าสมุนไพรอย่าน้อย 5 ชนิด ใส่ลงในหม้อส าหรับต้ม จากนั้นเทน้าลงไปให้ท่วมสมุนไพร 2. ต้มน้าให้เดือด 10 - 15 นาที 3. ตักน้าสมุนไพรลงในกะละมังส าหรับแช่เท้า 4. เติมน้าสะอาดและใส่เกลือลงไปผสมในกะละมังจนน้าอุ่น ใช้วิธีทดสอบโดยใช้มือจุ่มลงไปเพื่อทดสอบความร้อน และให้ได้ปร ิมาณน้าในกะละมังแช่เท้าให้ท่วมตาตุ่ม การแช่เท้า 1. ท าความสะอาดเท้า โดยใช้สบู่ฟอกที่เท้าและล้างออกด้วยน้าสะอาด 2. แช่เท้าด้วยสมุนไพรนาน 3 นาที และพัก 1 นาที (ท าซ้ากัน 3 ครั้ง) 3. ล้างเท้าให้สะอาด จากนั้นเช็ดเท้าให้แห้งด้วยผ้าที่สะอาด ประโยชน์การแช่มือแช่เท้าสมุนไพร 1. กระตุ้นการไหลเวียนของเลือด จากปลายเท้าไปทั่วร่างกาย ท าให้ลดอาการเมื่อยล้า 2. ลดอาการอักเสบในคนที่ปลายเท้าชาหร ือปวดขา ปวดเข่า 3. บรรเทาอาการปวดประจ าเดือน ขาไม่มีแรง ปวดท้อง ปวดกระเพาะอาหาร ล าไส้ ช่วยให้ผ่อนคลาย ฟ ข้อควรระวัง ผู้ป่วยบางโรคที่รับความรู้สึกได้ช้ากว่าปกติ หร ือมีบาดแผลควรใช้อย่างระมัดระวัง
กิจกรรมที่ 3 การพอกหน้าผลถ่านชาร์โคล วัสดุอุปกรณ์ 1) ดินสอพอง 7 ส่วน (ใช้แก้พิษร้อนกับร่างกาย ถอนพิษอักเสบ แก้ผด ผื่น และคัน) 2) ผงถ่าน 1,000 องศา 1 ส่วน (ดูดซับสารพิษสารเคมีในรูขุมขน ขจัดเซลล์ที่ตาย และช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของ เลือดบนผิวหนัง เพิ่มความชุม่ชนื้บ ารุงผิว) 3) น้าสะอาด น้าคลอโรฟิลล์สดจากธรรมชาติ หร ือน้าใบย่านาง 4) ภาชนะส าหรับผสมดินสอพองและผงถ่าน 5) ผ้าขนหนูส าหรับเช็ดหน้า ขั้นตอน 1. น าผงถ่านและดินสอพองผสมกับน้าสะอาดหร ือน้าคลอโรฟิลล์ แล้วคนให้เข้ากันจนเป็นเนื้อคร ีม 2. ล้างหน้าให้สะอาดและเช็ดหน้าให้แห้ง จากนั้นน าดินสอพองและผงถ่านที่ละลายเป็นเนื้อคร ีมที่เตร ียมไว้ทาลงบนใบหน้า ใชน้ ิ้วนางขัดหน้าเบา ๆ ให้ทั่วใบหน้า โดยเว้นบรเิวณรอบดวงตาและรมิฝีปาก พอกหน้าทิ้งไว้นาน 10 - 15 นาที 3. ปะพรมน ้ าสะอาด น ้ าคลอโรฟิลล์หรอืน ้ าใบย่านาง ให้ทั่วใบหน้า เพื่อเพิ่มความชุม่ชนื้จากนั้นจงึล้างหน้าด้วย น้าสะอาด และเช็ดหน้าให้แห้ง ประโยชน์การพอกหน้า 1. ดูดซับสารพิษ สารเคมีในรูขุมขน ขจัดเซลล์ที่ตาย 2. ชว่ยกระตุ้นการไหลเวยีนของเลือดบนผิวหนัง เพิ่มความชุม่ชนื้ 3. แก้พิษร้อนกับร่างกาย ถอนพิษอักเสบ แก้ผดผื่นและคัน
กิจกรรมที่ 4 การท าน้าสมุนไพรเพื่อสุขภาพ กิจกรรมที่ 4.1 การท าน้าตะไคร้ใบเตย วัสดุอุปกรณ์ 1) ตะไคร้ 2) ใบเตย 3) น้าตาลทรายแดง 4) น้า 5) เขียง 6) มีดส าหรับหั่น 7) ช้อนสแตนเลส 8) กะละมัง 9) แก้วน้าหร ือขวดน้าส าหรับบรรจุ ขั้นตอน 1. น าต้นตะไคร้มาทุบและหั่นเป็นท่อน น าใบเตยมาหั่นเป็นท่อน ๆ เช่นกัน 2. เติมน้าเปล่าใส่หม้อ ตั้งไฟให้เดือด ใส่ตะไคร้และใบเตยลงไป 3. ต้มประมาณ 3 นาที แยกต้นตะไคร้และใบเตยออกมาจากหม้อ 4. เติมน้าตาลทราย คนจนน้าตาลละลาย กิจกรรมที่ 4.2 การท าน้าคลอโรฟิลล์ วัสดุอุปกรณ์ 1) ว่านกาบหอย 2) ใบย่านาง 3) ใบเตย 4) วอเตอร์เครส 5) ใบอ่อมแซ่บ 6) เคร ื่องปั่ นน้าผลไม้ 7) เขียง 8) มีดส าหรับหั่น 9) ผ้าขาวบางส าหรับกรอง 10) ช้อนสแตนเลส 11) กะละมัง 12) แก้วน้าหร ือขวดน้าส าหรับบรรจุ ขั้นตอน 1. ล้างผักให้สะอาด จากนั้นน ามาหั่นให้ละเอียด 2. น าผักที่หั่นเสร็จแล้วใส่ลงไปในเคร ื่องปั่ น เติมน้าสะอาดและปั่ นให้ละเอียด 3. กรองด้วยผ้าขาวบาง 4. เทใส่แก้วหร ือขวดพร้อมดื่ม
กิจกรรมที่ 5 การอบสมุนไพร วัสดุอุปกรณ์ 1) ไพล 2) ผิวมะกรูด 3) ใบมะกรูด 4) ตะไคร้ 5) ใบมะขาม 6) ใบสาบเสือ 7) ส้มป่อย 8) หม้อไฟฟ้าส าหรับต้มสมุนไพร 9) กระโจม 10) เก้าอี้ ขั้นตอน 1. ต้มสมุนไพรจนเดือด 2. จัดอุปกรณ์ วางหม้อไฟฟ้าในกระโจม 3. อบตัวในกระโจม ประมาณ 15 - 20 นาที พัก 5 นาที อบอีก 1 รอบ ประโยชน์การอบสมุนไพร 1. เพิ่มการไหลเวยีนของโลหิตในรา่งกายดีขึ้น คลายความตึงเครยีด 2. ช าระล้างและขับของเสียออกจากร่างกาย ช่วยให้สบายตัว ลดอาการปวดศีรษะ 3. ผ่อนคลายกล้ามเนื้อและเส้นเอ็นบรรเทาอาการปวดเมื่อย 4. ท าให้ระบบการหายใจดีขึ้น บ ารุงผิวพรรณ บรรเทาอาการผดผื่นคัน 5. ช่วยให้น้าหนักร่างกายลดลงได้ชั่วคราว 6. ช่วยให้มดลูกเข้าอู่เร็วในหญิงหลังคลอด ข้อห้าม 1. มีโรคประจ าตัว ได้แก่ โรคไต โรคหัวใจ โรคลมชัก โรคหอบหืดระยะรุนแรง โรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจรุนแรง ใน รายที่มีความดันโลหิตสูงไม่เกิน ๑๘๐ มิลลิเมตรปรอท อาจให้อบได้ตามดุลยพินิจของแพทย์ แต่ควรได้รับการดูแลอย่าง ใกล้ชิด2. อ่อนเพลีย อดนอน อดอาหาร หร ือหลังรับประทานอาหารใหม่ ๆ 3. ปวดศีรษะชนิดเวียนศีรษะ คลื่นไส้
สรุปกิจกรรมฐานฅนรักษ์สุขภาพ การดูแลสุขภาพด้วยวิถีพอเพียง จากบรรพบุรุษของเราเคยพูดไว้ว่า “ใจเป็นนาย กายเป็นบ่าว” การประคองตนให้ด ารงสติเกิดสมาธิจติ ใจพบความสงมเย็น ท าให้เกิดสิ่งแวดล้อมที่ดีทั้ง กายและใจ หากภาวะจิตใจที่ไม่สบาย จะส่งผลให้เกิดโรคทางกายอีกมากมายตามมา ควรให้ความส าคัญต่อสุขภาพ ด้วย การกินข้าวเป็นหลัก กินผักเป็นยา กินปลาเป็นอาหาร ที่มีผลต่อโภชนาการอุดมด้วยสารอาหารที่จ าเป็นต่อการเจร ิญเติบโต ของร่างกาย จึงช่วยให้ร่างกายแข็งแรง สามารถด าเนินชีวิตและเอื้ออ านวยต่อการท างานที่เป็นคุณประโยชน์ได้ ดังพระราชด ารัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
สื่อการเร ียนรู้ ฐานฅนรักษ์สุขภาพ