The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยด่านเจริญชัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ranmapim, 2021-09-10 08:21:02

วิจัยด่านเจริญชัย

วิจัยด่านเจริญชัย



การพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคตติ ่อวิชาวทิ ยาศาสตร์
เร่อื ง แรงทก่ี ระทาต่อวัตถุ ของนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6
โรงเรยี นบา้ นด่านเจรญิ ชัย โดยใชร้ ปู แบบการสอน STEM

จดั ทาโดย
นางสาวฐิตพิ ร รตั นวิชยั

ตาแหนง่ ครูชว่ ย

โรงเรียนบ้านด่านเจรญิ ชัย
สงั กดั สานกั งานเขตพน้ื การศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบูรณ์ เขต 3



บทที่ 1

บทนา
ท่มี าและความสาคัญ

นับไดว้ า่ วทิ ยาศาสตร์นั้น ได้มีบทบาทท่ีสาคัญเป็นอยา่ งยิง่ ในการใช้ชีวิตประจาวันของมนุษย์
ตลอดจนเทคโนโลยเี ครอ่ื งมอื เครอ่ื งใชต้ ่างๆ ที่มนุษยใ์ ชเ้ พื่ออานวยความสะดวกในชีวิตและการทางาน
นอกจากนว้ี ทิ ยาศาสตรย์ งั ช่วยให้มนษุ ย์สามารถพัฒนาวิธีคิดของตนเอง ให้มีเหตุมีผล สร้างสรรค์ คิด
วเิ คราะหว์ จิ ารณอ์ ย่างมีความเขา้ ใจ มคี วามสามารถในการแกป้ ัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจ
โดยใช้ข้อมูลท่ีมีประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ วิทยาศาสตร์จึงถือเป็นวัฒธรรมของโลกสมัยใหม่ซึ่ง
เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ดังนั้นกระทรวงศึกษาธิการ จึงมุ่งหวังให้ผู้เรียนทุกคนจาเป็นต้องได้รับ
พัฒนาให้รู้วิทยาศาสตร์ เพ่ือที่จะมีความรู้ความเข้าใจธรรมชาติและเทคโนโลยีท่ีมนุษย์สร้างขึ้น
สามารถนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ อย่างมีคุณธรรม (หลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน, 2551)

ผลการสารวจผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง แรงที่กระทาต่อวัตถุ ของ
นักเรยี นระดับชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6 โรงเรียนบ้านด่านเจริญชัยในปีท่ีผ่านมา พบว่ามีคะแนนต่ากว่า
เกณฑ์ร้อยละ 20 เนื่องจากเนื้อหา เร่ือง แรงที่กระทาต่อวัตถุ นั้นต้องใช้ความเข้าใจและความจา
ควบคกู่ ัน (โรงเรียนบา้ นด่านเจรญิ ชยั , 2563)

จากข้อมูลเบอ้ื งตน้ จะเห็นวา่ มผี ้เู รยี นมากวา่ รอ้ ยละ 20 ของจานวนนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษา
ปีที่ 6 โรงเรียนบ้านด่านเจริญชัย ที่มีผลสัมฤทธ์ิต่ากว่าเกณฑ์ ซึ่งขัดต่อความมุ่งหมายของ
กระทรวงศึกษาธิการ ท่ีมีจุดประสงค์ให้ผู้เรียนทุกคนจาเป็นต้องได้รับการพัฒนาให้รู้วิทยาศาสตร์
(หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน, 2551) และหากผู้เรียนไม่สามารถวิเคราะห์ เข้าใจ และ
แกไ้ ขปญั หาดว้ ยตนเองไม่ได้ จะสง่ ผลใหก้ ารเรยี นหรอื ผลสัมฤทธิ์นั้นแย่ลงในทสี่ ุดเมอ่ื ผเู้ รียนไม่สามารถ
ประพฤติตนให้ประสบความสาเร็จได้ ก็จะส่งผลให้เกิดปัญหาทางสังคมต่อไป (หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน, 2551)

ปัญหาของผลสัมฤทธิ์ต่ากว่าเกณฑ์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียน
บ้านด่านเจรญิ ชัย เนื่องจากมเี นอ้ื หาท่ียากมากเกินไป ผู้เรียนไมส่ ามารถเชื่อมโยงความรู้ในเนื้อหาท่ีได้
ไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ได้ ไม่สามารถวิเคราะห์ส่ิงที่เป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรมได้ นอกจากน้ีวิธีการ
สอนแบบเดมิ ๆ อาจทาให้นกั เรียนรสู้ กึ เบื่อและไมอ่ ยากเรยี น

จากสาเหตุข้างต้นจึงมีผู้สนใจที่จะศึกษา หาวิธีแก้ไขปัญหาโดยการบูรณาการเน้ือหา และ
ทักษะด้านวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ วิชาวิศวกรรมศาสตร์ และวิชาเทคโนโลยี เข้าด้วยกันซึ่ง
เรียกว่า “สะเต็มศึกษา” ( ธานี จันทร์นาง, 2556) เป็นวิชาท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มี ความรู้
ความสามารถท่ีจะดารงชีวิตได้ อย่างมีคุณภาพในศตวรรษที่ 21 เป็นการเรียนรู้ท่ีแยกออกจากกัน
อยา่ งอิสระ เปรยี บเสมอื นกับขนมช้ัน แต่ละช้ันจะเรียนกันอย่างเป็นระเบียบแต่ก็ไม่สามารถรวมเป็น
เนื้อหาเดียวกันได้ จึงทาให้มีการนาทักษะกระบวนการทางวิศวกรรมเข้ามาบูรณาการร่วมด้วย
(สุพรรณี ชาญประเสริฐ, 2557) ส่งผลให้ นักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง สืบเสาะหา
ความรู้ด้วยตนเอง มีความกระตือรือร้น รู้สึกสนุก อยากมีส่วนร่วมในการทากิจกรรมเพิ่มข้ึนด้วย
(ประสาท เนืองเฉลิม, 2557) และจะทาให้ระดับผลการเรียนในวิชาวิทยาศาสตร์เพ่ิมสูงข้ึน



ลดช่องว่างผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ให้แคบลง และผู้เรียนจะมีเจตคติที่ดีต่อการ
ประกอบอาชพี ที่เกีย่ วข้องกับสะเต็มศกึ ษา สามารถถ่ายโอนความรู้ ทักษะและกระบวนการเรียนรู้ทาง
วิทยาศาสตร์ ส่กู ารแก้ปัญหาในชวี ิตจริงที่เกดิ ขน้ึ ในภายหน้าได้ (ศรายุทธ์ ชาญนคร, 2558)

รูปแบบการสอนแบบ สะเต็มศึกษา เป็นวิธีการสอนแบบใหม่ เป็นอีกหนึ่งรูปแบบที่น่าสนใจ
เนอ่ื งจากมคี วามแปลกใหม่ มีรูปแบบการสอน หรือกิจกรรมการเรียนรู้ที่น่าตื่นเต้น ดังนั้นผู้วิจัยจึงนา
วธิ กี ารสอนดงั กลา่ วมาใช้ในการแกป้ ญั หาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และเจตคติต่อวิชา
วิทยาศาสตร์ เร่ือง แรงท่ีกระทาต่อวัตถุ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านด่าน
เจริญชัย เพ่ือมุ่งหวังให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิและเจตคติทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เร่ือง
แรงท่ีกระทาตอ่ วตั ถุ เพ่มิ มากข้ึน

ความม่งุ หมายของงานวจิ ยั
ในการวจิ ัยครั้งน้ีผวู้ จิ ัยได้ต้งั ความมุง่ หมายไวด้ งั นี้

1. เพอื่ เปรยี บเทียบผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนวชิ าวิทยาศาสตร์ เรื่อง แรงที่กระทาต่อวัตถุ ก่อน
เรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาท่ี 6 โรงเรียนบ้านด่านเจริญชัย โดยใช้รูปแบบการ
สอนแบบ STEM

2. เพอื่ เปรยี บเทยี บเจตคตติ ่อวิชาวิทยาศาสตร์ เร่ือง แรงทก่ี ระทาตอ่ วัตถุ ก่อนเรียนและหลัง
เรียนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านด่านเจริญชัย โดยใช้รูปแบบการสอนแบบ
STEM

ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะได้รับ
1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง แรงที่กระทาต่อวัตถุ ของนักเรียนช้ัน

ประถมศึกษาท่ี 6 โรงเรยี นบ้านด่านเจรญิ ชยั สูงข้ึน
2. เจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง แรงที่กระทาต่อวัตถุ ของนักเรียนชั้นนักเรียน

ประถมศึกษาท่ี 6 โรงเรยี นบา้ นด่านเจริญชยั สงู ขน้ึ
3. ครูวิทยาศาสตร์หรือผู้ที่สนใจทั่วไปได้แนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนวิชา

วทิ ยาศาสตรส์ าหรับเร่ืองอืน่ ๆ ตอ่ ไป

ขอบเขตของการวจิ ยั
ประชากรท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั

ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคน้ ควา้ เปน็ นกั เรียนโรงเรยี นบ้านดา่ นเจริญชัยจานวน 54 คน

กล่มุ ตัวอยา่ งท่ีใชใ้ นการวจิ ัย
กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังนี้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาที่ 6 โรงเรียนบ้านด่าน

เจริญชัย อาเภอศรีเทพ จังหวัดลพบุรี ภาคเรียนที่ 1 ประจาปีการศึกษา2564 ทั้งหมด 1 ห้อง
จานวน 9 คน



ระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการวิจยั
ระยะเวลาทใ่ี ช้ในการทาวจิ ยั ผู้วิจัยทาการทดสอบในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 โดย

ใช้เวลาในการทดสอบเคร่อื งมือ 3 ชั่วโมง

เน้อื หาทีใ่ ชใ้ นการวจิ ัย
เน้ือหาท่ีใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นเน้ือหา ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในสาระท่ี 4

แรงและการเคลอ่ื นที่ มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง และแรง
นิวเคลียร์ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้และนาไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้องมี
คุณธรรม

นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ
รูปแบบการสอนแบบ STEM หมายถึง การสอนในรูปแบบการสอน STEM เป็นการบูรณา

การ 4 วิชาหลัก เข้าด้วยกันคือ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาเทคโนโลยี วิชาวิศวกรรมศาสตร์ และวิชา
คณิตศาสตร์ โดยดึงจดุ เด่นของแต่ละวิชามารวมเป็นหนึ่ง มุ่งเน้นให้เด็กได้ลงมือทาด้วยตนโดย โดยมี
การแบง่ กลมุ่ เพือ่ สร้างชนิดงานท่ีสามารถนาความรู้ เร่ือง แรงทกี่ ระทาตอ่ วตั ถุ มาประยกุ ต์ซง่ึ ผเู้ รียนจะ
ได้ทางานเปน็ กล่มุ มคี วามภาคภูมิใจในช้ินงาน

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวทิ ยาศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการเรียนรู วิทยาศาสตรใน
เน้อื หาเรื่อง แรงและการเคล่ือนท่ี ซ่ึงประกอบดวยหนวยการเรียนรูยอย ไดแก ความหมายของแรง
ประเภทของแรง แรงกิรยิ าและปฏกิ ริ ยิ า แรงเสียดทาน การเคลอ่ื นที่ของวัตถุและโมเมนตของแรง ซ่ึง
พิจารณาจากคะแนนการตอบแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีผู วิจัยสรางขึ้นโดยวัดจาก
ความสามารถดานตางๆ 4 ดาน คือ (ระทุม อัตชู. 2547: 3)

2.1 ความรู - ความจา หมายถึง ความสามารถในการระลึกสิ่งท่ีเคยเรียนมาแลว เกี่ยวกับ
ขอเทจ็ จรงิ ขอตกลง คาศัพทหลักการและทฤษฎที างวทิ ยาศาสตร

2.2 ดานความเขาใจ หมายถึง ความสามารถในการอธิบายความหมายขยายความ และแปล
ความรูโดยอาศยั ขอเทจ็ จรงิ ขอตกลง คาศัพทหลกั การและทฤษฏีทางวทิ ยาศาสตร

2.3 ดานการนาไปใช้ หมายถึง ความสามารถในการนาความรูทางวิทยาศาสตรไปใช ใน
สถานการณใหมที่แตกตางกันออกไป หรอื สถานการณท่ีคลายคลึง โดยเฉพาะอยางยิ่งการ นาไปใชใน
ชวี ิตประจาวัน

2.4 ดานทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการสืบ
เสาะหาความรูโดยผานการปฏิบัติและฝกฝนความคิดอยางมีระบบจนเกิดความคลองแคลว ชานาญ
เลือกกิจกรรมตางๆ ไดอยางเหมาะสม สาหรับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรที่ สอดคลองกับ
เนือ้ หาในการวิจัยครั้งน้ีดวยประกอบดวย ทักษะการสังเกต ทักษะการจาแนกประเภท ทักษะการจัด
กระทา และสอื่ ความหมายขอมลู ทกั ษะการลงความเห็นจากขอมลู และทกั ษะการ ตคี วามหมายขอมูล
และลงขอสรปุ ผล สัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนโดยใชรูปแบบการสอน STEM คิดเปน
รอยละ 80



เจตคตติ ่อวชิ าวทิ ยาศาสตร์ หมายถงึ ความคดิ เห็นของผู้เรียนที่มีต่อวิทยาศาสตร์ในด้านการ
เรยี นการสอน เนื้อหาและประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนหลังการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการสอน
แบบ STEM โดยผู้วิจัยได้พิจารณาเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ด้านความรู้ ด้านความรู้สึก และด้าน
แนวโน้มเชิงพฤติกรรม โดยใช้แบบประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ท่ีสร้างข้ึนตามวิธีการของลิเคิร์ท
(Likert Scale) เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ คือ 5, 4, 3, 2 และ 1 ซ่ึงหมายถึง เห็น
ดว้ ยอยา่ งยิ่ง เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไมเ่ ห็นด้วย และไม่เห็นดว้ ยอย่างยงิ่ ตามลาดับ

กรอบแนวคดิ ในการวิจัย
การใช้รูปแบบการสอน STEM เป็นการบูรณาการ 4 วิชาหลัก เข้าด้วยกันคือ วิชา

วิทยาศาสตร์ วิชาเทคโนโลยี วิชาวิศวกรรมศาสตร์ และวิชาคณิตศาสตร์ ซ่ึงการบูรณาการน้ีได้นา
จดุ เด่นของแต่ละศาสตร์ มาประยุกตเ์ พื่อเป็นแนวทางในการดารงชวี ติ

รปู แบบการสอนแบบ STEM การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
และ เจตคตติ อ่ วชิ าวิทยาศาสตร์

เรอื่ ง แรงทก่ี ระทาต่อวัตถุ

สมมติฐานในการวจิ ยั
1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง แรงท่ีกระทาต่อวัตถุ ของนักเรียนช้ัน

ประถมศกึ ษาท่ี 6 โรงเรียนบา้ นด่านเจรญิ ชัย หลงั เรียนสงู กว่าก่อนเรียน
2. เจตคตติ ่อวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง แรงท่ีกระทาต่อวัตถุ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาที่ 6

โรงเรียนบ้านดา่ นเจริญชยั หลังเรียนสงู กว่าก่อนเรียน



บทท่ี 2

เอกสารทเี่ ก่ียวข้อง
การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิและเจตคติทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เร่ือง แรงที่กระทาต่อวัตถุ
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านด่านเจริญชัย โดยใช้รูปแบบการสอนแบบ STEM
ในครัง้ น้ี ผู้วจิ ยั ได้ศกึ ษาทฤษฏแี นวคดิ และงานวจิ ัยท่ีเก่ียวขอ้ งนาเสนอตามลาดบั ดงั น้ี
1. เอกสารที่เก่ียวข้องกับการเรยี นวทิ ยาศาสตร์

1.1 ธรรมชาติวิทยาศาสตร์
1.2ทฤษฎที างจติ วิทยาเพื่อการเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์
1.3 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวชิ าวทิ ยาศาสตร์
1.4 เจตคติทางการเรยี นวทิ ยาศาสตร์
2. เอกสารท่ีเกีย่ วข้องกับการสอนแบบ STEM
2.1 ความหมายและแนวคดิ การสอนแบบ STEM
2.2 องค์ประกอบของความรูแ้ ละทักษะในศตวรรษที่ 21 STEM
3. เอกสารท่ีเก่ยี วขอ้ งกับงานวจิ ยั
3.1 วจิ ยั ท่เี ก่ยี วขอ้ งภายในประเทศ
3.2 วจิ ัยที่เกี่ยวขอ้ งต่างประเทศ
1. เอกสารที่เก่ียวขอ้ งกบั การเรยี นวทิ ยาศาสตร์
1.1 ธรรมชาติวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์มาจากภาษาอังกฤษที่ว่า “Science” น้ันมีรากศัพท์มาจากภาษาลาตินว่า
“Sciences” ซ่งึ หมายถึง ความรู้ ฉะนั้นในสมัยก่อนๆ วิทยาศาสตร์จะหมายถึงความรู้เพียงอย่าง
เดียว กระบวนการเรียนการสอนทเ่ี กดิ ขึน้ ในสมัยก่อนๆ จึงมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเรียนรู้เฉพาะเน้ือหาวิชา
ให้ได้มากที่สุดเท่าท่ีจะมากได้ วิธีการถ่ายทอดเนื้อหาของผู้สอนที่ง่ายและสะดวกรวดเร็ว คือ การ
บรรยาย ผเู้ รยี นมหี น้าท่ีฟัง จดจา แต่ความหมายของวิทยาศาสตร์ในสมัยปัจจุบันได้มีการกล่าวถึง
ส่วนที่เป็นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (body of knowledge) และส่วนท่ีเป็นกระบวนการแสวงหา
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (process of scientific inquiry) ตามการจัดของ The American
Association for the Advancement of Science (AAAS) ซึ่งจัดได้เป็น 3 กลุ่มใหญๆ่ ดงั น้ี
ดา้ นที่ 1 โลกในมุมมองแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific World View) 1.1 โลกคือสิ่ง
ท่สี ามารถทาความเขา้ ใจได้ นัน่ คอื เราสามารถทาความเข้าใจปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดข้ึนบนโลกและ
จกั รวาลได้ด้วยความคิด และการใช้ปัญญา โดยมีวิธีการศึกษาอย่างเป็นระบบ ใช้เคร่ืองมือต่างๆ ใน
การรวบรวมข้อมูลเพื่อให้ได้มาซ่ึงคาตอบ แต่มักจะมีคาถามใหม่เกิดขึ้นเสมอ 1.2 แนวคิดทาง
วิทยาศาสตร์สามารถเปลี่ยนแปลงได้ กล่าวคือ วิทยาศาสตร์เป็นกระบวนการสร้างองค์ความรู้ซ่ึง
ประกอบด้วยการสังเกตปรากฏการณ์ต่างๆ ในธรรมชาติอย่างละเอียดรอบคอบเพื่อทาความเข้าใจ
ปรากฏการณ์นั้นๆ ดงั นน้ั คาถามใหม่จงึ เกิดขึน้ ตอ่ เน่อื งตลอดเวลาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และส่งผลใน
การปรบั ปรุงหรือคิดค้นวิธีการใหม่ในการค้นหาคาตอบ ซึ่งการสังเกตคร้ังใหม่อาจได้ข้อมูลที่ความรู้
ทางวิทยาศาสตรท์ ่มี ีอยูแ่ ลว้ แต่ไมส่ ามารถอธบิ ายได้ แม้ว่าในมุมมองวิทยาศาสตร์อาจไม่มีความจริงท่ี
สมั บูรณท์ ่ีสุด (Absolute Truth) แต่ข้อมูลท่ีมีความถูกต้องแม่นยามากข้ึนจะย่ิงทาให้มนุษย์เข้าใจ



ปรากฏการณ์น้ันๆ ได้ใกล้เคียงความเป็นจริงมากขึ้น 1.3 ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มีความคงทน
กล่าวคือ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์พัฒนาข้ึนมาอย่างช้าๆ ผ่านวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เช่น การ
สารวจ สืบค้น ทดลอง สร้างแบบจาลองอย่างต่อเนื่องซ้าแล้วซ้าเล่า ดังนั้นแม้วิทยาศาสตร์จะ
ยอมรับความไม่แน่นอนและปฏิเสธเร่ืองความจริงสัมบูรณ์ว่าเป็นส่วนหน่ึงของธรรมชาติ แต่ความรู้
ทางวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่มีความคงทน เช่ือถือได้เพราะผ่านวิธีการทางวิทยาศาสตร์ท่ีเน้นความ
ถูกต้อง แม่นยา 1.4 ทฤษฎีและกฎมีความสัมพันธ์กันแต่มีความแตกต่างกัน กล่าวคือ
แนวความคิดคลาดเคล่ือนท่ีพบบ่อยเกี่ยวกับกฎและทฤษฎี คือ “กฎเป็นทฤษฎีที่พัฒนาแล้ว จึงมี
ความน่าเชื่อถือและมีคุณค่ามากกว่าทฤษฎี” ในความเป็นจริงแล้วท้ังกฎและทฤษฎีเป็นผลผลิตของ
วทิ ยาศาสตร์ท่ีมีความสาคัญเท่าเทียมกัน โดยกฎ คือ แบบแผนท่ีปรากฏในธรรมชาติ ส่วนทฤษฎี
คอื คาอธบิ ายวา่ ทาไมแบบแผนของธรรมชาติจึงเปน็ ไปตามกฎนนั้ ๆ 1.5 วทิ ยาศาสตร์ไม่สามารถตอบ
ได้ทุกคาถาม กล่าวคือ นักวิทยาศาสตร์ไม่มีหน้าที่ให้คาตอบหรืออภิปรายในเร่ืองเหล่านี้ แม้ว่า
คาอธิบายทางวิทยาศาสตร์อาจตอบหรือทางเลือกที่เป็นไปได้ในหลายสิ่งหลายอย่างบนโลกท่ีไม่
สามารถพสิ ูจน์หรือตรวจไดด้ ว้ ยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เช่น พลังเหนอื ธรรมชาติ

ด้านที่ 2 การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (scientific inquiry) การสืบเสาะหา
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มีความซับซ้อนมากกว่าที่หลายคนคิด การสืบเสาะหาความรู้มีความหมาย
โดยนัยมากกว่าการสังเกตโดยละเอียดแล้วจัดกระทาข้อมูลเป็นลาดับขั้น ที่ตายตัว การสืบเสาะหา
ความรู้ประกอบด้วยการให้เหตุผลเชิงตรรกะ (L0gic) ข้อมูลหลักฐานเชิงประจักษ์ (Empirical
Evidence) จินตนาการ (Imagination) และการคดิ สรา้ งสรรค์ (Inventiveness) และเป็นทั้งการ
ทางานโดยส่วนตัวและการทางานร่วมกันของกลุ่มคน 2.1 วิทยาศาสตร์ต้องการหลักฐาน กล่าวคือ
แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ต้องการหลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อยืนยันความถูกต้ องและได้รับการยอมรับ
จากองค์กรวิทยาศาสตร์ การทางานทางวิทยาศาสตร์ของบุคลหน่ึง อาจได้ค้นพบส่ิงที่ยิ่งใหญ่ แต่
ความก้าวหน้าทางองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ขึ้นอยู่กับการยอมรับขององค์กรวิทยาศาสตร์
2.2 วิทยาศาสตร์มีการผสมผสานระหว่าตรรกศาสตร์ จินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์
กล่าวคือ การทาความเข้าใจปรากฏการณ์ต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นบนโลกซึ่งต้องมีการพิสูจน์ด้วยการให้
เหตผุ ลเชิงตรรกะ ท่ีเช่ือมโยงเข้ากับหลักฐานเข้ากับข้อสรุป อย่างไรก็ตามการใช้ตรรกะเพียงอย่าง
เดียวไมเ่ พยี งพอตอ่ ความกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตร์ จินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์มีส่วนสาคัญ
อย่างมากในการสร้างสมมติฐาน ทฤษฎี เพื่อทาความเข้าใจปรากฏการณ์นั้นๆ ดังคากล่าวของไอ
สไตล์ท่ีว่า “การจินตนาการอย่างมีเหตุผลมีบทบาทสาคัญในวิทยาศาสตร์” 2.3 วิทยาศาสตร์ให้
คาอธิบายและการทานาย กล่าวคือ นักวิทยาศาสตร์พยายามอธิบายปรากฏการณท่ีสังเกตโดยใช้
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ท่ีเป็นท่ียอมรับซึ่งความน่าเช่ือถือ ของคาอธิบายทางวิทยาศาสตร์มาจาก
ความสามารถในการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างหลักฐานและปรากฏการณ์ท่ีไม่เคยค้นพบมาก่อน
นอกจากวิทยาศาสตร์จะอธบิ ายเกี่ยวกับปรากฏการณ์ตา่ งๆ แล้ว วิทยาศาสตร์ยังคงให้ความสาคัญกับ
การทานายซงึ่ อาจเปน็ ไปได้ทัง้ การทานายปรากฏการณ์ เหตุการณ์ในอนาคตหรือในอดีตท่ียังไม่มีการ
ค้นพบหรือศกึ ษามาก่อน 2.4 นกั วิทยาศาสตร์พยายามทจี่ ะระบุและหลีกเล่ียงความลาเอียง กล่าวคือ
ข้อมูลหลักฐานมีความสาคัญอย่างมากในการนาเสนอแนวคิดใหม่ๆ วิทยาศาสตร์มักมี คาถามว่า
“แนวคิดน้ีมีหลักฐานอะไรมายืนยัน” ดังน้ันการรวบรวมหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ต้อง มีความถูก



ตอ้ ง แมน่ ยา ปราศจากความลาเอียง บางครง้ั หลักฐานทางวทิ ยาศาสตรท์ ไ่ี ด้อาจมาจากความลาเอียง
อันเกิดจากตัวผู้สังเกต กลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือและวิธีการใช้ การตีความหมาย การรายงานข้อมูล
โดยเฉพาะความลาเอียงอันเกดิ มาจากนักวิทยาศาสตรซ์ ่ึงอาจมาจากเพศ อายุ เชื้อชาติ ความรู้และ
ประสบการณ์เดิม หรือความเช่ือ 2.5 วิทยาศาสตร์ไม่ยอมรับการมีอานาจเหนือบุคคลอื่น กล่าวคือ
วิทยาศาสตร์ไม่ยอมรับนับถอื การมีอานาจเหนอื บุคคลอ่ืน และเชื่อวา่ ไม่มีบุคคลใดหรอื นกั วิทยาศาสตร์
คนไหน ไม่วา่ จะชือ่ เสยี งหรือตาแหนง่ หน้าทสี่ ูงเพยี งใดทจ่ี ะมอี านาจตัดสนิ ว่า อะไรคอื ความจริง หรือมี
สทิ ธพิ ิเศษในการเข้าถึงความจริงมากกว่าคนอ่นื ๆ

ด้านท่ี 3 องค์กรทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Enterprise) วิทยาศาสตร์ คือ
กิจกรรมของมนุษยชาติซ่ึงมีมิติในระดับบุคคล สังคม หรือองค์กร โดยกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ที่
กระทาอาจเป็นส่ิงที่แบ่งแยกยุคสมัยต่างๆ ออกจากกันอย่างชัดเจน 3.1 วิทยาศาสตร์คือกิจกรรม
ทางสังคมท่ีซบั ซอ้ น กล่าวคือ กิจกรรมต่างๆ ทางวทิ ยาศาสตร์อยู่ภายใต้ระบบสังคมของมนุษย์ ดังนั้น
กิจกรรมทางวิทยาศาสตร์อาจได้รับการสนับสนุนหรือขัดขวางด้วยปัจจัยต่างๆ ทางสังคม
3.2 วิทยาศาสตร์แตกแขนงเป็นสาขาต่างๆ และมีการดาเนินงานในหลายองค์กร คือ วิทยาศาสตร์
เป็นการรวบรวมความรู้ท่ีหลากหลายของศาสตร์สาขาต่างๆ ซ่ึงมีความแตกต่างกันในด้าน
ประวัติศาสตร์ ปรากฏการณ์ที่ศึกษา เป้าหมาย และเทคนิควิธีการที่ใช้ การทางานท่ีแยกออกเป็น
สาขาต่างๆมีประโยชน์ในการจดั โครงสร้างการทางานและข้อค้นพบแต่แท้ท่ีจริงแล้วไม่มีเส้นแบ่งหรือ
ขอบเขตระหว่างสาขาต่างๆ โดยสิ้นเชิง 3.3 วิทยาศาสตร์มีหลักการทางจริยธรรม นั่นคือ
นักวทิ ยาศาสตร์ตอ้ งทางานโดยมจี ริยธรรมทางวิทยาศาสตร์ เพราะในบางคร้ังความต้องการได้รับการ
ย ก ย่ อ ง ว่ า เ ป็ น ค น แ ร ก ท่ี ค้ น พ บ ค ว า ม รู้ ใ ห ม่ อ า จ ท า ใ ห้ นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ก้ า ว ไ ป ใ น ท า ง ท่ี ผิ ด ไ ด้
3.4 ความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซ่ึงคนทั่วไปอาจเข้าใจว่าวิทยาสาสตร์และ
เทคโนโลยีมีความหมายเหมือนกันหรือคล้ายคลึงกัน แต่แท้ที่จริงแล้วทั้งสองมีจุดเน้นท่ีต่างกันโดย
วทิ ยาศาสตร์จะเนน้ การแสวงหาความรเู้ พือ่ การต่อยอดความรู้ ส่วนเทคโนโลยีจะเนน้ การใช้ความรู้เพ่ือ
ตอบสนองต่อการดารงชีวิตท่ีสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น แต่อย่างไรก็ตามวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมี
ความสัมพันธ์กัน สอดคล้องกับทบวงมหาวิทยาลัย (2525 : 5) ท่ีให้คานิยามว่าความหมายของ
วิทยาศาสตร์ว่า เป็นศาสตร์ท่ีเก่ียวกับการค้นคว้าหาความจริงของธรรมชาติโดยใช้กระบวนการ
แสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ซ่ึงความหมายของวิทยาศาสตร์นั้นไม่ใช่หมายถึงความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์อย่างเดียวแต่ยังประกอบด้วยความรู้ทางวิทยาศาสตร์ซ่ึงทาให้ได้ความรู้น้ันๆ ดังนั้น
วิทยาศาสตร์ในความหมายปจั จบุ ัน หมายถึง ตวั ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ท่ีสามารถตรวจสอบได้อย่าง
เปน็ ระบบจนเช่อื ถือได้ และส่วนท่ีเปน็ กระบวนการแสวงหาความรทู้ างวิทยาศาสตร์

2.2 ทฤษฎที างจิตวิทยาเพอ่ื การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
สุนีย์ เหมะประสทิ ธ์ิ (2543 : 39-59) ได้กล่าวถงึ ทฤษฎีทางจิตวทิ ยาเพื่อการเรียนการ

สอนวิทยาศาสตร์ โดยมีทฤษฎี ดงั น้ี
ทฤษฎีของจอหน์ ดวิ อี้ (John Dewey) โดยมีความเชื่อว่า เด็กจะเรียนรู้ได้ดีที่สุดเม่ือได้

แกป้ ัญหาท่มี ีความหมายต่อตวั เอง ซึ่งปัจจุบันเรียกว่า การเรียนรู้ด้วยการกระทาและการเรียนรู้ ด้วย
การคดิ และจิตใจ



2. กลมุ่ ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) มีความเช่อื วา่ ส่ิงใดทผี่ ู้เรียนทาและผู้เรียน
เกดิ การเรียนรู้ อะไรเปน็ ผลเนือ่ งมาจากว่าอะไรท่ที าให้ผเู้ รยี นเกิดพฤตกิ รรม ดังนนั้ งานของผู้สอนคือ
สร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ทั้งทางสภาพแวดล้อมและสภาพทางกายภาพ ปฏิสัมพันธ์เชิงบวก
ระหว่างกล่มุ ของผูเ้ รียนและระหวา่ งผู้สอนกับผู้เรียนโดยผู้สอนต้องใช้การเสรมิ แรงทางบวก เช่น การ
ชมเชย การให้คะแนน การให้ผู้เรียนเลือกทาในสิ่งท่ีต้องการอันจะจูงใจให้ผู้เรียนประสบผลสาเร็จ
ผเู้ รยี นจะเกดิ การเรียนรแู้ ละพฒั นาทศั นคตทิ างบวก

3. กลุม่ ทฤษฎีปัญญานมิ หรือพุทธินิยม (Cognitivism) กลุ่มนี้มุ่งเน้นเก่ียวกับการศึกษา
พัฒนาการด้านสมองและจิตใจเพื่อค้นหาวา่ กระบวนการคดิ และการรับรู้ของมนษุ ย์ รวมถึงปฏิสัมพันธ์
ระหว่างรูปธรรมของการคิด ซง่ึ ประกอบด้วยแนวคิดของนกั จติ วทิ ยา 3 ท่านคือ
3.1 ทฤษฎีพัฒนาการของเพียร์เจต์ (Piaget’s development theory) มุ่งเน้นพัฒนาการทาง
สติปัญญา ทัศนคติ และทางร่างกายโดยย้าว่าวุฒิภาวะทางร่างกายจะมีอิทธิพลอย่างยิ่งต่อความ
เจริญงอกงามทางสตปิ ญั ญาและทัศนคตซิ ่งึ จัดลาดับขัน้ ของพฒั นาการเป็น 4 ระยะ ไดแ้ ก่ 1)ระยะ
ให้ประสาทสัมผัส (sensory – organs stage) เป็นพัฒนาการของเด็กตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี
2)ระยะควบคุมอวัยวะต่างๆ (pre-operational stage) เป็นพัฒนาการในช่วงอายุ 2 เดือน
จนถงึ 7 ปี 3) ระยะทีค่ ดิ อย่างเป็นรูปธรรม (concrete - operational stage) เป็นพัฒนาการ
ในชว่ งอายุ 7 – 11 ปี เดก็ ในช่วงน้ีจะมีความสามารถในการคิดและเข้าใจเร่ืองราวที่เป็นรูปธรรมได้
ดี แต่มีความลาบากอย่างมากที่จะคิดและเข้าใจเร่ืองท่ีเป็นามธรม และ 4) ระยะที่คิดอย่างเป็น
นามธรรม (formal - operational stage) เป็นพัฒนาการในช่วงสุดท้ายของเด็กอายุประมาณ
12 – 15 ปี กอ่ นจะเปน็ ผู้ใหญ่ พัฒนาการของเด็กเกิดข้ึนอย่างต่อเนื่อง โดยทั่วไปพัฒนาการของ
เด็กจะไม่กระโดดข้ามขั้น แต่ในบางช่วงของพัฒนาการอาจเกิดขึ้นเร็วหรือช้า ซ่ึงเ กิดขึ้นเองตาม
ธรรมชาติ รวมทงั้ การดารงชีวติ 3.2 ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายของออซูเบล (Ausubo’s
Meaning verbal learning) เช่ือว่าเด็กจะเรียนรู้ได้ด้วยการสอนด้วยแบบท่ีผู้สอนเป็นผู้ถ่ายทอด
ความรู้ หรือแบบบอกเล่า (expository method) เป็นสาคัญโดยผู้สอนต้องจัดเนื้อหาสาระที่มี
ความหมายต่อผูเ้ รยี นมากทีส่ ดุ การเรยี นร้กู ็จะเกดิ ขนึ้ เม่แนวคใิ หมห่ รอื ความรู้ใหมเ่ ชอ่ื มโยงหรือสัมพันธ์
กับความรู้เดิม 3.3 ทฤษฎีพัฒนาการของบรูเนอร์ ท่ีมุ่งเน้นการเรียนรู้แบบค้นพบ (discovery
learning) และเช่ือว่าการจัดสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อพัฒนาการทางสติปัญญา ส่ิงแวดล้อม ที่
เหมาะสมจะช่วยเรง่ พัฒนาการทางสตปิ ัญญาให้เร็วขน้ึ

4. กลุ่มทฤษฎีสรรคนิยม (Constructivism) มีความเชื่อว่าผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้โดย
อาศยั ประสบการณ์แห่งชีวิตที่ได้รับ เพ่ือค้นหาความจริง เป็นแนวทฤษฎีการจัดการเรียนการสอน ที่
เน้นผเู้ รียนเปน็ ศูนยก์ ลาง

5. ทฤษฎพี หุปัญญา (Multiple Intelligence) เป็นแนวคิดของการ์ดเนอร์ (Howard
Grader) ซ่งึ กล่าวว่า มนษุ ย์มปี ญั ญาที่หลากหลาย 8 ด้าน ไดแ้ ก่ สติปัญญาดา้ นภาษา ด้านตรรก
และคณิตศาสตร์ ด้านมิติสัมพันธ์ ด้านการเคล่ือนไหวร่างกาย ด้านดนตรีและจังหวะ ด้านความ
เข้าใจตนเอง ด้านมนุษย์สัมพันธ์ และด้านความเข้าใจธรรมชาติ ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่ามนุษย์มี
ความสามารถหลากหลายด้าน กระตุ้นให้ผู้สอนได้ตระหนักว่านักเรียนอาจแสดงความสามารถ ที่
แตกตา่ งกันได้ตามสงิ่ ทผ่ี ู้เรียนรแู้ ละทาได้ น่นั คือผู้เรียนมีความถนัดและแบบการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน

๑๐

ดังน้ันในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้สอนควรจัดกิจกรรมท่ีหลากหลายเพื่อให้สอดคล้องกับความ
หลากหลายทางสติปัญญาของผู้เรียน อันจะส่งผลให้ผู้เรียนประสบผลสาเร็จในการเรียนได้ดีข้ึน
ดังนั้น การจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอน STEM ที่ผู้วิจัยสร้างข้ึนเป็นการจัดการเรียนรู้ที่
ตอบสนองต่อทฤษฎจี ิตวิทยาในการเรียนการสอนวชิ าวทิ ยาศาสตรด์ ว้ ยเหตผุ ลดังกล่าว

2.3 ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาวทิ ยาศาสตร์
1 ความหมายของผลสัมฤทธ์ทางการเรยี นวชิ าวทิ ยาศาสตร์
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเป็นคุณลักษณะท่ีประเมินเกี่ยวกับความรู้ ความสามารถของบุคคลที่
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านต่างๆ จากการได้รับมวลประสบการณ์ซ่ึงเป็นผลมาจากการเรียนรู้ มีผู้
กลา่ วถึง ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนไว้ดังนี้
ทบวงมหาวิทยาลัย (2525 : 1) ; และไพศาล หวังพานิช (2524 : 13) ได้ให้ความหมายของ
ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน หมายถงึ คุณลกั ษณะรวมถึงความรู้ความสามารถของบุคคลอันเป็นผลจาก
การเรียนการสอน หรือมวลประสบการณ์ทั้งปวงท่ีบุคคลได้รับจากการเรียนการสอน ทาให้บุคคล
เกดิ การเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมในด้านตา่ งๆ ของสมรรถภาพสมองหรือผลสัมฤทธ์ิด้านเนื้อหาความรู้
ทางวิทยาศาสตร์และกระบวนการแสวงหาความรูท้ างวทิ ยาศาสตร์
สถาบันส่งเสริมการสอนทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกระทรวงศึกษาธิการได้ปรับปรุง
หลักสูตรรายวชิ าวิทยาศาสตร์ ให้เอื้อต่อการพัฒนาความสามารถของนักเรียน โดยยึดวัตถุประสงค์
ดงั นี้ (กรมวิชาการ.2546)
1. เพ่ือใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจในหลักการและทฤษฎขี ้นั พืน้ ฐานของวชิ าวทิ ยาศาสตร์
2. เพ่ือให้เกิดความเข้าใจในลักษณะ ขอบเขต และวงจากดั ของวิทยาศาสตร์
3. เพอ่ื ให้เกิดทักษะในการศึกษาค้นคว้าดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
4. เพื่อใหเ้ กดิ เจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์
5. เพื่อให้เกิดความเข้าใจในความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และอิทธิพลของ
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยตี ่อมวลมนุษย์และสภาพแวดล้อม
เยาวดี วิบูลย์ศรี (2545 : 16) กล่าวว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง เป็นแบบทดสอบท่ี
สรา้ งข้ึนมาเพ่ือใชใ้ นการวัดผลการเรียนหรือการสอน หรือแบทดสอบมาตรฐานที่ใช้สาหรับวัดทักษะ
หรือความรทู้ เ่ี รยี นมาเพอื่ ใชใ้ นการวดั ผลของการเรียนการสอน
จากเอกสารท่ีกลา่ วมา สรปุ ไดว้ า่ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น หมายถงึ คุณลักษณะด้านความรู้ ความ
เขา้ ใจ ความสามารถในการนามวลประสบการณท์ ่ีไดร้ ับจากการเรียนรู้และการทากิจกรรมต่างๆ ไป
ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวัน ในการศึกษาครั้งน้ี ผู้วิจัยได้สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนขึ้น โดยเปน็ แบบปรนัยแบบเลอื กตอบ 4 ตัวเลือก
2. องคป์ ระกอบของผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนวิชาวทิ ยาศาสตร์
สมจิต สวธนไพบูลย์ (2535 : 101 -103) ได้เสนอว่าผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนประกอบด้วย 2
ส่วน ดังน้ี 1. ส่วนท่ีเป็นตัวความรู้ (Body of Knowledge) ทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งได้แก่
ข้อเท็จจริง (fact) มโนมติ (Concept) หลักการ (Principle) กฎ (Law) ทฤษฎี (Theory)
และสมมตฐิ าน (Hypothesis)

๑๑

2. ส่วนที่เป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ (Process of Scientific Inquiry) เป็นกระบวนการ
คดิ และการทางานอย่างมีระบบ การคน้ หาความรู้ ขอ้ เท็จจรงิ ต่างๆ จากสถานการณ์ที่อยู่รอบตัวเรา
ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตรซ์ ึ่งมี 4 ข้นั ตอน คอื ข้ันต้ังปัญหา ข้ันตั้งสมมติฐาน ขั้นรวบรวมข้อมูล
จากการสังเกต ทดลอง ล้ันสรปุ ผลและการนาไปใช้

3. เอกสารทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การสอนแบบ STEM
3.1 ความหมายและแนวคิด

คาว่า “สะเต็มศึกษา” หรือ “STEM” เป็นคาย่อจากภาษาอังกฤษของศาสตร์ 4 สาขาวิชา ได้แก่
วิทยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร์(Engineering) และ
คณิตศาสตร์ (Mathematics) หมายถึงองค์ความรู้ วิชาการของศาสตร์ท้ังสี่ที่มีความเช่ือมโยงกันใน
โลกของความเป็นจริงทีต่ อ้ งอาศยั องคค์ วามรูต้ ่างๆ มาบรู ณาการเข้าดว้ ยกันในการดาเนินชีวิตและการ
ทางาน คาวา่ STEM ถูกใชค้ รง้ั แรกโดยสถาบันวทิ ยาศาสตร์แหง่ ประเทศสหรัฐอเมริกา (the National
Science Foundation: NSF) ซึ่งใช้คาน้ีเพ่ืออ้างถึงโครงการหรือโปรแกรมท่ีเกี่ยวข้องกับ
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ อย่างไรก็ตามสถาบันวิทยาศาสตร์แห่ง
ประเทศสหรฐั อเมริกาไม่ได้ให้นิยามท่ีชัดเจนของคาว่า STEM มีผลให้มีการใช้และให้ความหมายของ
คาน้ีแตกต่างกันไป (Hanover Research, 2011, p.5) เช่น มีการใช้คาว่า STEM ในการอ้างอิงถึง
กล่มุ อาชพี ทมี่ ีความเกีย่ วขอ้ งกับวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ สะเต็ม
ศึกษา คือ แนวทางการจัดการศึกษาที่บูรณาการความรู้ใน 4 สหวิทยาการ ได้แก่ วิทยาศาสตร์
วศิ วกรรม เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ โดยเน้นการนาความรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการ
พฒั นากระบวนการหรือผลผลติ ใหม่ ท่เี ปน็ ประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิต และการทางาน ช่วยนักเรียน
สร้างความเช่ือมโยงระหว่าง 4 สหวิทยาการ กับชีวิตจริงและการทางาน การจัดการเรียนรู้แบบสะ
เต็มศึกษาเป็นการจัดการเรียนรู้ท่ีไม่เน้นเพียงการท่องจาทฤษฎีหรือกฏทางวิทยาศาสตร์ และ
คณิตศาสตร์ แต่เป็นการสร้างความเข้าใจทฤษฎีหรือกฏเหล่าน้ันผ่านการปฏิบัติให้เห็นจริงควบคู่กับ
การพฒั นาทักษะการคดิ ตงั้ คาถาม แก้ปัญหาและการหาข้อมูลและวิเคราะห์ข้อค้นพบใหม่ๆ พร้อม
ทงั้ สามารถนาข้อคน้ พบนั้นไปใชห้ รอื บรู ณาการกบั ชีวิตประจาวันได้ การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะ
เต็มมีลักษณะ 5 ประการได้แก่ (1) เป็นการสอนท่ีเน้นการบูรณาการ (2) ช่วยนักเรียนสร้างความ
เชื่อมโยงระหว่างเน้ือหาวิชาทั้ง 4 กับชีวิตประจาวันและการทาอาชีพ (3) เน้นการพัฒนาทักษะใน
ศตวรรษท่ี 21 (4) ท้าทายความคิดของนักเรียน (5) เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น
และความเข้าใจท่ีสอดคล้องกับเน้ือหาทั้ง 4 วิชา จุดประสงค์ของการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะ
เต็มศกึ ษา

3.2 องคป์ ระกอบของความรแู้ ละทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยใช้ STEM
ความท้าทายด้านการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในการเตรียมนักเรียนให้พร้อมกับชีวิตใน
ศตวรรษที่ 21 เปน็ เรือ่ งสาคญั ของกระแสการปรับเปล่ียนทางสังคมท่ีเกิดข้ึนในศตวรรษที่ 21 ส่งผล
ตอ่ วถิ กี ารดารงชีพของสงั คมอย่างทั่วถึง ครจู ึงต้องมีความตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้
เพ่ือเตรียมความพร้อมให้นักเรียนมีทักษะสาหรับการออกไปดารงชีวิตในโลกในศตวรรษท่ี 21 ท่ี

๑๒

เปล่ียนไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19 โดยทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ท่ีสาคัญท่ีสุด คือ ทักษะการ
เรยี นรู้ (Learning Skill) ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เด็กในศตวรรษที่ 21 นี้
มีความรู้ ความสามารถ และทักษะจาเป็น ซ่ึงเป็นผลจากการปฏิรูปเปล่ียนแปลงรูปแบบการจัดการ
เรียนการสอน ตลอดจนการเตรียมความพร้อมด้านต่างๆทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (21st Century
Skills) วิจารณ์ พานิช (2555: 16-21) ได้กล่าวถึงทักษะเพ่ือการดารงชีวิตในศตวรรษท่ี 21 ดังน้ี
สาระวชิ าก็มีความสาคัญ แตไ่ มเ่ พียงพอสาหรับการเรียนรู้เพื่อมีชีวิตในโลกยุคศตวรรษท่ี ๒๑ ปัจจุบัน
การเรยี นรสู้ าระวิชา (content หรอื subject matter) ควรเป็นการเรยี นจากการค้นคว้าเองของศิษย์
โดยครูช่วยแนะนา และช่วยออกแบบกิจกรรมท่ีช่วยให้นักเรียนแต่ละคนสามารถประเมิน
ความกา้ วหน้าของการเรียนรู้ของตนเองได้ สาระวิชาหลัก (Core Subjects) ประกอบด้วย ภาษาแม่
และภาษาสาคัญของโลกศิลปะคณิตศาสตรก์ ารปกครองและหนา้ ทพี่ ลเมืองเศรษฐศาสตร์วิทยาศาสตร์
ภูมิศาสตร์ประวัติศาสตร์โดยวิชาแกนหลักนี้จะนามาสู่การกาหนดเป็นกรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์
สาคัญต่อการจัดการเรียนรู้ในเน้ือหาเชงิ สหวิทยาการ (Interdisciplinary) หรือหัวข้อสาหรับศตวรรษ
ท่ี 21 โดยการส่งเสริมความเข้าใจในเน้ือหาวิชาแกนหลัก และสอดแทรกทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21
เข้าไปในทุกวชิ าแกนหลกั ดงั น้ี

1. ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21
ความร้เู กี่ยวกบั โลก (Global Awareness)
ความรูเ้ กยี่ วกับการเงนิ เศรษฐศาสตร์ ธรุ กจิ และการเปน็ ผปู้ ระกอบการ (Financial,
Economics, Business and Entrepreneurial Literacy)
ความรดู้ ้านการเปน็ พลเมอื งที่ดี (Civic Literacy)
ความรดู้ า้ นสุขภาพ (Health Literacy)
ความรดู้ า้ นสิ่งแวดล้อม (Environmental Literacy)
2. ทักษะด้านการเรียนรูแ้ ละนวัตกรรม จะเป็นตัวกาหนดความพร้อมของนักเรียนเข้าสู่โลก
การทางานท่ีมีความซับซ้อนมากขึ้นในปัจจุบัน ได้แก่ ความริเริ่มสร้างสรรค์และนวัตกรรม การคิด
อยา่ งมวี ิจารณญาณและการแกป้ ัญหา การส่ือสารและการรว่ มมอื
3. ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี เน่ืองด้วยในปัจจุบันมีการเผยแพร่ข้อมูล
ข่าวสารผ่านทางสื่อและเทคโนโลยีมากมาย ผู้เรียนจึงต้องมีความสามารถในการแสดงทักษะการคิด
อย่างมีวิจารณญาณและปฏิบัติงานได้หลากหลาย โดยอาศัยความรู้ในหลายด้าน ดังนี้ ความรู้ด้าน
สารสนเทศ ความรู้เกีย่ วกบั ส่ือ ความรูด้ า้ นเทคโนโลยี
4. ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ในการดารงชีวิตและทางานในยุคปัจจุบันให้ประสบ
ความสาเร็จ นักเรียนจะต้องพัฒนาทักษะชีวิตท่ีสาคัญดังต่อไปนี้ ความยืดหยุ่นและการปรับตัว การ
รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์และเปน็ ตัวของตวั เอง ทกั ษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม การเปน็ ผู้สร้างหรือผู้ผลิต

๑๓

(Productivity) และความรับผิดชอบเชื่อถือได้ (Accountability) ภาวะผู้นาและความรับผิดชอบ
(Responsibility)

5. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ท่ีทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ การเรียนรู้ 3R x
7C3R คือ Reading (อ่านออก), (W) Rating (เขียนได้), และ (A) Arithmetic’s (คิดเลขเป็น) 7C
ได้แก่ Critical Thinking and Problem Solving (ทกั ษะดา้ นการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ และทักษะ
ในการแก้ปัญหา) Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม) Cross-
cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และ
ภาวะผู้นา) Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสาร
สารสนเทศ และรู้เท่าทันส่ือ) Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร) Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการ
เรียนรู้) การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 เป็นการกาหนดแนวทางยุทธศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้ โดย
ร่วมกนั สร้างรูปแบบและแนวปฏิบตั ใิ นการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่
21 โดยเน้นที่ องค์ความรู้ ทักษะ ความเช่ียวชาญและสมรรถนะที่เกิดกับตัวผู้เรียน เพื่อใช้ในการ
ดารงชวี ิตในสังคมแห่งความเปล่ียนแปลงในปัจจุบัน โดยจะอ้างถึงรูปแบบ (Model) ท่ีพัฒนามาจาก
เครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพ่ือทักษะแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership For 21st
Century Skills) (www.p21.org ) ท่ีมีชื่อย่อว่า เครือข่าย P21 ซ่ึงได้พัฒนากรอบแนวคิดเพ่ือการ
เรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 โดยผสมผสานองค์ความรู้ ทกั ษะเฉพาะดา้ น ความชานาญการและความรู้เท่า
ทนั ดา้ นต่างๆ เข้าดว้ ยกัน เพ่ือความสาเร็จของผู้เรยี นทั้งด้านการทางานและการดาเนนิ ชวี ติ

ภาพ กรอบแนวคดิ เพื่อการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 (21st Century Learning Framework)
(http://www.qlf.or.th/)

๑๔

กรอบแนวคดิ เชิงมโนทัศน์สาหรับทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 เป็นที่ยอมรับในการสร้างทักษะ
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Model of 21st Century Outcomes and Support Systems)
ซึง่ เปน็ ทยี่ อมรบั อยา่ งกวา้ งขวาง เน่อื งด้วยเป็นกรอบแนวคิดที่เน้นผลลัพธ์ท่ีเกิดกับผู้เรียน (Student
Outcomes) ท้ังในด้านความรู้สาระวิชาหลัก (Core Subjects) และทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ท่ีจะ
ชว่ ยผ้เู รียนไดเ้ ตรยี มความพร้อมในหลากหลายด้าน รวมทั้งระบบสนับสนุนการเรียนรู้ ได้แก่มาตรฐาน
และการประเมิน หลักสูตรและการเยนการสอนการพัฒนาครูสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมต่อการเรียน
ในศตวรรษที่21การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ต้องก้าวข้าม “สาระวิชา” ไปสู่การเรียนรู้ “ทักษะแห่ง
ศตวรรษที่ 21” (21st Century Skills) ซึ่งครูจะเปน็ ผสู้ อนไมไ่ ด้ แต่ต้องให้นักเรียนเป็นผู้เรียนรู้ด้วย
ตนเอง โดยครูจะออกแบบการเรียนรู้ ฝึกฝนให้ตนเองเป็นโค้ช (Coach) และอานวยความสะดวก
(Facilitator) ในการเรียนรู้แบบ PBL (Problem-Based Learning) ของนักเรียน ซึ่งส่ิงท่ีเป็นตัวช่วย
ของครูในการจัดการเรียนรู้คือ ชุมชนการเรียนรู้ครูเพื่อศิษย์ ( Professional Learning
Communities : PLC) เกดิ จากการรวมตัวกันของครูเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทาหน้าท่ีของ
ครูแต่ละคนนน่ั เอง
4. เอกสารท่ีเก่ียวขอ้ งกบั งานวิจัย

4.1 งานวจิ ยั ภายในประเทศ
นพคณุ แดงบญุ (2552 : 61) ได้ศกึ ษาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และเจต
คติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการสอนด้วยชุดกิจกรรม เร่ือง
รา่ งกายมนุษย์ ผลการศึกษาพบว่า หลังจากนาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่อง ร่างกายมนุษย์ ไป
ทดลองใชก้ ับกลุ่มตัวอย่าง ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนและเจตคติต่อวิทยาศาสตร์สูงกว่าก่อนเรียนอย่าง
มีนัยสาคัญทางสถิตทิ ีร่ ะดับ .05
ปราณี หีบแก้ว (2554 : บทคัดย่อ) ได้พัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบอิง
ประสบการณ์สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง แรงและการเคลื่อนท่ี ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3
พบว่านักเรียนที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบอิงประสบการณ์ มีคะแนนผลสัมฤทธิ์สูงกว่า
เกณฑร์ อ้ ยละ 70 คดิ เปน็ ร้อยละ 86.36 ของนกั เรียนทั้งหมด
จันทร์จิรา รัตนไพบูลย์ (2549 : 109) ได้ศึกษา STEM เร่ือง การจัดค่ายอนุรักษ์
สิง่ แวดลอ้ มสาหรับนักเรียนระดับช่วงช้ันที่ 4 พบว่านักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูง
กวา่ กอ่ นเรยี น
ปิยะพงษ์ สุริยะพรหม (2549 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการพัฒนา STEM เรื่อง ป่า
ชุมชน เพื่อส่งเสริมเจตคติต่อการอนุรักษ์ป่าชุมชน และการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบว่า
นักเรียนมผี ลสัมฤทธิท์ างการเรยี นหลงั เรียนสูงกว่าก่อนเรียน
เมธา โยธาฤทธ์ิ (2549 : 82) ได้ศึกษาการพัฒนาชุดกิจกรรม เร่ือง ระบบนิเวศป่า
ชายเลน สาหรับนกั เรียนระดับประกาศณียบัตรวิชาชีพ พบว่า คะแนนจากการทาแบบทดสอบของ
กล่มุ ตัวอย่างหลังใช้ชุดกจิ กรรมมีคา่ เฉลยี่ สูงขึ้นกว่ากอ่ นใช้ชุดกจิ กรรมอย่างมนี ยั สาคญั ท่ีระดับ .01

๑๕

เอกวิทย์ โทปุรินทร์ (2546 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่าน
หอ้ งเรยี นเสมือน ของนักเรียนช่วงช้ันที่ 4 โดยพฒั นาห้องเรียนเสมือนขึ้นผา่ นเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
และกลุ่มทเ่ี รียนตามแผนการจดั การเรียนรู้ของครู พบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระหว่างนักเรียนท่ี
เรียนผ่านห้องเรียนเสมือนสูงกว่านักเรียนท่ีเรียนตามแผนการจัดการเรียนรู้ของครูอย่างมีนัยสาคัญ
ทางสถิติท่รี ะดับ .01

4.2 งานวจิ ัยตา่ งประเทศ
สมิท (Smith. 1994 : 2528 – A) ได้ศึกษาผลจากวิธีการสอนท่ีมีต่อเจตคติและ
ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นวชิ าวทิ ยาสาสตร์ของนกั เรียนกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนช้ันมัธยมศึกษา เกรด
7 โดยแบ่งเปน็ กลมุ่ ทดลอง 3 กลุม่ กลุ่มแรกได้รับการสอนแบบบรรยาย กลุ่มสองได้รับการสอน
แบบใหล้ งมือปฏบิ ตั ิด้วยตนเอง และกลุม่ ทีส่ ามได้รับการสอนทั้งแบบบรรยายและให้ลงมือปฏิบัติด้วย
ตนเอง เคร่ืองมือท่ีใช้เป็นวิธีทดสอบภาคสนามซ่งึ เรียกว่า การประเมินผลทางวิชาวิทยาศาสตร์ โดย
ใช้วิธีปฏิบัติแบบบูรณาการ ผลการวิจัยพบว่า การสอนแบบให้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองสูงกว่าการ
สอนแบบบรรยาย
ฮาร์ทและอัล – ฟาเลห์ (Harty; & Al – Faleh. 1983 : 861 – 866) ได้ศึกษา
ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าเคมแี ละเจตคตทิ ไ่ี ดจ้ ากการสอนแบบสาธิตประกอบการบรรยาย และวิธี
สอนแบบแบ่งกลุ่มย่อยทดลอง ของนักเรียนเกรด 11 จานวน 74 คน ผลการวิจัยพบว่า
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนท่ีสอนแบบแบ่งกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มท่ีสอนแบบสาธิต
ประกอบการบรรยายอย่างมนี ยั สาคญั ทางสถติ ิ
จากงานวจิ ยั ทีก่ ลา่ วขา้ งต้นสรปุ ได้วา่ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์โดยให้มีรูปแบบการ
สอนท่ีหลากหลาย จัดกิจกรรมที่เน้นให้ผู้เรียนฝึกคิด ฝึกปฏิบัติด้วยตนเองจะทาให้ผู้เรียนมีความรู้
ความเขา้ ใจอยา่ งแทจ้ ริง และสง่ ผลให้มผี ลสัมฤทธิ์ และเจตคตทิ างการเรยี นวทิ ยาศาสตรส์ ูงขึน้ ดว้ ย

๑๖

บทที่ 3

วิธีดาเนนิ การวจิ ยั
การวิจัยคร้ังนี้เพ่ือการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์และเจตคติต่อวิชา
วทิ ยาศาสตร์ เร่ือง แรงทก่ี ระทาตอ่ วตั ถุ ของนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาท่ี 6 โรงเรียนบ้านด่านเจริญชัย
โดยใช้รูปแบบการสอน STEM ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ซึ่งผู้วิจัยได้ดาเนินการวิจัย
ดังต่อไปนี้
1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง
1.1ประชากรทใ่ี ชใ้ นการวิจยั
ประชากรที่ใชใ้ นการศึกษาคน้ ควา้ เป็นนกั เรียนโรงเรยี นบ้านดา่ นเจรญิ ชยั จานวน 54 คน
1.2กลุ่มตวั อย่างที่ใชใ้ นการวิจัย
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคร้ังน้ีเป็นนักเรียนช้ันประถมศึกษาท่ี 6 โรงเรียนบ้านด่าน
เจริญชัย อาเภอศรีเทพ จังหวัดลพบุรี ภาคเรียนที่ 1 ประจาปีการศึกษา 2564 ทั้งหมด 1 ห้อง
จานวน 9 คน
2. เครื่องมอื และการสร้างเคร่ืองมือท่ีใช้ในการวจิ ัย
2.1 เคร่อื งมอื ทใี่ ช้ในการวิจัย ดังนี้

2.2.1 แผนการจดั การเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ เร่ือง แรงท่ีกระทาต่อวัตถุ ที่ใช้ใน
การสอนแบบ STEM จานวน 1 แผน 3 ชวั่ โมง เป็นแผนท่พี ฒั นาข้นึ มรี ูปแบบ คอื ขัน้ การเตรียมความ
พร้อมของผู้เรียน ข้ันประเมินความรู้ความเข้าใจเบ้ืองต้น ขั้นการบรรยายให้ความรู้และสาธิตการใช้
อปุ กรณ์ ขน้ั สร้างช้นิ งานตามกระบวนการออกแบบทางวิศวกรรม ข้ันนาเสนอช้ินงาน และขั้นสรุป ซึ่ง
มแี นวทางดังนี้

1 ขั้นการเตรยี มความพรอ้ มของผ้เู รยี น
นกั เรยี นได้ระดมความคดิ และประสบการณ์เดิม เพ่ือตรวจสอบความรู้ของนักเรียน โดยการ
ทาแบบทดสอบก่อนเรียน และตอบคาถาม

2 ขัน้ ประเมนิ ความรูค้ วามเข้าใจเบื้องตน้
นักเรียนได้รว่ มทากจิ กรรม เกี่ยวกับการความร้เู ชิงเน้ือหา เกีย่ วกบั ชนิดของแรง เช่น แรงลัพธ์
แรงกิริยาและแรงปฏกิ ิรยิ า แรงลอยตัว และแรงเสยี ดทาน โดยการทากจิ กรรมเปน็ กลุม่ ร่วมกนั

3 ข้นั การบรรยายให้ความร้แู ละสาธิตการใชอ้ ปุ กรณ์
นักเรียนนาความรู้ท่ีได้รับจากกิจกรรมมาปรับใช้ในการดารงชีวิตในปัจจุบัน การนาความรู้
เก่ยี วกับแรงทก่ี ระทาต่อวัตถุ มาประยกุ ตใ์ ช้ใหเ้ กิดประโยชน์

4 ขัน้ สร้างชิน้ งานตามกระบวนการออกแบบทางวิศวกรรม
นักเรียนแบ่งกลุ่ม นาความรู้มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยการสร้างช้ินงานท่ีเกี่ยวกับ
ความร้เู ร่ือง แรงทีก่ ระทาต่อวัตถุ ได้แก่ บอลลูนไข่ไม่แตก เรือกู้ชีพ สามารถสืบค้นข้อมูล กรอกแบบ
บนั ทกึ กิจกรรม ในชดุ การเรียนรู้ แบบ STEM เรื่องแรงท่ีกระทาต่อวตั ถุ

5 ขน้ั นาเสนอชน้ิ งาน
นักเรียนอธิบายเก่ียวกับการนาชนิดของแรง และแรงลัพธ์ แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา แรง
ลอยตวั และแรงเสยี ดทาน มาประยุกตเ์ พอ่ื ใหช้ ิ้นงานทีน่ กั เรียนสรา้ งมีความแข็งแรงและสร้างสรรค์

๑๗

6 ขนั้ สรปุ
ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรุป ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ แรงที่กระทาต่อวัตถุ พร้อมบอกถึง
การนาความรู้เร่ือง แรงท่ีกระทาต่อวัตถุ ไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ และทาแบบทดสอ บ
หลังเรียน

2.1.2 แบบสอบถามวัดเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โดยใช้แบบประเมินความพึง
พอใจ สร้างขึ้นตามวิธีการของลิเคิร์ท (Likert Scale) เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ คือ
5, 4, 3, 2 และ 1 ซงึ่ หมายถงึ เหน็ ด้วยอยา่ งยง่ิ เห็นดว้ ย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย และไม่เห็นด้วยอย่าง
ย่ิง ตามลาดบั

2.1.3 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น-หลังเรียน ขอ้ สอบแบบเลอื กตอบ 4 ตัวเลอื กจานวน
20 ขอ้ เรอ่ื ง แรงที่กระทาต่อวตั ถุ เพอ่ื วัดความรกู้ ่อนเรียน และผลที่ได้จากการเรยี นแลว้

2.2 การสรา้ งเครื่องมอื ทใ่ี ช้ในการวิจยั มีการดาเนนิ การ ดงั นี้
2.2.1 แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง แรงท่ีกระทาต่อวัตถุ ที่ใช้ใน

การสอนแบบ STEM มขี ้นั ตอนในการสร้างและพัฒนา ดังนี้
1. ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และ ศึกษา

หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐานของกลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ มาตรฐานและตวั ชี้วัด
2. ศึกษาวิธกี ารสอนแบบ STEM
3. สร้างแผนการจัดการเรียนรู้ โดยวิธีการสอนแบบแบบ STEM สร้างแบบทดสอบ

ก่อนเรียนหลังเรียน ด้วยการวิเคราะห์แบบทดสอบสอบเพื่อหาดัชนีความสอดคล้องค่า IOC ให้ครูพี่
เลยี้ ง และผ้เู ช่ียวชาญ 2 ท่าน ตรวจสอบความถูกต้องเชิงเน้ือหา และรูปแบบการสอน จากน้ันนาไป
แกไ้ ขปรับปรงุ

2.2.2 แบบสอบถามความพึงพอใจต่อวิชาวิทยาศาสตร์ มีข้ันตอนในการสร้าง
และพัฒนา ดังน้ี

1. ศกึ ษาเอกสารหรอื งานวิจัยทเี่ กย่ี วข้องกับแบบการวดั เจตคตติ อ่ วิชาวทิ ยาศาสตร์
2. ศึกษาการสร้างแบบประเมินความพึงพอใจด้วยวิธีการของลิเคิร์ท (Likert Scale)
แบบมาตราสว่ นประมาณค่า 5 ระดบั คือ 5, 4, 3, 2 และ 1 ซ่ึงหมายถึง เห็นด้วยอย่างย่ิง เห็นด้วย
ไมแ่ นใ่ จ ไม่เหน็ ด้วย และไม่เห็นดว้ ยอย่างยิ่ง ตามลาดับ
3. สร้างแบบประเมินความพึงพอใจ ให้ครูพ่ีเลี้ยง และผู้เช่ียวชาญ 2 ท่าน
ตรวจสอบความถูกตอ้ งดา้ นความรู้ ความรูส้ ึกตอ่ วชิ าวทิ ยาศาสตร์ จากนั้นนาไปแกไ้ ขปรับปรุง

๑๘

3. การเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล
3.1 แบบทดสอบก่อนเรียน ข้อสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 20 ข้อ เรื่อง

แรงท่ีกระทาต่อวัตถุ และแบบประเมินความพงึ พอใจตอ่ วชิ าวิทยาศาสตร์ ใชเ้ วลา 0.5 ช่วั โมง
3.2จดั กิจกรรมตามแผนการจัดการเรยี นร้แู บบ STEM และใบกจิ กรรมใชเ้ วลา 3 ช่วั โมง
3.3แบบทดสอบหลังเรียน ข้อสอบแบบเลือกตอบ 4 ตวั เลอื ก จานวน 20 ข้อ เรื่อง แรง

ท่กี ระทาต่อวตั ถุ และแบบประเมนิ ความพึงพอใจต่อวชิ าวิทยาศาสตร์ ใช้เวลา 0.5 ชวั่ โมง
4. การวิเคราะหข์ อ้ มูล
เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ จากแบบทดสอบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก

จานวน 20 ข้อ เรื่องแรงทก่ี ระทาต่อวัตถุ โดยใช้ T-test และเปรยี บเทยี บเจตคติทางวิทยาศาสตร์จาก
แบบประเมินความพึงพอใจ ตามวิธีการของลิเคิร์ท (Likert Scale) แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5
ระดบั คือ 5, 4, 3, 2 และ 1 ซงึ่ หมายถงึ เหน็ ด้วยอยา่ งยง่ิ เหน็ ด้วย ไม่แน่ใจ ไมเ่ ห็นด้วย และไม่เห็น
ดว้ ยอย่างยงิ่ ตามลาดับ

5. สถติ ทิ ใ่ี ชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมลู
5.1 สถิตวิ ิเคราะหเ์ คร่ืองมอื
IOC หมายถงึ ความสอดคล้องระหวา่ งขอ้ คาถามกับวัตถุประสงค์ มีค่าอยู่ระหว่าง 1 ถึง – 1 ข้อ
คาถามท่มี ีความตรงตามเนอ้ื หาจะมีค่า IOC เข้าใกล้ 1.00 ถ้าข้อใดมีค่า IOC ต่ากว่า 0.5 ควร
จะปรับปรุงข้อคาถามใหม่ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ต้องการวัด วิธีการหาความเท่ียงตรงเชิง
เน้อื หา ทาได้โดยหาคา่ ความสอดคล้องหรอื ดัชนีของความสอดคลอ้ งกนั ระหว่างข้อคาถามแต่ละข้อกับ
จดุ ประสงค์ (Index of Item – Objective Congruence หรือ IOC)
จากสตู ร ดังนี้

IOC = ∑R
N

IOC คอื ดชั นคี วามสอดคลอ้ ง
R คอื คะแนนการพจิ ารณาของผ้เู ช่ียวชาญ
∑R คือ ผลรวมของคะแนนพิจารณาของผูเ้ ช่ียวชาญ
N คอื จานวนผเู้ ช่ยี วชาญ
กาหนดคะแนนของผู้เชี่ยวชาญเป็น +1 หรือ 0 หรือ -1 ดังนี้ +1 คือ แน่ใจว่าข้อสอบข้อน้ันวัด
จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรมท่ีระบุไว้จริง 0 คือ ไม่แน่ใจว่าข้อสอบน้ันวัดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมที่
ระบุไว้ -1 คือ แน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นไม่ได้วัดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมท่ีระบุ ค่าดัชนีความ
สอดคล้องทย่ี อมรบั ไดต้ ้องมคี ่าตั้งแต่ 0.50 ขน้ึ ไป

๑๙

5.2 สถติ วิ ิเคราะหพ์ นื้ ฐาน
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางเป็นระเบียบวิธีทางสถิติในการหาค่าเพียงค่าเดียวที่จะใช้เป็น
ตัวแทนของขอ้ มูลทัง้ ชุด ค่าทีห่ าได้น้จี ะทาใหส้ ามารถทราบถึงลักษณะของขอ้ มูลทัง้ หมดที่เก็บรวบรวม
มาได้ คา่ ทีห่ าไดน้ ้ีจะเปน็ ค่ากลาง ๆ เรียกว่า คา่ กลาง ประเภทของการวดั แนวโนม้ เข้าสู่ส่วนกลาง การ
วดั แนวโนม้ เขา้ ส่สู ่วนกลางมอี ยหู่ ลายวธิ ดี ว้ ยกนั ท่นี ยิ มกนั มาก ไดแ้ ก่

1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic Mean) หมายถึง การหารผลรวมของข้อมูลท้ังหมดด้วย
จานวนข้อมูลท้ังหมด การหาค่าเฉล่ียเลขคณิตสามารถหาได้ ค่าเฉลียเลขคณิตของข้อมูลที่ไม่ได้แจก
แจงความถ่ี สามารถคานวณไดจ้ ากสูตร

X = ∑X
N

x คือ ค่าเฉลยี่ เลขคณติ
∑X คือ ผลบวกของข้อมูลทกุ คา่
n คอื จานวนขอ้ มูลทง้ั หมด
2. มัธยฐาน (Median) หมายถึง ค่าท่ีมีตาแหน่งอยู่ก่ึงกลางของข้อมูล เมื่อเรียบเรียงข้อมูล
จากต่าหรือนอ้ ยท่ีสุดไปหามากทีส่ ดุ

Mdn = N+1
2

Mdn คือ ค่ามธั ยฐาน
N คือ จานวนข้อมูลทงั้ หมด
3. ฐานนิยม (Mode) หมายถงึ ค่าท่มี ีความถส่ี ูงสุด เม่ือเปรยี บเทยี บกบั ค่าอื่นในข้อมลู ชุด
เดยี วกัน แต่ในบางชดุ ของขอ้ มูลอาจจะไมม่ คี ่านิยมโดยทัว่ ไป ฐานนยิ มใชก้ ับข้อมูลคุณภาพ

5.3 สถิตวิ ิเคราะห์แบบทดสอบ
สถิติ t-test ใช้ทดสอบความแตกต่างหรือเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม ใช้
สาหรับการทดสอบข้อมูลท่ีมีการแจกแจงแบบปกติ (Normal Distribution) สาหรับตัวอย่าง 2 กลุ่ม
มี 2 ลักษณะคือเป็นตัวอย่างท่ีอิสระกัน (Independent Samples) และตัวอย่างท่ีสัมพันธ์กัน เพื่อ
เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยที่ได้มา (Sample mean; ) กับค่าเฉลี่ยมาตรฐานหรือทฤษฏี (µ) สามารถ
ทดสอบได้โดยใชโ้ ปรแกรม ดงั น้ี

สูตร t = df = n - 1

S คือ จานวนตัวอยา่ ง
µ คอื สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานของตวั อยา่ ง
X คือ ค่าเฉล่ยี ของตัวอย่างทไี่ ด้

๒๐

บทที่ 4
ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล

การวจิ ัยครง้ั นี้มคี วามม่งุ หมายเพ่ือการพัฒนาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์
รหัสวิชา ว 16101 เร่ือง แรงที่กระทาต่อวัตถุ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา

2562 โรงเรียนบ้านด่านเจริญชัย โดยใช้รูปแบบการสอน STEM ซ่ึงผู้วิจัยได้ดาเนินการวิเคราะห์
ขอ้ มลู และนาเสนอผลการวเิ คราะห์ดังตารางตอ่ ดังนี้

ตารางผลการเปรยี บเทียบคะแนนผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของนกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6

ระหว่างก่อนเรียน และหลังการเรียนโดยรูปแบบการสอน STEM รายวิชาวิทยาศาสตร์ เร่ือง แรงที่
กระทาตอ่ วัตถุ

การสอบ n S.D. t

ก่อนเรยี น 9 4.58 7.88 -
หลังเรยี น
13.87

9 1.15 0.33 -

*p < .05

จากตาราง ค่า t ท่ีคานวณได้มีค่า 13.87 เม่ือนาไปเทียบกับจุดหลักท่ีได้จากตาราง t
แบบทิศทางเดียวระดับนัยสาคัญ .05 (df = 16) ซ่ึงมีค่า 1.746 ปรากฏว่าค่า t ท่ีคานวณได้
มากกว่าค่า t ที่เป็นจุดวิกฤตหรือจุดหลัก แสดงว่ากลุ่มทดลองมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียน
เรื่อง แรงทก่ี ระทาต่อวตั ถุ สูงกว่ากอ่ นเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติทร่ี ะดับ .05

๒๑

บทท่ี 5
สรปุ ผลการวจิ ยั อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

การศึกษาครั้งนี้ เป็นการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์
รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ รหัสวิชา ว16101 เร่ือง แรงทกี่ ระทาตอ่ วตั ถุ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่
6 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนบ้านด่านเจริญชัย รูปแบบการสอน STEM จะครอบคลุมเน้ือหา
สาระสาคญั ดงั นี้

5.1 สรุปผลการวิจยั
5.2 อภิปรายผล
5.3 ข้อเสนอแนะ

5.1 สรุปผลการวิจยั
1.1 วตั ถุประสงค์ของการวิจยั
1. เพ่ือพัฒนาผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นวิชาวิทยาศาสตร์ เร่ือง แรงที่กระทาต่อวัตถุ ก่อนเรียน

และหลังเรยี นของนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 โรงเรยี นบา้ นคด่านเจรญิ ชัย โดยใช้รูปแบบการสอน
STEM

2. เพ่ือเปรียบเทียบเจตคตติ อ่ วชิ าวทิ ยาศาสตร์ เรื่อง แรงที่กระทาต่อวัตถุ ก่อนเรียนและหลัง
เรียนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านด่านเจริญชัย โดยใช้รูปแบบการสอนแบบ
STEM

1.2 สมมติฐานของการวจิ ยั
หลังจากใชร้ ปู แบบการสอน STEM รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ เรื่อง แรงทก่ี ระทาต่อวัตถุ พบว่า

นกั เรียนมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนสงู ข้นึ
1.3 วธิ ีการดาเนนิ วจิ ัย
วธิ ีการดาเนินวจิ ัย ประกอบดว้ ย ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง เคร่อื งมอื ในการวจิ ยั วิธกี าร

เก็บรวบรวมข้อมลู และการวเิ คราะห์ขอ้ มลู
1.3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร คอื นกั เรียนโรงเรยี นบา้ นดา่ นเจริญชยั จานวน 54 คน
กลมุ่ ตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านด่านเจริญชัย จานวน 9 คน
1.3.2 เคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบไปด้วย แผนการจัดการ

เรยี นรู้โดยใชส้ ือ่ ประสม ส่อื ประสม เรอื่ ง แรงทีก่ ระทาต่อวัตถุ และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียน

1.3.3 วิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมูล
ในการดาเนินการวิจัยผู้วิจัยได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง โดยมีขั้นตอนการ
จัดเกบ็ รวบรวมข้อมูล ดังน้ี ใหผ้ ้เู รยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน ด้วยแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิ

๒๒

ทางการเรยี นรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ เรอ่ื ง แรงท่ีมากระทาตอ่ วตั ถุ จากนน้ั ทดลองสอนตามแผนการสอน
โดยใช้ชุดการเรียนรู้ STEM จานวน 3 ช่ัวโมง และทดสอบหลังเรียน ด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี น โดยใช้แบบทดสอบชดุ เดมิ

1.4 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู
เปรียบเทียบผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกอ่ นเรียนละหลังเรียน โดนใช้รูปแบบการสอน STEM
ดว้ ยค่าเฉลย่ี ( X ) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) และค่าสถติ ิ ที ( t - test )
1.5 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล
นักเรียนที่เรียนโดยใช้รูปแบบการสอน STEM มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง แรงที่มา
กระทาตอ่ วัตถุ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ผลจากการวิจัยสอดคล้องกับ
สมมติฐานที่ตั้งไว้สรุปได้ว่า การสอนในรูปแบบ STEM เรื่อง แรงที่มากระทาต่อวัตถุ สมควรใช้ในการ
เรียนการสอนตอ่ ไป

5.2 อภิปรายผล
จากการการพัฒนาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว16101 เร่อื ง

แรงท่ีมากระทาตอ่ วัตถุ ของนกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 โรงเรยี นบ้านดา่ นเจรญิ ชยั โดยใช้รปู แบบ
การสอน STEM หลังทดลองสงู กว่าก่อนทดลอง สามารถอภิปรายผลได้ดังน้ี

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ เร่ือง แรงท่ีมากระทาต่อวัตถุ ของนักเรียนช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนบ้านด่านเจริญชัย ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบ STEM
หลังทดลองสงู กวา่ ก่อนทดลอง โดยพิจารณาจากคะแนนเฉลี่ยจาก การทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนเร่ือง แรงท่ีมากระทาต่อวัตถุ พบว่ามีคะแนนเฉล่ียหลังทดลองสูงกว่าก่อนทดลองซ่ึง
สอดคล้องกบั สมมตุ ิฐานทีต่ ้ังไว้ อาจมสี าเหตุมาจากรูปแบบการสอน STEM ทีผ่ วู้ จิ ัยสรา้ งขึ้นนี้ประกอบ
ไปด้วย สื่อหลากหลาย มีส่ือเทคโนโลยี power point ส่ือของจริง และชุการสอน STEM ที่มีใบ
ความรู้ กจิ กรรม แบบฝึกหดั ซ่ึงในแต่ละชั่วโมงมีกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีแตกต่างกันออกไป เป็น
การสรา้ งบรรยากาศการเรียนการสอนทาให้นักเรียนเกิดความสนใจไม่เบ่ือหน่ายมีความกระตือรือร้น
เอาใจใสแ่ ละใหค้ วามสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรมเพราะมีการเปลย่ี นส่ิงเร้าตลอดเวลาทาใหน้ กั เรียนได้
ความรู้กว้างขวาง เข้าใจบทเรียนยิ่งขึ้นซ่ึง สอดคล้องกับแนวคิดของ ยุพิน พิพิธกุล( 2524 : 295 )
และจะสง่ ผลต่อการพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน และยังเป็นการ สร้างแรงจูงใจให้มีเจตนคติท่ีดีต่อ
วชิ าวทิ ยาศาสตร์

๒๓

5.3 ข้อเสนอแนะ
ขอ้ เสนอแนะในการนาผลวิจยั ไปใช้
1. รูปแบบการสอน STEM สามารถนาไปเปน็ แบบอย่างในการจดั การเรียนการ

สอนสาหรบั นกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ในเรือ่ งดงั กล่าวได้
2. ก่อนทจี่ ะนาชุดการเรียนรู้ STEM ไปใช้ควรเตรียมความพรอ้ ม โดยการทาความ

เข้าใจกับส่ือเป็นอย่างดีก่อน เพื่อตรวจสอบความสมบูรณ์ และศึกษาขั้นตอนวิธีใช้เรียงลาดับ
กอ่ น – หลัง ใหแ้ ม่นยา

3. ควรมีการพฒั นา ชดุ สื่อ STEM ใหม้ ีความหลากหลายมากข้นึ โดยการจัดทาจาก
เนือ้ หาอื่นทีเ่ ปน็ ปัญหาต่อการเรียนการสอน

๒๔

บรรณานุกรม

กษมาพร เข็มสันเทียะ. (2557). โครงงานป้ันข้าวจ่ี ฝีมือหนู. รายงานผลการจัด
ประสบการณ์การเรียนรู้บูรณา

การวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์และเทคโนโลยี ใน ระดับประถมวัย ตามแนวทางสะเต็มศึกษา.
กรุงเทพฯ, สถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หน้า 94 – 96. ธานี
จันทร์นาง. (2556). สะท้อนความคิดจากประสบการณ์การใช้กิจกรรม STEM Education ใน
ห้องเรยี น.
สมาคมครูวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์และเทคโนโลยี แหง่ ประเทศไทย, 19 (มกราคม
ธันวาคม 2556), 29 – 36. ประสาท เนืองเฉลิม. (2554). วิจัยการเรียนการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 1.
มหาสารคาม, อภิชาตการพิมพ์.
ประสาท เนืองเฉลิม. (2557). การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในศตวรรษท่ี 21. พิมพ์ครั้งที่ 1.
มหาสารคาม, อภิชาตการพิมพ์.
มนตรี จุฬาวัฒนทล. (2556). การศึกษาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมและ
คณิตศาสตร์ หรือ “สะเต็ม”. สมาคมครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย,
19 (มกราคม–ธันวาคม 2556), 3 – 14.
พลศักด์ิ แสงพรมศรี, ประสาท เนืองเฉลิม และปิยะเนตร จันทร์ถิระติกุล. (2558). การ
เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นสูง และเจตคติต่อการ
เรียนเคมี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา กับแบบปกติ,
เมษายน พ.ศ. 2558, 401-418.
พรทิพย์ ศิริภัทราชัย. (2556). STEM Education กับการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21.
นักบริหาร, 33(2), 49 – 56.
รักษพล ธนานวุ งศ.์ (2556ก). รายงานสรุปการประชุมเชิงปฏบิ ัตกิ าร STEM Education.
สืบค้นเมอื่ วันท่ี 15 ตลุ าคม 2556.
สุพรรณี ชาญประเสริฐ. (2557). สะเต็มศึกษากับการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21.
สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.), 42(186), 3 – 5.
อภิสิทธิ์ ธงไชย. (2556). สะเต็มศึกษากับการพัฒนาการศึกษาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
วศิ วกรรมศาสตร์และคณติ ศาสตร์ในประเทศสหรัฐอเมรกิ า. สมาคมครู วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่ง.


Click to View FlipBook Version