The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือ นักศักษา กศน. ก่อนลง E-book

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebooknayok, 2020-06-12 14:30:59

คู่มือ นักศักษา กศน. ก่อนลง E-book

คู่มือ นักศักษา กศน. ก่อนลง E-book





คำนำ

คู่มอื นกั ศกึ ษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เล่มน้ี
จดั ทาขึ้นเพื่อสร้างความเขา้ ใจและเป็นแนวทางในการปฏิบัติตนสู่การเป็นนักศึกษาและเข้าสู่กระบวนการ
เรียนรู้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551และเป็นคู่มือการปฐมนิเทศนักศึกษาของ กศน. อาเภอเมืองนครนายก ซ่ึงจะ
สามารถเป็นเอกสารทีท่ าให้นักศกึ ษาได้รบั โอกาสเข้าสู่กระบวนการเรยี นรไู้ ด้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

กศน.อาเภอเมืองนครนายก หวังว่าคู่มือนักศึกษา กศน.อาเภอเมืองนครนายกเล่มน้ี จะเป็น
ประโยชนแ์ ละอานวยความสะดวกในการเรยี นร้สู าหรบั นักศกึ ษาได้เปน็ อย่างดี

กศน. อาเภอเมืองนครนายก



สำรบัญ

คานา......................................................................................................................................................ก
สารบญั ...................................................................................................................................................ข
คู่มอื นกั ศกึ ษา.........................................................................................................................................1
หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551.......................................1
1. แนวคิด ..............................................................................................................................................1
2. ปรัชญาคิดเปน็ ...................................................................................................................................1
3. หลักการ ............................................................................................................................................2
4. จุดมงุ่ หมาย........................................................................................................................................2
5. สาระการเรยี นรู้.................................................................................................................................2
6. โครงสร้างหลกั สูตร............................................................................................................................3
7. การลงทะเบยี น..................................................................................................................................3
8. สอ่ื การเรียน.......................................................................................................................................4
9. การเทยี บโอนผลการเรียน.................................................................................................................5
10. การวัดผลประเมินผล ......................................................................................................................5
11. การวัดผลรายวิชา............................................................................................................................5
12. การตัดสินผลการเรียนรายวชิ า........................................................................................................6
13. กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชวี ติ ...........................................................................................................6
15. การประเมนิ ระดับชาติ....................................................................................................................8
16. การจบหลกั สตู ร ..............................................................................................................................8
17. การรกั ษาสภาพ...............................................................................................................................8
18. การพ้นสภาพนักศึกษา....................................................................................................................8
19. การยืน่ คาร้องขอจบการศึกษา ........................................................................................................9
20. สถานท่ีพบกลุม่ .............................................................................................................................10
21. รายวิชาบังคบั หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 .......11
คณะผู้จัดทา ......................................................................................................................................... 12

ค่มู อื นกั ศึกษำ

หลักสูตรกำรศึกษำนอกระบบระดับกำรศกึ ษำขั้นพ้นื ฐำน พุทธศักรำช 2551

1. แนวคิด

กระทรวงศึกษาธิการมีหน้าที่จัดการศึกษาให้กับประชาชน โดยเฉพาะการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ซึ่งตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 49 กาหนดว่าบุคคลย่อมมีสิทธิ์
เสมอกันในการรับการศึกษาไม่น้อยกว่าสิบสองปีท่ีรัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภา พ และ
แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมในระยะหลงั มงุ่ เนน้ ให้ “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา”ทั้งนี้ เพื่อรองรับ
กระแสโลกาภิวฒั น์ให้นาพาสังคมไปสู่ความมง่ั คง่ั ยงั่ ยืน

กระทรวงศึกษาธกิ ารมีหน้าท่ีจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ทั้งในระบบ
และนอกระบบ โดยให้ความสาคัญเท่าเทียมกัน ดังนั้น จึงได้มีคาส่ังกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สป .418/2551
ให้ใชห้ ลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ณ วันท่ี 18 กันยายน 2551
เพื่อให้ใช้แทนหลักเกณฑ์และวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียน หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2544 เป็นหลักสูตรท่ีมุ่งเน้นให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของบุคคลท่ีอยู่
นอกระบบ ซ่งึ เปน็ ผทู้ ม่ี ีความรปู้ ระสบการณ์จากการทางานและการประกอบอาชีพ เป้าหมายการจัดการศึกษา
จึงให้ความสาคัญกับการพัฒนาการจัดการกับองค์ความรู้เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถปรับตัวอยู่ในสังคม
ท่ีเปล่ียนแปลงตลอดเวลา สร้างภูมิคุ้มกันตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง โดยคานึงถึงธรรมชาติของ
การเรียนรู้ของผู้ที่อยู่นอกระบบที่มีเป้าหมายเพ่ือนาความรู้ไปใช้ได้ทันทีและเน้นเร่ืองท่ีสอดคล้องกับ
การดาเนินชีวติ

2. ปรชั ญำคิดเป็น

หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ยึดปรัชญา
“คิดเปน็ ”มาใชใ้ นการจดั การศกึ ษา

ปรัชญา “คิดเป็น”อยู่บนฐานความคิดที่ว่าความต้องการของแต่ละบุคคลไม่เหมือนกัน
แต่ทุกคนมีจุดรวมของความต้องการท่ีเหมือนกันคือ ทุกคนต้องการมีความสุข คนเราจะมีความสุข
ก็ต่อเมอ่ื ตัวเรา ความรู้ทางวิชาการ สังคมและสิง่ แวดล้อม ผสมกลมกลืนกนั ได้ดีจะมีความสุข โดยการ
คิดแบบพอเพยี ง พอประมาณ ไมม่ ากไมน่ อ้ ยเปน็ ทางสายกลาง สามารถอธบิ ายได้ด้วยเหตผุ ล

กระบวนการเรียนรู้ตามปรัชญา “คิดเป็น” มีผู้เรียนสาคัญที่สุดโดยครูจะเป็นเพียง
ผจู้ ัดโอกาส กระตุน้ ใหผ้ เู้ รยี นคิด วิเคราะห์ ปัญหาหรือความต้องการ มีการเรียนรู้จากสภาพปัญหา
ของตนเอง อภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากข้อมูลจริงและตัดสินใจบนฐานข้อมูลท่ีเพียงพอและเชื่อถือได้

2

คือ ข้อมูลตนเอง วิชาการ ชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อม ถ้าหากสามารถทาให้ปัญหาหายไป
กระบวนการกย็ ตุ ลิ ง ถ้ายงั ไม่พอใจแสดงว่ายังมีปญั หาอยู่ ก็จะเร่ิมกระบวนการพิจารณาทางเลือกใหม่
อีกครงั้ หน่งึ กระบวนการนจ้ี ะยตุ ิลงเม่อื บุคคลพอใจและมคี วามสุข

3. หลักกำร

1. เป็นหลักสูตรท่ีมีโครงสร้างยืดหยุ่นด้านสาระการเรียนรู้ เวลาเรียนและการจัดการเรียนรู้
โดยเนน้ การบูรณาการเนื้อหาใหส้ อดคลอ้ งกบั วิถชี ีวติ ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล และชุมชน สังคม

2. สง่ เสรมิ ใหม้ ีการเทียบโอนผลการเรยี นจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศัย

3. ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาและเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต โดยตระหนักว่าผู้เรียนมีความสาคัญ
สามารถพฒั นาตนเองได้ตามธรรมชาตแิ ละเตม็ ตามศกั ยภาพ

4. สง่ เสริมให้ภาคเี ครอื ขา่ ยมสี ว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษา

4. จุดมุ่งหมำย

1. มคี ุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมท่ดี งี าม และสามารถอยรู่ ่วมกนั ในสังคมอย่างสันติสขุ
2. มคี วามรพู้ ืน้ ฐานสาหรับการดารงชีวิต และการเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เนื่อง
3. มีความสามารถในการประกอบสัมมาอาชีพให้สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัดและ
ตามทนั ความเปล่ยี นแปลงทางเศรษฐกจิ สังคม และการเมือง
4. มีทักษะการดาเนินชีวิตท่ีดี และสามารถจัดการกับชีวิต ชุมชน สังคมได้อย่างมีความสุขตาม
แนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
5. มีความเข้าใจประวัติศาสตร์ชาติไทย ภูมิใจในความเป็นไทย โดยเฉพาะภาษา ศิลปวัฒนธรรม
ประเพณี กีฬา ภูมิปัญญาไทย ความเป็นพลเมืองดี ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนายึดม่ัน
ในวิถีชวี ิต และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ
6. มจี ิตสานกึ ในการอนุรักษ์ และพฒั นาทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม
7. เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ สามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้และ
บรู ณาการความรู้มาใช้ในการพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ

5. สำระกำรเรียนรู้

สาระการเรยี นรู้ ประกอบดว้ ย 5 สาระดังนี้
1. สำระทกั ษะกำรเรียนรู้ เปน็ สาระเกย่ี วกับการเรียนรู้ด้วยตนเอง การใช้แหล่งเรียนรู้ การคิดเป็น
และการวิจัยอยา่ งง่าย

3

2. สำระควำมรู้พ้ืนฐำน เป็นสาระเกี่ยวกับภาษาและการสื่อสาร คณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี

3. สำระกำรประกอบอำชีพ เป็นสาระเกี่ยวกับการมองเห็นช่องทางและการตัดสินใจ
ประกอบอาชีพ ทกั ษะในอาชพี การจดั การอาชพี อย่างมคี ณุ ธรรมและการพัฒนาอาชีพใหม้ คี วามม่ันคง

4. สำระทักษะกำรดำเนินชีวติ เปน็ สาระเก่ยี วกบั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง สุขศึกษา พลศึกษา
และศิลปศึกษา

5. สำระกำรพัฒนำสังคม เป็นสาระเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์
การเมือง การปกครอง ศาสนา ประเพณี หน้าที่พลเมือง และการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม

6. โครงสรำ้ งหลกั สตู ร

จานวนหนว่ ยกนิ

ท่ี สาระการเรยี นรู้ ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย

วชิ าบังคับ วิชาเลอื ก วชิ าบงั คับ วชิ าเลือก วิชาบังคับ วิชาเลือก

1 ทกั ษะการเรียนรู้ 5 5 5

2 ความร้พู นื้ ฐาน 12 16 20

3 การประกอบอาชีพ 8 8 8

4 ทักษะการดาเนินชวี ิต 5 5 5

5 การพัฒนาสงั คม 6 6 6

รวม 36 12 40 16 44 32
48 หนว่ ยกติ 56 หน่วยกิต 76 หน่วยกิต

กิจกรรมพฒั นำคณุ ภำพชวี ติ 200 ช่ัวโมง 200 ชว่ั โมง 200 ชวั่ โมง

 ในแตล่ ะระดับผ้เู รียนตอ้ งเรยี นร้จู ากการทาโครงงานในรายวชิ าเลือกอย่างนอ้ ย 3 หนว่ ยกติ

 ผู้เรียนเลือกเรียนรายวชิ าเลือกในสาระการเรียนรใู้ ดสาระการเรียนรู้หน่ึง หรือหลายสาระการเรียนรู้

กไ็ ด้ให้ครบตามจานวนหน่วยกติ ทกี่ าหนด

7. กำรลงทะเบยี น

จานวนรายวิชาทลี่ งทะเบยี น ในแตล่ ะระดับ
1.1 ระดับประถมศึกษำ ผู้เรียนสามารถลงทะเบียนได้ภาคเรียนละไม่เกิน 14 หน่วยกิต รวมท้ัง
การลงทะเบยี นรายวิชาทไี่ ด้ผลการเรียนเป็น “0” แตไ่ มน่ ับรวมรายวชิ าที่นามาเทียบโอนผลการเรียน
1.2 ระดับมัธยมศึกษำตอนต้น ผู้เรียนสามารถลงทะเบียนได้ภาคเรียนละไม่เกิน 17 หน่วยกิต รวมท้ัง
การลงทะเบียนรายวชิ าท่ไี ดผ้ ลการเรียนเปน็ “0” แต่ไมน่ ับรวมรายวชิ าทน่ี ามาเทยี บโอนผลการเรียน

4

1.3 ระดับมัธยมศึกษำตอนปลำย ผู้เรียนสามารถลงทะเบียนได้ภาคเรียนละไม่เกิน
23 หน่วยกิต ภาคเรียนสุดท้ายลงได้ไม่เกิน 26 หน่วยกิต รวมทั้งการลงทะเบียนรายวิชาท่ีได้ผลการเรียน
เปน็ “0” แต่ไมน่ ับรวมรายวิชาท่นี ามาเทยี บโอนผลการเรยี น

ในแตล่ ะสาระการเรียนร้จู ะประกอบดว้ ยรายวชิ าตา่ ง ๆ ดงั นี้
1. รำยวชิ ำบงั คับ เปน็ รายวิชาที่ผู้เรียนทุกคนต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาบังคับทุกรายวิชา ซึ่ง
อยู่ในสาระการเรียนรู้ให้ครบท้ังระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ระดับละ
14 รายวชิ า ตามทก่ี าหนดในโครงสรา้ งหลกั สูตร
2. รำยวิชำเลือกบังคับ เป็นรายวิชาท่ีนักศึกษาทุกคนต้องลงทะเบียนเรียน ให้ครบท้ังระดับ
ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนต้นและระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ าเลือกบังคับมีทัง้ หมด 6 วชิ า
3. รำยวชิ ำเลือกเสรี เปน็ รายวิชาที่สถานศกึ ษากาหนดไว้ใหน้ กั ศึกษาทุกระดับ สามารถเลือก
ลงทะเบยี นเรยี นเพิม่ เติมจากรายวชิ าบังคับและรายวชิ าเลอื กบงั คบั ไดต้ ามความถนดั และความสนใจ

8. สื่อกำรเรียน

1. สอ่ื เอกสำร ประกอบด้วย
1.1 หนังสือเรียน เป็นตาราเรียนในรายวิชาบังคับ และรายวิชาเลือกบังคับ ซ่ึงสานักงาน กศน.

จัดทาขึ้นและอนุญาตใหใ้ ชส้ าหรับการเรยี นการสอน
1.2 เอกสารชุดการเรียนทางไกล เป็นเอกสารในลกั ษณะตารา ซึ่งมเี น้อื หาสาระใน

รายวิชาเลือกตามท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
2. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ประกอบด้วย สื่อเสียง (CD) และ/หรือส่ือวีดิทัศน์ (VCD/DVD) เพ่ือให้

นักศึกษามีทักษะและประสบการณ์ในส่วนที่ส่ือสิ่งพิมพ์ไม่สามารถทาได้ เช่น การออกเสียง การเกิดปฏิกิริยา
ทางวิทยาศาสตร์ การเล่นดนตรีหรือนาฎศิลป์ และเน้ือหาบางประเภทที่ต้องอธิบายด้วยภาพและเสียง
เป็นต้น ส่ือออนไลน์เป็นสื่อที่เผยแพร่ผ่านอินเทอร์เน็ตในรูปแบบของ e-book, e-learning, YouTube,
blog และสือ่ อน่ื ๆ ในรายวชิ าต่าง ๆ ซง่ึ นักศกึ ษาสามารถใช้ในการศึกษาด้วยตนเองไดต้ ลอดเวลา

3. ส่ือบุคคล ไดจ้ ดั สอ่ื บุคคลเพื่อสนบั สนนุ การศึกษาของนักศกึ ษา ดงั น้ี
3.1 ครูที่ปรึกษาประจากลุ่ม เม่ือนักศึกษามีปัญหา หรือข้อสงสัยสามารถติดต่อสอบถาม

หรอื ขอคาแนะนาจากครทู ปี่ รึกษาประจาได้ ตามช่องทางต่าง ๆ ท่กี าหนด
3.2 ครูสอนเสริม สถานศึกษาจัดผู้เชี่ยวชาญเน้ือหาเป็นครูสอนเสริม ในรายวิชาที่มี

เน้ือหายาก และกาหนดการสอนเสริมในแต่ละภาคเรียน โดยจะแจ้งรายวิชาที่จะสอนเสริม วัน เวลา
และสถานที่ให้นักศึกษาทราบ เพื่อเข้ารับการสอนเสริมโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายและนับเป็นช่ัวโมง
กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชวี ติ (กพช.)

5

4. ภมู ปิ ญั ญำและแหลง่ เรียนร้ตู ำ่ ง ๆ นกั ศกึ ษาสามารถเรียนร้จู ากภูมปิ ญั ญาและแหล่งการเรียนรู้
อ่ืน ๆ ทอ่ี ยู่ในชมุ ชนหรือท้องถิ่น เชน่ ห้องสมุด ปราชญช์ าวบา้ น พิพธิ ภัณฑ์ วัด ศนู ยก์ ารเรียนรู้ ศูนย์
วทิ ยาศาสตร์เพือ่ การศึกษา เปน็ ตน้ เพ่ือสง่ เสรมิ ให้เกดิ การเรียนรอู้ ย่างมีคุณคา่ นา่ สนใจ ชวนคิด ชวนตดิ ตาม
เขา้ ใจงา่ ย เปน็ การกระตุ้นใหน้ ักศึกษาแสวงหาความรู้อยา่ งกว้างขวาง ลกึ ซงึ้ และต่อเน่ืองตลอดเวลา

9. กำรเทยี บโอนผลกำรเรียน

การเทียบโอนผลการเรียน หมายถึง นักศึกษาท่ีมีผลการเรียนจากสถานศึกษาอื่นแต่ยังไม่จบ
ผลการเรียนท่ีย่ืนขอเทียบโอนได้ต้องมีระดับผลการเรียน ตั้งแต่ 1 –4 หรือ “ผ่าน” ไม่ใช่เกรด “0”
หรือติด “ร” หรือ “มส.” จากสถานศึกษาเดิม การเทียบโอนผลการเรียนต้องดาเนินการก่อนการลงทะเบียนเรียน
รายวิชา ตา่ ง ๆ ตามหลกั สูตรเพ่อื นกั ศกึ ษาจะไดไ้ มต่ อ้ งเรียนซ้ากับวิชาท่นี กั ศึกษามีผลการเรียนอยู่แล้ว
และเมอื่ ประเมนิ ผลการเรยี นและไม่ผ่านเกณฑใ์ ห้ลงทะเบยี นในรายวิชาน้ันตอ่ ไป

10. กำรวัดผลประเมนิ ผล

การวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551 มี 2 ลักษณะได้แก่

1. การประเมนิ ผลระดับสถานศึกษา
1.1 การวดั และประเมินผลรายวชิ า
1.2 การประเมินกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวิต (กพช.)
1.3 การประเมินคุณธรรม

2. การประเมินผลคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ ผู้เรียนทุกคนที่เรียนในภาคเรียน
สุดท้ายของทุกระดับต้องเข้ารับการประเมินคณุ ภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ

11. กำรวดั ผลรำยวิชำ

1. กำรสอบระหวำ่ งภำคเรยี น ครูผ้สู อนจะเป็นผ้สู อบวดั ผล ตามความเหมาะสมกบั เนอื้ หาวิชา
2. กำรสอบปลำยภำคเรียน นักศึกษาท่ีลงทะเบียนเรียนจึงจะมีสิทธิ์เข้าสอบปลายภาคเรียน
การสอบปลายภาคเรียนข้อสอบจะเป็นข้อสอบที่ให้นักศึกษาเลือกคาตอบท่ีถูกต้องที่สุดจากคาตอบที่
กาหนดให้ 4 ตัวเลือก ก ข ค ง (ข้อสอบปรนัย) รายวิชาละ 40 คะแนน มีเงือนไขจะต้องได้คะแนน
ไมต่ ่ากว่าร้อยละ 30 ของคะแนนปลายภาคจึงจะถือว่าผ่าน หากสอบไมผ่ า่ นนกั ศึกษาต้องสอบซ่อม
3. กำรสอบซ่อม นักศกึ ษาทม่ี สี ิทธ์ิสอบซอ่ มตอ้ งเปน็ ผู้ที่เขา้ สอบปลายภาค

6

12. กำรตัดสนิ ผลกำรเรียนรำยวชิ ำ

การตัดสินผลการเรียนรายวิชา ให้นาคะแนนระหว่างภาคเรียนมารวมกับคะแนนปลายภาคเรียน
และจะต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 จึงจะถือว่าผ่านการเรียนในรายวิชาน้ันท้ังนี้ ผู้เรียนต้อง
เข้าสอบปลายภาคเรียนด้วย แล้วนาคะแนนไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ท่ีกาหนดโดยให้ค่าระดับผลการเรียน
เป็น 8 ระดับ ดังน้ี

ไดค้ ะแนนร้อยละ 80-100 ใหร้ ะดบั 4 หมายถึง ดีเยีย่ ม
ได้คะแนนร้อยละ 75-79 ให้ระดับ 3.5 หมายถงึ ดมี าก
ไดค้ ะแนนร้อยละ 70-74 ให้ระดับ 3 หมายถงึ ดี
ได้คะแนนร้อยละ 65-69 ให้ระดับ 2.5 หมายถึง คอ่ นขา้ งดี
ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 60-64 ให้ระดบั 2 หมายถึง ปานกลาง
ได้คะแนนรอ้ ยละ 55-59 ให้ระดบั 1.5 หมายถึง พอใช้
ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 50-54 ใหร้ ะดบั 1 หมายถงึ ผา่ นเกณฑข์ ั้นต่าที่กาหนด
ได้คะแนนรอ้ ยละ 0-49 ให้ระดับ 0 หมายถงึ ต่ากวา่ เกณฑ์ขัน้ ตา่ ท่กี าหนด
กรณีผู้เรียนมผี ลการเรยี นตา่ กวา่ เกณฑข์ ้นั ต่าที่กาหนด ให้ดาเนินการพัฒนาผู้เรียนในรายวิชา
ที่ได้ค่าระดับผลการเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ การ
ประเมินการปฏบิ ัติจริงทดสอบย่อย ประเมินจากกิจกรรม โครงงาน หรือแบบฝึกหัด เป็นต้นโดยเลือก
ใหส้ อดคล้องและเหมาะสมกับธรรมชาติของรายวิชา ถ้าผู้เรียนสามารถผ่านเกณฑ์การประเมินผลการ
เรียนรู้ท่ีคาดหวังแล้ว ให้ระดับผลการเรียนใหม่ โดยให้ค่าระดับผลการเรียนไม่เกิน 1 สาหรับผู้เรียนท่ี
ปรับปรุงพัฒนาแล้วไม่ผ่านเกณฑ์ขั้นต่า ให้ลงทะเบียนซ้าในรายวิชาเดิมหรือเปลี่ยนรายวิชา ท้ังน้ีให้
เป็นไปตามโครงสรา้ งหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 และ
ดาเนนิ การใหเ้ สร็จส้ินกอ่ นปิดการลงทะเบียนเรยี นในภาคเรียนถดั ไป

13. กจิ กรรมพฒั นำคุณภำพชวี ติ

1. กาหนดใหผ้ เู้ รียนทากจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต จานวนไมน่ อ้ ยกวา่ 200 ช่วั โมง
2. เพ่ือพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ซ่ึงเกิดจากผู้เรียนเป็นผู้เสนอโครงงานเป็น
เงือ่ นไขในการจบหลกั สตู รโดยเนน้ ให้ผู้เรียนนาข้อมลู ความรแู้ ละประสบการณม์ าฝกึ ทกั ษะการคิด
3. การวางแผนปฏิบัติการที่จะส่งผลต่อการจัดกิจกรรมการพัฒนาตนเอง ครอบครัวชุมชน
และสงั คม เพ่อื ใหด้ ารงอยู่ในสังคมอย่างมคี วามสุข

การประเมนิ ผล
การประเมนิ ผลการทากิจกรรมพฒั นาคุณภาพชวี ติ แบ่งเปน็ 2 ประเภท ดงั นี้

7

1. การประเมินตนเอง เป็นการประเมินผลการเรียนรู้และการเข้าร่วม/ทากิจกรรม
ตามแบบท่ีกาหนด (ตวั อยา่ งแบบประเมนิ ตนเองในภาคผนวก) หรือให้ความร้นู นั้ ๆ เพิ่มเติมจนผู้เรียนมี
ความรูค้ วามเขา้ ใจ

2. การประเมินผลโครงการ ให้คณะกรรมการประเมินกิจกรรมเป็นผู้พิจารณาและ
ประเมนิ ผลการปฏิบัติตามแบบประเมินทก่ี าหนด

3. เกณฑ์การพิจารณาการประเมินโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้เรียนต้องได้คะแนน
รวมไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 70 จงึ จะถือว่าผา่ น

เกณฑ์การผ่านกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ (กพช.)
1. ผู้เรียนต้องเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ และปฏิบัติโครงการรวมไม่น้อยกว่า 200 ช่ัวโมง
2. โครงการต้องบรรลุวัตถุประสงค์โดยชิ้นงาน ร่องรอยและ/หรือเอกสารรายงานมาแสดง

14. กำรประเมินคุณธรรม

หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนด
ให้การประเมินคุณธรรมเป็นเกณฑ์หน่ึงในการจบหลักสูตร เพื่อที่จะพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี
มีคุณธรรมจริยธรรม โดยบูรณาการประเมินคุณธรรม ไว้ในทุกรายวิชาและกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต

จากการปฏิบัติจริง มีหลักฐานและร่องรอยแสดงการปฏิบัติ คุณธรรมเบ้ืองต้นที่กาหนด
มี 9 คุณธรรม แบ่งออกเปน็ 3 กลุ่ม คือ

1. คณุ ธรรมเพอ่ื พฒั นาตนเอง ประกอบด้วย สะอาด สุภาพ กตญั ญกู ตเวที
2. คณุ ธรรมเพื่อพัฒนาการทางาน ประกอบดว้ ย ขยนั ประหยดั ซ่ือสตั ย์
3. คณุ ธรรมเพ่ือการพฒั นาการอยูร่ ่วมกันในสงั คม ประกอบดว้ ย สามคั คี มนี า้ ใจ มีวินัย
เกณฑก์ ารประเมิน
การประเมนิ คุณธรรม กาหนดเกณฑก์ ารประเมนิ เป็น 4 ระดบั คือ

ดีมาก หมายถึง ผูเ้ รยี นมีพฤติกรรมตามตวั บ่งช้ี ร้อยละ 90 ขึ้นไปของพฤตกิ รรม
บง่ ชใ้ี นแตล่ ะคณุ ธรรม

ดี หมายถงึ ผเู้ รียนมพี ฤตกิ รรมตามตัวบง่ ชี้ ร้อยละ 70-89 ของพฤตกิ รรมบง่ ชี้
ในแตล่ ะคณุ ธรรม

พอใช้ หมายถงึ ผเู้ รียนมีพฤติกรรมตามตวั บ่งชี้ รอ้ ยละ 50-69 ของพฤตกิ รรมบง่ ช้ี
ในแต่ละคณุ ธรรม

ปรบั ปรงุ หมายถึง ผู้เรยี นมีพฤตกิ รรมตามตัวบ่งช้ี ร้อยละ 0-49 ของพฤตกิ รรมบง่ ชี้
ในแต่ละคณุ ธรรม

8

15. กำรประเมินระดับชำติ

การทดสอบระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N – NET) นักศึกษาทุกคนท่ีจะจบ
หลักสูตร แต่ละระดับจะต้องเข้ารับการทดสอบระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N – NET)
(Non formal National Education Test) โดยใช้แบบทดสอบของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
(องค์การมหาชน) หรือ สทศ. ซึง่ จะดาเนินการในภาคเรียนสดุ ท้ายก่อนจบหลักสูตร ตามวัน เวลา และ
สถานท่ีที่สถาบันการศึกษาทางไกลแจ้งให้ทราบ เพื่อให้ทราบว่านักศึกษามีความรู้ความสามารถใน
ระดับการศึกษาที่ เรียนอยู่ในระดับใด เพ่ือสถาบันการศึกษาทางไกลจะต้องนาผลการสอบนี้มาปรับปรุง
การจัดการเรียนการสอน ให้มีคุณภาพต่อไป หากนักศึกษาไม่เข้ารับการทดสอบระดับชาติด้าน
การศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N – NET) จะไมส่ ามารถจบหลักสตู รได้

16. กำรจบหลกั สูตร

นกั ศกึ ษาทุกระดับการศึกษามีเกณฑ์การจบหลกั สูตร ดังน้ี
1. ผา่ นเกณฑ์การประเมินการเรียนร้รู ายวชิ าในแต่ละระดบั การศกึ ษาตามโครงสร้างหลกั สูตร
2. ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวติ (กพช.) ไม่นอ้ ยกว่า 200 ชว่ั โมง
3. ผา่ นการประเมินคุณธรรมในระดับพอใช้ขนึ้ ไป
4. เข้ารบั การประเมนิ คุณภาพการศกึ ษานอกระบบระดับชาติ

17. กำรรักษำสภำพ

ในกรณีท่ีนักศึกษาไม่สามารถลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนใดนักศึกษาจะต้องลงทะเบียนรักษา
สถานภาพการเป็นนักศกึ ษาทกุ ภาคเรยี น หากไมส่ ามารถลงทะเบยี นรกั ษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา
ในภาคเรียน ใดได้ จะตอ้ งลงทะเบยี นรกั ษาสถานภาพยอ้ นหลังทกุ ภาคเรยี นท่ีไม่ได้ลงทะเบียนเรียนและ
ให้เป็นไปตามวัน เวลา วิธีการท่ีสถานศึกษากาหนด ทั้งนี้ต้องไม่เกิน 6 ภาคเรียนติดต่อกัน หากพ้นจาก
ระยะเวลาดังกล่าว จะตอ้ งข้นึ ทะเบยี นเป็นนักศกึ ษาใหม่

18. กำรพ้นสภำพนกั ศึกษำ

การพน้ สภาพการเป็นนกั ศึกษาของ กศน.อาเภอเมอื งนครนายก ในกรณี ดงั นี้
1. เม่ือสถานศึกษาตรวจสอบเอกสาร หลักฐานพบว่าคุณสมบัติทั่วไปและคุณสมบัติพ้ืนฐาน
ความรใู้ นระดับทส่ี มัครเรยี นไมถ่ ูกตอ้ งหรอื ไมต่ รงกับความเปน็ จรงิ
2. เสียชีวติ
3. ลาออก เม่ือสถานศึกษาได้รับใบคาร้องขอลาออก จากนักศึกษา หรือจดหมายแสดงความ
ตอ้ งการลาออกจากการเปน็ นักศึกษา
4. จบหลกั สตู รการศึกษา ตามทโี่ ครงสรา้ งหลกั สูตรกาหนด

9

5. นักศึกษาที่ไม่มาลงทะเบยี นเรียนเกนิ 6 ภาคเรยี นติดต่อกัน
6. เม่ือสถานศึกษาตรวจสอบพบว่านักศึกษาส่งหลักฐานในการสมัครหรือเอกสาร หลักฐาน
ในการเรยี นปลอม หรอื ให้ขอ้ มลู ท่เี ป็นเทจ็
7. เม่ือสถานศึกษาตรวจสอบพบว่านักศึกษากระทาการทุจริตในการสอบ ท้ังการทา ข้อสอบระหว่าง
ภาคเรียน การสอบปลายภาคเรียนและการทดสอบระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N – NET)
ตลอดจนการรายงานการทาช่ัวโมงกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) หรือการทากิจกรรมอื่น ๆ
นักศึกษาท่ีถูกคัดช่ือออกจากสถานศึกษาจะสามารถสมัครเป็น นักศึกษาได้อีกครั้งเม่ือพ้นระยะเวลา
1 ปี หลงั จากถกู คดั ช่อื ออกจากการเป็นนกั ศึกษาแล้ว

19. กำรย่ืนคำร้องขอจบกำรศกึ ษำ

เม่ือผู้เรียนสอบผ่านเกณฑ์ท่ีครบรายวิชาบังคับ วิชาเลือกทากิจกรรม กพช. ครบ 200 ชั่วโมง
ผ่านการประเมนิ คณุ ธรรมและผ่านการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบระดับชาติ เรียบร้อยแล้ว
จะต้องย่ืนคาร้องขอจบการศึกษาและขอรับใบประกาศนียบัตรที่ศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ โดยนาหลักฐานต่อไปนม้ี าประกอบ

1. รูปถ่ายขนาด 1.5 น้ิว จานวน 2 รูป ถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน สวมเส้ือเชิ้ตสีขาวไม่มีลวดลาย
และอักษรปักใด ๆหรือเคร่ืองแบบชุดสากล พร้อมเขียน ชื่อ-นามสกุลหลังรูป (ไม่ใช้รูปถ่ายด่วนหรือ
โพลาลอยด์)

2. ใบประกาศนยี บัตร หรือใบ รบ.ท่ีเปน็ วุฒกิ อ่ นเข้าเรียน ถา่ ยสาเนา 1 ฉบับ พร้อมนา
ฉบับจรงิ มาแสดง

3. สาเนาทะเบยี นบา้ น จานวน 1 ฉบับ
4. บัตรประจาตัวนักศึกษา
5. ใบสาคญั เปลี่ยนชอ่ื และนามสกลุ (ถา้ มี) ถา่ ยสาเนา 1ฉบับ พรอ้ มฉบับจริงมาแสดงดว้ ย

10

20. สถำนทีพ่ บกลมุ่

ที่ กศน.ตำบล วัน / เวลำ ที่ต้ัง ครปู ระจำกลุ่ม เบอร์โทรศัพท์

1. ศรนี าวา อาทิตย์ 09.00-12.00 น. กศน.ตาบลศรนี าวา อ.กติ ตพิ งษ์ โพธิเวชกุล 081-7822043

(อาคารเฉลมิ พระเกยี รตวิ ัดหนองโพธิ์) อ.สาเภา จันทร์ศรีชน้ั 089-5344279

2. บ้านใหญ่ อาทติ ย์ 09.00-12.00 น. กศน.ตาบลบา้ นใหญ่ อ.เชาวนี อนิ ทขันตี 089-1849018

(ศูนย์พระเทพฯ) อ.สุภาพร ปลั่งสอน 083-5851393

3. ทา่ ชา้ ง อาทติ ย์ 09.00-12.00 น. กศน.ตาบลท่าชา้ ง อ.สภุ าพ ฉิมวยั 084-9181938

4. นครนายก อาทิตย์ 09.00-12.00 น. กศน.อาเภอเมืองนครนายก อ.ธารัน พลรักษา 096-1984568

5. ดอนยอ อาทติ ย์ 09.00-12.00 น. กศน.ตาบลดอนยอ อ.สมาพร จันทา 086-4146638

6. ท่าทราย อาทิตย์ 09.00-12.00 น. กศน.ตาบลท่าทราย อ.พรธิดา กาชู 087-5374712

(ศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ อบต.ท่าทราย)

7. วังกระโจม อาทติ ย์ 09.00-12.00 น. กศน.ตาบลวงั กระโจม อ.พรเพญ็ เกียงตระกูล 096-7299963

(โรงเรียนดอนเจริญ)

8. เขาพระ อาทติ ย์ 09.00-12.00 น. กศน.ตาบลเขาพระ อ.ศิริวรรณ หอมย่ิง 080-2186155

(โรงเรียนวัดกดุ ตะเคยี น)

9. หินตง้ั อาทิตย์ 09.00-12.00 น. กศน.ตาบลหินตั้ง อ.ยพุ า มณเทียรทอง 086-0288743

(ศาลาเอนกประสงคบ์ า้ นหุบเมย)

10. สาริกา พธุ 09.00-12.00 น. กศน.ตาบลสาริกา อ.ยทุ ธชยั สุวรรณ 089-6905998

(ศาลาเอนกประสงค์วดั ตาหนกั )

11. ดงละคร อาทิตย์ 09.00-12.00 น. กศน.ตาบลดงละคร อ.ปัณชญา บญุ เพง็ 062-9329415

(วดั หนองทองทราย) อ.อนิลลดา แดงนอ้ ย 085-3505217

12. ศรจี ุฬา อาทติ ย์ 09.00-12.00 น. กศน.ตาบลศรีจฬุ า อ.สรุ ีภรณ์ ฉิมคล้าย 097-0431815

(อาคารเอนกประสงค์วดั ศรีจุฬา)

13. พรหมณี อาทิตย์ 09.00-12.00 น. กศน.ตาบลพรหมณี อ.ปราณี มอญกระโทก 089-1486717

(อบต.พรหมณี)

21. รำยวชิ ำบงั คับหลักสูตรกำรศึกษำนอกระบ

ระดับประถมศึกษำ ม

สาระการเรียนรู้ รหสั รายวิชา รายวิชา หน่วยกิต รหสั รายวิชา ทักษะ
ทร 11001 ทร 21001 ภาษา
ทกั ษะการเรียนรู้ พท 11001 ทักษะการเรยี นรู้ 5 พท 21001 ภาษา
พต 11001 พต 21001 คณิต
ความรู้พ้นื ฐาน พค 11001 ภาษาไทย 3 พค 21001 วิทยา
พว 11001 พค 21001 ช่องท
การประกอบอาชีพ อช 11001 ภาษาองั กฤษพน้ื ฐาน 3 อช 21001 ทักษะ
อช 11002 อช 21002 พัฒน
ทกั ษะการดาเนินชีวติ อช 11003 คณติ ศาสตร์ 3 อช 21003 เศรษ
ทช 11001 ทช 21001 สขุ ศึก
การพฒั นาสังคม ทช 11002 วิทยาศาสตร์ 3 ทช 21002 ศิลปศ
ทช 11003 ทช 21003 สังคม
รวม สค 11001 ชอ่ งทางการเข้าสูอ่ าชพี 2 สค 21001 ศาสน
สค 11002 สค 21002 การพ
สค 11003 ทกั ษะการประกอบอาชพี 4 สค 21003

พฒั นาอาชีพให้มอี ยมู่ ีกนิ 2

เศรษฐกจิ พอเพียง 1

สุขศกึ ษา พลศึกษา 2

ศลิ ปศกึ ษา 2

สังคมศึกษา 3

ศาสนา และหนา้ ทพี่ ลเมือง 2

การพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม 1

36

11

บบระดบั กำรศกึ ษำขัน้ พ้นื ฐำน พุทธศักรำช 2551

มัธยมศกึ ษำตอนตน้ มัธยมศกึ ษำตอนปลำย

รายวิชา หนว่ ยกิต รหัสรายวิชา รายวิชา หน่วยกติ
ะการเรยี นรู้ 5 5
าไทย 4 ทร 31001 ทกั ษะการเรยี นรู้ 5
าองั กฤษในชีวิตประจาวัน 4 5
ตศาสตร์ 4 พท 31001 ภาษาไทย 5
าศาสตร์ 4 5
ทางการพฒั นาอาชีพ 2 พต 31001 ภาษาองั กฤษเพอื่ ชวี ติ และสังคม 2
ะการพัฒนาอาชีพ 4 4
นาอาชีพให้มคี วามเข้มแขง็ 2 พค 31001 คณิตศาสตร์ 2
ษฐกจิ พอเพยี ง 1 1
กษา พลศึกษา 2 พว 31001 วิทยาศาสตร์ 2
ศกึ ษา 2 2
มศึกษา 2 อช 31001 ช่องทางการขยายอาชีพ 3
นา และหน้าท่ีพลเมอื ง 2 2
พฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม 1 อช 31002 ทกั ษะการขยายอาชพี 1
40 44
อช 31003 พฒั นาอาชพี ให้มีความม่นั คง

ทช 31001 เศรษฐกิจพอเพยี ง

ทช 31002 สขุ ศึกษา พลศึกษา

ทช 31003 ศิลปศกึ ษา

สค 31001 สงั คมศึกษา

สค 31002 ศาสนา และหน้าทพ่ี ลเมอื ง

สค 31003 การพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม

12

คณะผ้จู ดั ทำ

นายธวชั ชัย มณีมาตร ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอเมืองนครนายก
นางพัฒนศริ ิ แก้วสขุ ครู (ครชู านาญการพิเศษ)
นางสาวกรวรรณ เหลืองวิวาย ครู (ครูชานาญการพิเศษ)
นางสาวพิชยา พูลทวี ครู (ครูชานาญการ)
นางผุสดี เตยี ซนิ ครูอาสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรียน
นางสาเภา จนั ทร์ศรีชั้น ครูอาสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรยี น
นางจารสั โฉม บวั ขาว ครูอาสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรยี น
นางสาวจอมขวญั พูลสวัสด์ิ ครูอาสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรยี น
นางวนดิ า คงมนต์ ครูอาสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรียน
นางยุพา มณเทียรทอง ครู กศน.ตาบลหินตั้ง
นางสาวสภุ าพ ฉมิ วัย ครู กศน.ตาบลทา่ ช้าง
นายกิตตพิ งษ์ โพธิเวลกชุ ครู กศน.ตาบลศรีนาวา
นางสาวปราณี มอญกระโทก ครู กศน.ตาบลพรหมณี
นางสาวศิรวิ รรณ หอมยงิ่ ครู กศน.ตาบลเขาพระ
นางเชาวนี อินทขนั ตี ครู กศน.ตาบลบ้านใหญ่
นางสาวสมาพร จนั ทา ครู กศน.ตาบลดอนยอ
นายยทุ ธชัย สวุ รรณ ครู กศน.ตาบลสารกิ า
นางสาวพรเพ็ญ เกยี งตระกูล ครู กศน.ตาบลวังกระโจม
นางสาวสุรภี รณ์ ฉมิ คลา้ ย ครู กศน.ตาบลศรีจุฬา
นางสาวพรธิดา กาชู ครู กศน.ตาบลทา่ ทราย
นายธารนั พลรักษา ครู กศน.ตาบลนครนายก
นางปัณชญา บญุ เพง็ ครู กศน.ตาบลดงละคร
นายธนพงษ์ เกาะกาเหนือ เจ้าหน้าท่ีบันทกึ ขอ้ มลู


Click to View FlipBook Version