The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยการวาดเส้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pisitneetanawitas, 2022-03-28 11:05:43

วิจัยการวาดเส้น

วิจัยการวาดเส้น

วจิ ัยในชั้นเรียน

การพัฒนาชุดฝกึ ทักษะการวาดเส้นหุ่นน่ิง
ของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จงั หวดั พะเยา

นางสาวพสิ ฐิ ณี ธนาวิทรรศน์
ตาแหน่ง ครผู ู้ช่วย

โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา
สงั กัดสานกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ
กระทรวงศึกษาธกิ าร

2

กิตติกรรมประกาศ

ศลิ ปะสอื่ ผสมจากวสั ดุธรรมชาติ เพ่ือส่งเสริมทักษะการวาดเส้น ในระดับช้ันมัธยมศึกษาชั้น
ปีท่ี 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ อาเภอจุน จังหวัดพะเยา สาเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ด้วย
ความรว่ มมือจากหลายฝ่าย ขอขอบพระคณุ สาหรับครูพ่ีเลี้ยงในการให้คาปรกึ ษา ช้ีแนะแนวทางในการ
สอนและการทาวจิ ัย รวมไปถึงนกั เรยี นทุกคนที่ให้ความรว่ มมือในการทากิจกรรม และคณะครูโรงเรียน
โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จงั หวัดพะเยา รวมไปถึงเจ้าหน้าท่ีหน่วยงานอ่ืน ๆ ที่เก่ียวข้องท่ีมิได้
กลา่ วนามที่ใหค้ วามเออื้ เฟอื้ ในด้านตา่ ง ๆ มาโดยตลอด

ขอขอบพระคุณท่านผู้อานวยการโรงเรียน นางวิลาวัลย์ ปาลี ที่ให้คาแนะนามาโดยตลอด
ระยะเวลาท่ีดาเนินการวิจัย เป็นระยะเวลา 1 เดือน ทาให้ผลงานวิจัยได้รับการสนับสนุนและสามารถ
ดาเนินงานวิจัยไดเ้ ป็นอย่างดี

ข้าพหวังเป็นอย่างยิ่งว่าวิจัยเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับนักเรียนและผู้ที่สนใจ สามารถนาไป
ประยุกตใ์ ชไ้ ดใ้ นชีวติ ประจาวัน และสามรถพฒั นาต่อยอดในอนาคตได้

พสิ ฐิ ณี ธนาวทิ รรศน์
นักวจิ ัย

3

หัวข้อวจิ ยั การพัฒนาชุดฝึกทักษะการวาดเส้นหุ่นนิ่ง ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ที่ 1
โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๒๔ จงั หวดั พะเยา

ชอ่ื ผวู้ จิ ยั นางสาวพสิ ฐิ ณี ธนาวิทรรศน์

ระยะเวลาการทาวจิ ยั วนั ที่ 1-30 มกราคม 2565

บทคดั ยอ่

การวิจัยคร้ังนี้ มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อพัฒนาชุดฝึกทักษะการวาดเส้นหุ่นนิ่ง
2) เพ่ือพัฒนาและฝึกทักษะการวาดเส้นหุ่นนิ่ง นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โดยศึกษาจากกลุ่ม
ตัวอย่าง คือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา โดยใช้
ชดุ ฝกึ ทกั ษะ เรื่องการวาดเส้นหุ่นนิง่ และแบบวัดผลการเรียนรู้แบ่งออกเปน็ 2 ส่วน ได้แก่ ตอนท่ีหน่ึง
แบบวัดความเข้าใจในเน้ือหาจานวน 10 ข้อ และตอนท่ีสอง แบบวัดทักษะ การปฏิบัติงานของผู้เรียน
จากนั้นเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้การจดบันทึก ถ่ายภาพ และอภิปรายผลเป็นตารางร้อยละและหา
ค่าเฉลย่ี พรอ้ มอธิบายใต้ตาราง ผลการวิจัยพบว่า ผลจากการใช้ชุดฝึกทักษะ เรื่อง การวาดเส้นหุ่นนิ่ง
ส่งผลให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะการปฏิบัติงานศิลปะเพิ่มมากขึ้น โดยมีคะแนนทดสอบหลังเรียน
เฉลี่ยร้อยละ 70.71 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ และเมื่อเปรียบกับผลการทดสอบก่อนเรียน โดยผล
การทดสอบมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 39.28 จะเห็นได้ว่ามีผลการทดสอบหลังเรียนที่สูงกว่า ทาให้ทราบ
ได้ว่า ประสิทธิภาพของส่ือท่ีผู้วิจัยได้สร้างข้ึนสามารถส่งผลให้ผู้เรียนมีผลการเรียนท่ีดีข้ึนอย่างเห็นได้

ชัด

4 หนา้

สารบัญ 2
3
คานา 4
กิตตกิ รรมประกาศ 5
บทคดั ย่อภาษาไทย 8
สารบัญ 35
บทที่ 1 บทนา 37
บทที่ 2 ทฤษฏี เอกสาร และงานวิจัยทเ่ี กี่ยวขอ้ ง 41
บทท่ี 3 วิธีดาเนินงานวจิ ัย 45
บทท่ี 4 ผลการวิจยั
บทท่ี 5สรปุ ผลการวจิ ัย อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ
บรรณานกุ รม

5

บทท่ี 1

บทนา

ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา

ในปัจจุบันการเรียนการสอนของรายวิชาวาดเส้น เรื่องการวาดเส้นของนักเรียน ชั้น
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา พบว่านักเรียนสามารถวาดเส้นหุ่น
น่ิงได้ แต่ไม่สามารถสร้างสรรค์งานวาดเส้นตามหัวข้อท่ีกาหนดให้ได้ เนื่องจากผู้เรียนยังขาด
กระบวนการความคดิ สร้างสรรค์ และความกล้าในการสรา้ งงานวาดเสน้ อยา่ งอิสระตามอารมความรู้สึก
ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาวาดเส้นไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานท่ีกาหนดไว้ สาเหตุ
เกิดจากผู้เรียนไม่เคยเรียนการวาดเส้นสร้างสรรค์ เรียนแต่การวาดเส้นหุ่นน่ิง ทาให้ผู้เรียนเกิดความ
เบ่อื หนา่ ย ไมม่ คี วามกระตือรือรน้ ในการเรยี น จึงส่งผลให้ผู้เรียนขาดความความคิดสร้างสรรค์ อันเป็น
ทักษะพ้ืนฐานในงานวาดเส้นและเป็นสิ่งสาคัญในงานศิลปะ ซึ่งเป็นทักษะพ้ืนฐานที่นาไปสู่การสร้าง
ผลงานศิลปะในอนาคต นอกจากนก้ี ารวาดเส้นสรา้ งสรรค์ยังเป็นทักษะพืน้ ฐานท่ีทาให้นักเรียนมีความรู้
ความเข้าใจในการสร้างงานศลิ ปะมากข้ึน เขา้ ใจหลักการจัดวางองค์ประกอบ และยังช่วยพัฒนาทักษะ
กระบวนการคิด จินตนาการ อารมณ์ความรู้สึกของนักเรียนอีกด้วย ซ่ึงถ้าหากนักเรียนขาดทักษะการ
วาดเสน้ สรา้ งสรรค์อันเป็นพื้นฐานของวิชาวาดเส้น จะส่งผลต่อการเรียนศิลปะด้านอื่นๆ และส่งผลต่อ
การสร้างผลงานศิลปะในอนาคต

ดังนั้นหากมีการนาชุดพัฒนาการฝึกทักษะการวาดเส้นสร้างสรรค์มาใช้กับนักเรียนช้ัน
มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา แล้วจะทาให้นักเรียนมีความรู้และ
ทักษะการวาดเส้นสร้างสรรค์ได้อย่างถูกต้อง นอกจากนี้ยังทาให้มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการ
หลักการจดั องคป์ ระกอบภาพ เทคนิควิธีการข้ันตอนการวาดเส้นสร้างสรรค์ได้อย่างถูกต้อง ผู้เรียนเกิด
ความสนใจและความกระตือรือร้นในการเรียนมากขึ้น ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการในรายวิชาวาดเส้น
อยู่ในเกณฑ์ที่พึงประสงค์ นักเรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์สามารถสร้างงานศิลปะได้อย่างสวยงาม
น่าสนใจ เกดิ แรงกระตนุ้ และแรงบลั ดาลในในการเรยี นและการสร้างงานศิลปะได้ต่อๆไป

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

เพื่อพัฒนาชดุ ฝึกทกั ษะการวาดเส้นสรา้ งสรรค์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป่ี 1 โรงเรียนราช
ประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา

6

ขอบเขตการวิจยั

ขอบเขตด้านพ้ืนที่ การศึกษาคร้ังน้ีเป็นการศึกษา เพ่ือพัฒนาและฝึกทักษะการวาดเส้น
สรา้ งสรรค์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวดั พะเยา

ขอบเขตชิ้นงาน การศึกษาคร้ังน้ีเป็นการพัฒนาส่ือการเรียนการสอน เรื่องการ วาดเส้น
สรา้ งสรรคป์ ระกอบด้วยช้นิ งาน ดังนี้

1. ส่อื การเรยี นการสอนชุดการวาดเส้นสรา้ งสรรค์
2 .แบบทดสอบกอ่ นเรยี น และหลงั เรียน เร่อื งการวาดเส้นสร้างสรรค์
แบง่ เปน็ 2 ตอน ดังนี้

2.1 ตอนที่ 1 แบบวดั ความเขา้ ใจในเนอ้ื หาบทเรยี น จานวน 15 ขอ้
2.2 แบบฝกึ ทักษะ เรือ่ ง การวาดเสน้ สร้างสรรค์ จานวน 15 ขอ้

นยิ ามคาศพั ท์

1. ชุดฝึกทักษะ หมายถงึ เครื่องมือที่ผู้วิจัยพัฒนาเพ่ือใช้ในการพัฒนาทักษะการวาดเส้นหุ่นนิ่ง
ของนกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 เป็นแบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลงั เรยี น และส่ือการสอน

2. ทักษะการวาดเส้น หมายถึง ความสามารถในการวาดเส้นของนักเรียนการเข้าใจเทคนิค
วธิ กี ารวาดเสน้ และเรอื่ งการลงนา้ หนัก อ่อน-แก่

3 .การวาดเส้น (Drawing) หมายถึง การสร้างภาพสองมิติโดยวิธีท่ีง่ายและรวดเร็ว ให้เกิด
รอ่ งรอยตา่ ง ๆโดยการ ปาด ปา้ ย ขดี เขียน

4. การวาดเส้นสรา้ งสรรค์ หมายถงึ การวาดภาพด้วยเสน้ ทแ่ี สดงออกด้านอารมณ์ ความรสู้ ึก
การสื่อความหมายดว้ ยการสรา้ งสรรค์เนื้อหา รูปแบบ และกลวธิ ตี ่างๆเพอ่ื ใหผ้ ลท่ี เกดิ ข้ึนมีความแปลก
ใหม่

7

ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะได้รับ
1. นักเรียนมคี วามรคู้ วามเข้าใจเร่อื งการวาดเส้นสรา้ งสรรค์
2. นักเรียนสามารถสร้างสรรคง์ านวาดเส้นได้ตาม เนื้อหา และหวั ขอ้ ท่กี าหนดได้
3. นกั เรียนเกดิ ทักษะสามารถการวาดเส้นสร้างสรรค์ท่ีถูกต้องตามกระบวนการ เทคนิค และ

วธิ กี าร

4. นกั เรียนมคี วามคิดรเิ ร่มิ สร้างสรรค์ และจินตนาการท่แี ปลกใหม่
5. นักเรียนเข้าใจสามารถจดั วางองค์ประกอบได้

สถานที่ในการดาเนนิ วจิ ัย

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จงั หวดั พะเยา

ระยะเวลาในการดาเนนิ วิจัย

วันท่ี 1-30 เดอื นมกราคม พ.ศ. 2565

8

บทที่ 2
ทฤษฏี เอกสาร และงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

การดาเนินการวิจัย เรื่องการพัฒนาชุดฝึกทักษะการวาดเส้นสร้างสรรค์นักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา ได้ทาการศึกษาทฤษฏี เอกสาร
และงานวจิ ัยที่เก่ียวข้อง ดงั นี้

1.ความหมายของการวาดเส้นสร้างสรรค์
2.ความสาคัญของการวาดเส้นสร้างสรรค์
3.เทคนคิ กระบวนการวาดเส้นสรา้ งสรรค์
4.อุปกรณใ์ นการวาดเสน้
5.ข้ันตอนการเขยี นภาพหนุ่ น่ิง
6.วิธีสอนศิลปศกึ ษา
7.จิตวิทยาการเรียนการสอน
8.จติ วิทยาสาหรบั ครู
10.งานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง

1.ความหมายของการวาดเส้นสร้างสรรค์
การวาดเส้นสรา้ งสรรค์ ( Creative Drawing) ประกอบด้วยคาวา่ การวาดเส้นและ

สรา้ งสรรค์ ดังนน้ั การวาดเสน้ สร้างสรรค์ นอกจากต้องมีความรแู้ ละมีทกั ษะดา้ นศลิ ปะแล้วยังต้องมี
ความคิดในการสรา้ งสรรค์สงิ่ ใหม่ๆด้วย
วาดหมายถึง เขยี นหรอื ลาก หรอื ลากเสน้ เปน็ ลวดลายหรือรูปภาพ เชน่ วาดภาพดอกไม้
วาดภาพทิวทัศน์ เขยี นเป็นลายเส้น ส่วนวาดเขยี น หมายถงึ วชิ าว่าด้วยการเขยี นรปู ภาพต่างๆ
(ราชบณั ฑิตยสถาน, 2539)
การวาดเส้น (Drawing) เป็นวิธีส่ือความหมายทางการเห็นขั้นพื้นฐาน การวาดเส้นเป็นการสร้างภาพ
ด้วยวธิ ีวาด วธิ ีเขยี นด้วยวัสดุเคร่ืองมือลงบนพ้นื ระนาบมเี น้ือหาสาระทางการเหน็ เป็น
ทศั นศลิ ป์รูปแบบหนง่ึ การวาดเสน้ มีความสัมพันธ์กับจิตรกรรมอย่างมากเพราะมเี ทคนิคบางอยา่ ง

9

ทเ่ี หมอื นกัน เชน่ การเขยี น การปา้ ย การระบาย เป็นตน้ การวาดเส้นเป็นการวาดรูปรา่ งลักษณะของ
ภาพด้วยเทคนิคการใชเ้ ส้น (สชุ าติ เถาทอง, 2536ก) บางคร้งั งานวาดภาพระบายสกี ็มลี กั ษณะ
งานวาดเสน้ ผสมผสานยากทีจ่ ะแยกออกจากกนั อย่างชัดเจนไมว่ ่าจะเป็นลักษณะงานและการใช้วสั ดุ
โดยสีไมไ่ ด้เป็นส่งิ ครอบงาการวาดภาพ สีและการวาดเสน้ เปน็ ส่ิงที่ผสมผสานกลมกลนื กันไป
(จริ ะพัฒน์ พติ รปรชี า, 2545)
การวาดเส้นหรือวาดเขียน หมายถึง การลากเส้นบนพื้นระนาบของรูปร่างหรือรูปทรงต่างๆ ซึ่งอาจมี
การระบายสีในข้ันต่อไปหรืออาจเป็นการแรเงาดว้ ยแสงและเงาด้วยวิธีแรเส้นเงา (Hatching) หรือด้วย
การใช้สีหมึกระบาย การวาดเสน้ เป็นกลวธิ พี นื้ ฐาน และเปน็ ผลงานแบบวจิ ติ รศิลป์
และยังเป็นขั้นตอนแรกของการทางานประเภทจิตรกรรม กลวธิ ใี นการวาดเสน้ มีหลายวธิ ีมลี กั ษณะ
ท่เี กดิ ขึ้นตามวตั ถุประสงค์ของศลิ ปนิ ไดแ้ ก่ การวาดเส้นดว้ ยดนิ สอบนพน้ื เรียบเนียนจะใหเ้ ส้นที่เรยี บ
ต่อเน่ืองชัดเจน ถ้าวาดเส้นบนพ้ืนผิวหยาบ ขรุขระ จะให้เส้นเว้าๆ แหว่งๆ การใช้หมึกหรือสีน้าด้วย
พู่กนั ความออ่ นแก่ของหมึกหรอื สีนา้ จะแสดงความตื้นลกึ แทนการใช้เส้นแรเงา (ไมเยอร์, 2540)
การวาดเส้นเป็นวิธีการและกลวิธีข้ันพื้นฐานในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ทุกสาขาเป็นการเร่ิมต้น
ของการถ่ายทอดความคิดการจินตนาการ การศึกษารายละเอียดและฝึกฝนทักษะการวาดภาพเพ่ือให้
มคี วามแม่นยาชานาญในการนาไปใชส้ ร้างงานอ่ืนๆการวาดเส้นจงึ เป็นทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติท่ีสาคัญ
อยา่ งย่งิ ในงานศิลปกรรมวธิ ีการวาดเส้นมหี ลายแบบและหลายวิธีสว่ นมาก
วาดเปน็ ลายเส้นบนพ้นื ที่เปน็ แผ่น ไดแ้ ก่ แผ่นหนงั กระดาษ โลหะ หรือบนวัตถุส่ิงของเครื่องใช้ภาชนะ
ตา่ งๆ ผลงานวาดเส้นจึงรวมถงึ ลายเสน้ ของงานประติมากรรมลายเสน้ ที่ปรากฏบนวัตถุส่ิงของเคร่ืองใช้
ภาชนะ มีหลายลักษณะ หลายวิธีการ เช่น ลายสลกั ภาพสลกั ลายเส้นบนแผ่นหิน แผ่นโลหะ
ภาพวาดเส้นระบายสีบนภาชนะกรีกและโรมัน เปน็ ตน้ (กาจร สุนพงษ์ศรี, 2555)
ภาพพิมพ์ (Print) เป็นผลงานการถา่ ยทอดดว้ ยการพมิ พจ์ ากแม่พมิ พ์ ซ่งึ ทาด้วยวัสดตุ ่างๆ
เช่น แผน่ ไม้ แผน่ โลหะ แท่นหิน ผลงานที่ไดจ้ ะกลับดา้ นซ้ายขวากับแม่พิมพ์ มีแม่พมิ พ์ตะแกรงไหม
( Silk Screen) ท่ผี ลงานจะเหมอื นกับแม่พิมพ์ไม่กลับด้านซ้ายขวา งานภาพพิมพ์เกี่ยวข้องกับการวาด
เสน้ มากกวา่ สาขาอืน่ ตั้งแตก่ ารร่างภาพความคดิ พัฒนาความคิด ด้วยการวาดเส้นสร้างสรรค์
การทาแม่พิมพด์ ว้ ยการวาดเสน้ ลงบนแผ่นโลหะ แผ่นหนิ หรอื แผน่ ไม้ แลว้ ดาเนนิ การตามกระบวน
การของการพิมพ์ ผลสาเร็จของงานภาพพมิ พ์มลี กั ษณะแสดงคุณคา่ ความงามของเสน้ คา่ นา้ หนัก
เชน่ เดยี วกบั งานวาดเสน้ จงึ จดั เปน็ งานวาดเส้นสรา้ งสรรคด์ ้วย (อัศนีย์ ชอู รณุ , 2543)

10

ความคดิ สรา้ งสรรค์ หมายถงึ สร้างใหม้ ีข้ึน เนรมิต (ราชบัณฑติ ยสถาน, 2539)

นกั จติ วิทยาและนกั การศกึ ษาได้ให้คาจากดั ความของความคิดสรา้ งสรรคไ์ ว้หลากหลาย ดังน้ี

เวสคอตต์ และสมิท (Wescott and Smith) อธบิ ายว่า ความคดิ สร้างสรรค์เปน็ กระบวนการ

ทางสมองในการนาประสบการณเ์ ดิมออกมาแล้วนามาจดั ใหเ้ กิดสง่ิ ใหม่

เดรฟดาล ( Drevdahl) อธบิ ายว่าเปน็ ความสามารถของบุคคลในการคดิ รวบรวมความรู้

จากประสบการณ์ เชือ่ มโยงกบั สถานการณ์ใหม่ สรา้ งผลผลติ ใหมห่ รอื กระบวนการหรือวิธกี ารใหม่

วอลลาซ และโคแกน (Wallach and Kogan) อธบิ ายว่า ความคดิ สรา้ งสรรค์ เปน็ ความสามารถ

เชอ่ื มโยงความสัมพนั ธ์

ออสบอรน์ ( Osborn) อธบิ ายว่า ความคดิ สรา้ งสรรค์ เปน็ จินตนาการประยกุ ต์ ท่ี มนุษย์

สรา้ งขนึ้ เพ่ือแกป้ ัญหา ซ่งึ จะนาไปสูผ่ ลผลติ ใหม่ (อารี พันธ์มณี, 2543)

2. ความสาคัญของการวาดเสน้ สร้างสรรค์

ความคิดสร้างสรรค์ในการวาดเส้นสร้างสรรค์ ซ่ึงมีความสาคัญอย่างย่ิงในการพัฒนางานมี
ความหมาย ดงั น้ี

1.ความคดิ สรา้ งสรรค์ คือ ความคิดริเร่ิมของมนุษย์ที่แสดงถึงความสามารถพิเศษของสมองใน
การพยายามคิดใหแ้ ปลกและแตกต่างไปจากเดิมเพื่อนาไปสู่สิง่ ใหม่

2.ความคิดสร้างสรรค์ คือ ความสามารถทางสมองในการคิดได้กว้างไกลหลายแง่มุม หลาย
ทิศทางเป็นความคิดแบบอเนกนัย ( Divergent Thinking) ความคิดแบบอเนกนัยเป็นกระบวนการคิด
ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ รวมถึงการคิดแนวทางในการแก้ปัญหาให้ลุล่วง อันจะนาไปสู่การคิด
ประดิษฐ์ สร้างสรรค์สิ่งแปลกใหม่ ส่วนความคิดเอกนัยเป็นความคิดสรุปเพียงหนึ่งเดียวจากข้อมูล
ต่างๆ

3.ความคิดสร้างสรรค์ คอื ความสามารถคดิ โยงสัมพันธส์ ิ่งต่างๆ ที่ ต่อเนื่องสัมพันธ์กันต่อไปได้
เรอื่ ยๆย่งิ คดิ เชื่อมโยงไดม้ ากยงิ่ บ่งช้ีว่ามศี กั ยภาพของความคิดสร้างสรรค์มากการโยงความสัมพันธ์ของ
สื่อวัสดุชนิดต่างๆกลวิธีได้แก่ การโยงความสัมพันธ์ กลวิธีทางคณิตศาสตร์กับการสร้างรูปแบบงาน
ศลิ ปะของเอชเชอร์ การคิดค้นหลกั ทัศนียภาพวิทยา

4. ความคิดสร้างสรรค์ คือ จินตนาการท่ีมนุษย์สร้างข้ึนเพื่อแก้ปัญหาที่มนุษย์ประสบอยู่
ความคดิ ในการจินตนาการจึงเป็นลักษณะสาคัญของความคิดสร้างสรรค์ท่ีจะนาไปสู่การประดิษฐ์หรือ
สรา้ งสรรคส์ งิ่ ใหม่ๆ (ชาญณรงค์ พรรงุ่ โรจน์, 2546)

11

ผลผลิตสร้างสรรค์ (Creative Product) มีลักษณะโครงสร้างหรือรูปแบบของความคิดท่ี
เป็นได้ทั้งรูปธรรมและนามธรรม ท่ีมีคุณค่าต่อผู้สร้างสรรค์ สังคมและวัฒนธรรม ความคิดสร้างสรรค์
นั้นไม่จาเป็นต้องเป็นข้ันสูงสุดยอดหรือสร้างสิ่งใหม่ขึ้นมาเสมอไป (อารี พันธ์มณี, 2543) ความคิด
สรา้ งสรรคม์ หี ลายประเภทและหลายระดบั ดังนี้

1.คิดแบบค้นพบ (Discovery) เป็นการคิดค้นพบสิ่งใหม่ทฤษฎีใหม่ได้แก่ การค้นพบทฤษฎี
แรงดึงดูดของโลก การค้นพบสีในแสงธรรมชาติ ( Spectrum) ของเซอร์ไอแซคนิวตัน การกาหนด
ทฤษฎีสัดส่วนของมนุษย์โดยวิตรูวิอุส ( Vitruvius) การกาหนดหลักทัศนียภาพวิทยา (Perspective)
โดยอกาคาทูส จติ รกรแห่งเอเธนส์ทฤษฎีเกสตอลทเ์ รอื่ งการมองเหน็ และการรบั รู้ เป็นต้น

2.คิดเชิงนวัตกรรม (Innovative ) เป็นการคิดประยุกต์หลักการหรือทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์
มาบูรณาการกับวัสดุใหเ้ กิดคุณค่าในการใช้งานอานวยความสะดวกหรือการนาทฤษฎีการเดินทางของ
คล่ืนมาสร้างโทรทัศน์ การนาสัดส่วนของมนุษย์มาใช้ในการวาดภาพหรือออกแบบสิ่งของเครื่องใช้ให้
เหมาะสมกับการใช้งาน การนาทฤษฎีสีแสงท่ีค้นพบมาสร้างงานศิลปะอิมเพรสชันนิสม์ การรับรู้
เกีย่ วกบั สใี นงานโฆษณาและการวาดภาพสีน้ามันตอนกลางคืนของฟินเซนต์ ฟานกอ๊ ก เปน็ ต้น

3.คิดเชิงสังเคราะห์ใหม่ (Synthesis) เป็นความคิดที่นาส่ิงที่มีอยู่เดิมมาบูรณาการให้เกิดสิ่ง
ใหม่ได้แก่ การนาหลักการของเกสตอลท์มาใช้ในการสร้างสรรค์งานศิลปะของอาร์คิมโบลโด และเอช
เชอร์ ตลอดจนการนาไปใช้ในการออกแบบงานดา้ นประยกุ ต์ศลิ ป์ เปน็ ต้น

4.คิดแบบดัดแปลง (Mulation) เป็นการปรับเปล่ียนคุณสมบัติของสิ่งที่มีอยู่เดิม เพ่ือให้
สอดคล้องกับความตอ้ งการทเี่ ปลย่ี นไปหรือแก้ปัญหาท่ีมีอยู่ เช่น การพิมพ์ถู โดยใช้พื้นผิวของวัสดุต่าง
ๆมาสร้างสรรค์รูปทรงใหม่หรือดัดแปลงทาลายรูปทรงเดิม การวาดเส้นสร้างสรรค์ ( Creative
Drawing) นอกจากต้องมีความรู้และทักษะด้านศิลปะแล้วยังต้องมีความคิดสร้างสรรค์ ดังกล่าวด้วย
การวาดเส้นสร้างสรรค์ จึงหมายถึงการลากเส้นบนพื้นระนาบ อาจมีการแรเงาหรือระบายสร้างค่า
นา้ หนัก แสง และเงา ด้วยวิธกี ารต่างๆเพื่อใหผ้ ลท่เี กิดข้นึ มคี วามแปลกใหม่ การสร้างสรรค์ยังอาจทาได้
ด้วยการใช้สภาพแวดล้อมหรือธรรมชาติเป็นสื่อด้วยการเลือกสรรเพ่ิมเติม ตัดทอนหรือแปรสภาพให้
เป็นรูปทรงหรือสร้างรูปทรงที่สร้างสรรค์ขึ้นเองโดยอาจผสมผสานเชื่อมโยงส่ือวัสดุ รูปแบบ วิธีการให้
สอดคล้องกลมกลืนกับการแสดงออกทางความคิดเพ่ือสื่อแสดงความหมายด้านอารมณ์ ความรู้สึก
ความคดิ หรือจนิ ตนาการของผสู้ ร้าง (ชลูด นมิ่ เสมอ, 2534)

การวาดเส้นสร้างสรรค์ เป็นงานวาดเส้นที่มีคุณค่าทางสุนทรียภาพในการสร้างสรรค์ ระดับ
วิจิตรศิลป์ ผลงานของศิลปินหลายคนท่ีได้รับการยกย่อง ได้แก่ ยานฟาน อิค เลโอนาโด ดาวินชี และ
ราฟาเอล สามารถวาดเส้นได้อย่างมีชีวิตชีวาเต็มไปด้วยอารมณ์ความรู้สึกไมเคิล แอนเจโล ใช้วิธีวาด
เสน้ แบบแรเสน้ เงาขวาง ท่ี เส้นขนานตัดกนั ทาใหเ้ กดิ ลักษณะพนื้ ผิวสวยงามน่าสนใจส่วน ฟาน ก๊อก มี
ความสามารถในการวาดเสน้ ดว้ ยปากกาและหมกึ การใชเ้ ส้นขอบรอบรูปทรงและเส้นแสดงรายละเอียด
แสดงอารมณ์ ความรู้สึกภายในจนนาไปใช้สร้างรอยแปรงในงานวาดภาพสีน้ามัน ทาให้งานกลายเป็น
การวาดเส้นสร้างสรรค์อย่างสมบูรณ์และมีเอกลักษณ์ของตน ปัจจุบันการวาดเส้นยังคงมีความสาคัญ

12

และมีบทบาทต่อการสร้างงาน ศิลปินมีการแสดงออกในงานวาดเส้นสร้างสรรค์อย่างหลากหลาย
(กาจร สุนพงษ์ศรี, 2555)

การวาดเส้นสร้างสรรค์ จึงเป็นการวาดภาพด้วยเส้นท่ีแสดงถึงอารมณ์ ความรู้สึก การสื่อ
ความหมาย และการสร้างสรรค์เน้ือหา รูปแบบ กลวิธีต่าง ๆ ได้แก่ การวาด การเขียน การป้าย การ
แตม้ และการระบาย เป็นต้น รวมถึงผลงานศิลปะภาพพิมพ์ที่มุ่งด้านคุณค่าสุนทรียะทั้งทัศนศิลป์และ
ประยกุ ต์ศลิ ป์

3.เทคนิคกระบวนการวาดเสน้ สรา้ งสรรค์

การวาดเส้นข้ันพ้ืนฐาน เป็นการทาความเข้าใจในเนื้อหาของวัตถุส่ิงต่างๆที่เป็นการมองแบบ
วิเคราะห์ ส่วนประกอบของวัตถุ ลักษณะต่างๆของวัตถุมุมมองท่ีจะถ่ายทอด ได้แก่ โครงสร้างรูปทรง
พน้ื ผิว แสง เงาและทศั นียภาพ เปน็ ต้น โดยนาหลักองค์ประกอบศิลป์ หลักการจัดภาพมาใช้ในการจัด
องค์ประกอบการวาดเส้นข้ันพื้นฐานจึงเป็นการถ่ายทอดรูปแบบตามธรรมชาติหรือตามความเป็นจริง
ส่วนการวาดเส้นสร้างสรรค์เป็นการพัฒนาข้ันตอนกลวิธีหรือวิธีการมองแบบต่างๆได้แก่ เป็นรูปทรง
เหลีย่ ม เป็นแสงและเงา กล
วธิ จี ดุ กลวธิ เี ส้นแบบตา่ ง ๆ เปน็ ต้น ซ่ึงเป็นแนวทางการพัฒนาในระดับสูงท่ีจะนาไปสู่การสร้างสรรค์ที่
มีลักษณะเฉพาะตนการวาดเส้นสร้างสรรค์จะต้องรู้จักเลือกกลวิธีและมุมมองท่ีจะนาเสนอโดยเลือก
เนน้ สง่ิ สาคญั ทจี่ าเปน็ ในการถ่ายทอด (ถนอมจติ ร์ ชมุ่ วงศ์, 2550)

การวาดเส้นสร้างสรรค์จึงมิใช่เพียงการถ่ายทอดสิ่งที่ตามองเห็นออกมาเป็นภาพเท่าน้ันแต่
ระหว่างกระบวนการมองเห็นและการรับรู้ได้ผ่านการคิดกลั่นกรองอันซับซ้อนของสมองคิดพัฒนาส่ิงที่
มองเห็นในธรรมชาติหรือจินตนาการท่ีจะถ่ายทอดสิ่งท่ีมองเห็นและรับรู้ออกมาเป็นภาพด้วยรูปแบบ
มมุ มอง ความรู้สกึ และกลวิธีการสรา้ งสรรค์ (โชติรส เตชะพันธุ์วณชิ , 2550)

การสร้างสรรค์เป็นพฤติกรรมสาคัญของมนุษย์ในการต้องการสร้างสิ่งใหม่หรือปรับเปลี่ยนสิ่ง
เดมิ ใหด้ ขี ้ึน ส่วนประกอบที่สาคัญของการสร้างสรรคม์ ดี งั น้ี

1.การรบั รู้ ( Perception) การรับรู้เป็นส่วนประกอบแรกของมนุษย์เราจะพบว่าผู้มีความคิด
สร้างสรรค์ มักเปน็ ผู้ที่มปี ระสบการณพ์ บเหน็ สงิ่ ตา่ งๆมามากมกี ารรับรู้และพยายามสังเกตสิ่งต่างๆจาก
การรับร้นู นั้

2.จินตนาการ ( Imagination) จินตนาการเป็นผลมาจากการส่ังสมการรับรู้ท้ังมวลด้วย
ประสาทสัมผัสต่างๆของมนุษย์ผสมผสานกับความคิดในการสร้างสรรค์ข้ึนใหม่ด้วยลักษณะท่ีแตกต่าง
จากเดมิ

3.ประสบการณ์ ( Experience) ประสบการณเ์ ป็นผลจากการรับรู้ในการเรียนรู้และเก็บสั่งสม
ไว้ประสบการณม์ ีความสาคัญทีท่ าให้เกิดการเรยี นร้แู ละการแกป้ ัญหาประสบการณ์จึงเป็นปัจจัยสาคัญ
ท่ีทาเกิดการสรา้ งสรรคส์ ่งิ ใหม่ ๆ (สุชาติ เถาทอง, 2536)

ขัน้ ตอนของการสรา้ งสรรค์

13

การสรา้ งสรรคศ์ ิลปะรวมถงึ การวาดเส้นสร้างสรรค์ มีกระบวนการขั้นตอนในการสร้างสรรค์
ทส่ี อดคลอ้ งต่อเนื่องกันต้ังแต่เริม่ ตน้ จนปรากฏผลสาเร็จ ดังน้ี

1.รูปความคิดหรือมโนคติ (Idea) เป็นส่ิงบันดาลใจที่เกิดจากประสบการณ์การรับรู้และ
ปรัชญาชีวติ ของศลิ ปนิ หรือผสู้ รา้ งสรรคง์ านศลิ ปะท่ีมตี อ่ สภาพแวดล้อมและสงั คม

2.ความคิดรวบยอดหรือแนวความคิด (Concept) เป็นการรวมตัวของมโนคติที่หลากหลาย
เข้าดว้ ยกันเป็นแนวความคดิ ท่ีชัดเจนเปน็ หลักสาคญั ซึง่ เป็นจดุ มงุ่ หมายของการสร้างสรรค์งาน

3.โครงสร้างของรูปทรงท่ีสอดคล้องกับแนวคิดและการถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกด้วย
รูปแบบ วัสดุ กลวิธีที่เหมาะสมแสดงบุคลกิ เฉพาะตวั (ชลูด นม่ิ เสมอ, 2534)

การควบคุมและการกาหนดเน้ือหาหรือแนวทางการสร้างสรรค์ท่ีมีแนวคิดเป็นหลักสาคัญ
ย่อมจะทาให้เห็นทิศทางได้ชัดเจน ความคิดใหม่และแนวความคิดเป็นแนวทางการวาดเส้นสร้างสรรค์
นอกจากมุ่งเน้นเร่ืองการแสดงออกทางความคิดแล้วอาจแสดงออกโดยสร้างค่าน้าหนัก พื้นผิว เพ่ือ
สรา้ งมติ ิ ความแตกต่างความกลมกลืนของรปู และพืน้

ประเภทของการวาดเส้นสรา้ งสรรค์

การวาดเส้นสร้าง สรรค์มีลักษณะงานและมีการนาไปใช้อย่างหลากหลาย ทั้งเพ่ือสร้าง
ความรสู้ ึกสุนทรยี ์ สร้างคุณค่าแกผ่ ลิตภณั ฑ์ กระตุ้นความคิดให้ความรู้ความเข้าใจและการส่ือสาร การ
วาดเส้นสรา้ งสรรค์แบง่ ตามความม่งุ หมายของการสร้างได้ 2 ประเภท คือ การวาดเส้นสร้างสรรค์ด้าน
วิจติ รศลิ ป์ และการวาดเสน้ สร้างสรรคด์ ้านประยกุ ต์ศลิ ป์

1.การวาดเส้นสรา้ งสรรค์ด้านวจิ ิตรศิลป์

การวาดเส้นสร้างสรรค์ด้านวิจิตรศิลป์ เป็นการวาดเส้นสร้างสรรค์ เพื่อความงาม ความรู้สึกสุนทรีย
ประเทอื งปญั ญาและอารมณแ์ กผ่ ดู้ ู แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังน้ี

1.1 แบง่ ตามความม่งุ หมายของการสร้างสรรค์ศิลปะการวาดเสน้ สรา้ งสรรค์เพือ่ สร้างงาน
ศลิ ปะมี 3 ประเภท ดังนี้

1.1.1 งานวาดเสน้ ท่ี เปน็ ผลงานสาเร็จในตวั เองซ่งึ จัดเป็นผลงานวิจติ รศลิ ป์

1.1.2 งานวาดเส้นที่ศิลปินทาเพื่อฝึกวาดหรือศึกษาแบบไมใช่ผลงานสาเร็จท่ีมุ่ง
สร้างแต่มีคุณค่าทางความงาม ได้แก่ การฝึกวาดท่าทาง ( Contour Drawing) การฝึกวาดสิ่งมีชีวิ
(Life Drawing) การฝกึ วาดจากหุ่น (Drawing from Antique or from Cast) การร่างภาพ (Sketch)
การวาดเพือ่ ศึกษาแบบ (Study) ภาพลายปรุ (Cartoon) เป็นต้น

1.1.3 งานวาดเสน้ ท่ี ใช้ในการเตรียมวางแผนการทางานศิลปะข้ันต้น ได้แก่ ภาพ
ร่างก่อนทางานจิตรกรรมฝาผนัง หรือภาพร่างทางานประติมากรรม หรือสถาปัตยกรรม เป็นต้น
(ไมเยอร์, 2540)

14

1.2 แบ่งตามเน้ือหาที่ถ่ายทอดเป็นการวาดเส้นสร้างสรรค์ที่มีเน้ือหาเรื่องราวต่างๆ ท่ี
เก่ียวขอ้ งกบั มนษุ ย์ สังคม และธรรมชาติ ไดแ้ ก่ เนื้อหาส่วนบคุ คล และเนือ้ หาเก่ียวกบั สังคม เปน็ ต้น

1.2.1 เน้ือหาส่วนบุคคล ( Personal Functions) มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับชีวิต
ส่วนตัว ครอบครัว ความรัก ความสุข ความเศร้า ความกลัว ความเช่ือ ความศรัทธา เพศ ท่ีสะท้อน
ความรู้สึกนกึ คดิ จินตนาการของบคุ คลทศี่ ลิ ปนิ ถา่ ยทอด

1.2.2 เนื้อหาเกี่ยวกับสังคม ( Social Functions) มีเน้ือหาสาระเก่ียวกับสังคม
ทั้งคุณค่าทางสุนทรียภาพและคุณค่าการส่ือสารที่มีความสาคัญหรือผลกระทบต่อชีวิตของผู้คนใน
สังคม ได้แก่ สภาพแวดลอ้ ม การเมอื ง ศาสนา ลทั ธิ วัฒนธรรม ภาพสะทอ้ นชีวติ เหตกุ ารณ์ในสังคมใน
ลักษณะบอกเล่า บันทึก ถากถาง เสียดสี ล้อเลียน ช้ีแนะ เป็นต้น (วิรุณ ต้ังเจริญ, 2537) นอกจากน้ี
การวาดเส้นสร้างสรรค์ยังแบ่งตามเนื้อหาที่ถ่ายทอดออกเป็น ภาพคน (Figure) ภาพคนเหมือน
(Portrait) ภาพหุ่นนิ่ง (Still Lifes) ภาพทิวทัศน์ (View) ภาพสัตว์ (Animals) ภาพจินตนาการ
(Imaginative) และภาพอ่นื ๆ (Other)

1.3 แบง่ ตามรปู แบบที่ถ่ายทอด การวาดเส้นสร้างสรรค์ตามรูปแบบท่ีถ่ายทอดรูปแบบท่ี
ใช้ในการนาเสนอเน้ือหา เรอ่ื งราวในการวาดเส้นสร้างสรรคม์ ลี กั ษณะการถา่ ยทอด 3 รปู แบบ ดังน้ี

1.3.1 รูปแบบเหมือนจริง ( Realistic) หรือแบบรูปลักษณ์ ( Figurative) คือการ
ถา่ ยทอดรูปแบบตามความเป็นจริงที่มองเห็น แสดงรูปลักษณะของคน สัตว์ วัตถุ สิ่งของ และส่ิงท่ีพบ
เห็นตามธรรมชาติโดยไม่ มีการเปลี่ยนแปลงแปรสภาพหรือบิดเบือนไปจากความจริงที่ปรากฏ แต่
ถ่ายทอดความรูส้ ึกนึกคดิ มุมมองของผสู้ ร้างสรรคล์ งในผลงานด้วยรูปแบบนี้เป็นการนาเสนอความจริง
และข้อเทจ็ จรงิ ต่างๆ (กาจร สุนพงษ์ศรี, 2555; สุชาติ เถาทอง, 2536ก)

1.3.2 รูปแบบกึ่งนามธรรม (Semi-abstract) หรือแบบกึ่งไร้รูปลักษณะ
(Semifigurative) คือการถ่ายทอดแบบตัดทอนโดยแสดงรูปแบบคน วัตถุ สิ่งของ ตามจริงเพียง
บางส่วนหรือมลี กั ษณะของวตั ถจุ ริงแต่ดัดแปลงลกั ษณะรปู แบบบ้างแบ่งแยกรูปเป็นรูปทรงพ้ืนฐานบ้าง
หรอื ทาให้พรา่ มวั บา้ ง (ไมเยอร์, 2540)

1.3.3 รปู แบบนามธรรม ( Abstract) หรอื แบบไรร้ ปู ลกั ษณ์ ( Non-figurative)

หรอื แบบไร้วตั ถุวิสัย (Non-objective) คือการถ่ายทอดการวาดเส้นสร้างสรรค์ตามความรู้สึกเป็นการ
ละทิ้งรปู แบบจริงท้ังหมดส่วนคุณค่าทางสุนทรียะอยู่ท่ีโครงสร้างของรูปร่าง เส้นและค่าน้าหนัก ความ
มุ่งหมายและองค์ประกอบในลักษณะนามธรรม มีมาตั้งแต่ยุคหินใหม่ในงานศิลปะและงานตกแต่งแต่
งานลักษณะนามธรรมที่สร้างโดยคานึงถึงหลักการทางความงามเริ่มมีขึ้นในคริสต์ศตวรรษ ท่ี 20 จาก
การสรา้ งงานศลิ ปะบาศกนยิ ม (Cubism) โดย ปาโบล ปกิ สั โซ (ค.ศ. 1881-1973) และ จอรช์ บราก

(ค.ศ. 1882-1963) (ไมเยอร์, 2540; สชุ าติ เถาทอง, 2536ก)

2. การวาดเสน้ สร้างสรรคด์ า้ นประยกุ ต์ศิลป์

15

การวาดเสน้ สรา้ งสรรคด์ า้ นประยุกตศ์ ิลป์ เปน็ การวาดเสน้ สร้างสรรค์เพอื่ ใชป้ ระโยชน์

อย่างอื่น นอกจากความรู้สึกชื่นชมในคุณค่าของศิลปะโดยตรง เป็นการประยุกต์ ศิลปะเข้าไปใน
ผลผลิต

ที่ มุ่ งประโยชน์ใชส้ อยท าใหเ้ กิดความงาม สร้างเสรมิ การรบั รู้ การสื่ อสารแก่ ผบู้ รโิ ภค ได้แก่ ภาพ

สญั ลกั ษณ์ ภาพที่ ใชใ้ นงานตกแต่ ง อาคาร สิ่งของ เคร่ื องใช้และส่ิ งพิมพ์ต่าง ๆ เป็นต้น บางครง้ั จะ

พบว่ามกี ารน างานวาดเส้นสรา้ งสรรคด์ ้านวจิ ิตรศิลป์ไปใช้เป็ นสว่ นประกอบหรอื ใช้ตกแตง่ ในงานดา้ น

ประยุกตศ์ ลิ ป์ ดงั น้นั ความแตกตา่ งอยา่ งแทจ้ รงิ ของประยุกต์ศลิ ปแ์ ละวจิ ิตรศิลปจ์ งึ ไมส่ ามารถแบ่งแยก

จากกนั ไดอ้ ย่ างเดด็ ขาด ผลงานประยุ กต์ศลิ ปบ์ างชิ้นที่ สรา้ งข้นึ เพ่ื อประโยชนใ์ ช้สอย แต่ ใน

ขณะเดียวกนั ก็ได้รบั การยกย่องชืน่ ชมดา้ นคุณคา่ ทางสนุ ทรยี ะเชน่ เดียวกับงานวิจิตรศิลป์ งานวาดเส้น
สรา้ งสรรคด์ ้านประยกุ ตศ์ ลิ ป์ ไดแ้ ก่ ภาพประกอบ ภาพโฆษณา การออกแบบเครอ่ื งแต่งกาย และภาพ

ที่ใชต้ กแต่งผลติ ภัณฑ์ เปน็ ต้น (ไมเยอร์, 2540)

อปุ กรณใ์ นการวาดเส้น

อุปกรณ์ในการวาดเส้น มีนักวิชาการ นักการศึกษา ผู้เช่ียวชาญ ได้อฺธิบาย ให้
ความหมาย ดังท่ี พงศ์ภวัน อะสีติรัตน์ (2557:30-31) ได้กล่าวว่า การวาดเส้นโดยมากเรามักเขียนใน
สตูดิโอ แตใ่ นหลายคร้งั เราจะออกไปเขยี นยงั สถานทจ่ี ริง จึงตอ้ งมีอุปกรณต์ า่ งๆที่จาเป็นในการวาดเส้น
บางครั้งเราจะใช้สมุด SKETCH อย่างง่ายเพ่ือความคล่องตัว สะดวกแก่การพกพา หลายคร้ังเราใช้
กระดานรองเขียนกับกระดาษเพ่ืองานในลักษณะท่ีแตกต่างกันไปตามความต้องการ เช่น ดินสอดา
ปากกา เครยอง ซ่ึงอุปกรณ์ในการเขียนน้ีข้ึนอยู่กับสิ่งที่เราเขียนว่าเรา เขียนอะไร อะไรเหมาะกับการ
เขียนทิวทัศน์เมือง อะไรเหมาะกับการเขียนหุ่นนิ่ง และที่สาคัญคือ กระดาษหรือเฟลมท่ีรองรับการ
วาดเสน ก็ต้องเหมาะกับอุปกรณ์ที่ใช้วาดด้วย เช่น ควรใช้เครองก็ควรใช้กระดาษผิวเรียบลื่นในการ
เขยี นเปน็ ตน้ ซ่งึ อปุ กรณท์ ่ีใช้ในการวาดเสน้ มีดงั น้ี

1.กระดานรองเขียน ใช้สาหรับรองรับกระดาษ สามารถพกถือได้สะดวก มีทั้งขนาดใหญ่
ขนาดกลาง และขนาดเล็ก กระดานรองเขียน มักทามาจากกระดาษอัดหรือไม้อัดที่มีความ
แข็งแรง เพราะกระดานรองเขยี นเปรยี บเสมือนโต๊ะทางานวาดเส้นน่ันเอง

2.กระดาษ มีหลายประเภทขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ในการวาด ว่าใช้วัสดุอะไรวาด สีของกระดาษก็
เช่นเดียวกนั ดา ขาว หรอื สอี อ่ น กลาง เขม้ ขน้ึ อยกู่ ับวัสดุท่ีใช้เขยี น

16

3.ดินสอดา อุปกรณ์ในการวาดเขียนและวาดภาพ ใช้เขียนลงบนกระดาษ ดินสอปกติจะมี
ลักษณะเป็นแท่งไม้ยาวๆมีไส้อยู่ข้างใน ทาจากแกรไฟต์ มีดินสอบ้างชนิดทาจากถ่านไม้ มี
หลายค่าน้าหนัก โดยท่ัวไปมักใชด้ ินสอ EE เพราะสามารถปรับค่าน้าหนักอ่อน เข้มได้จากการ
ผ่อนน้าหนักมอื ได้

4. คัตเตอร์ ใช้สาหรับเหลาดินสอ ซ่ึงการเหลาดินสอสาหรับวาดเส้น จะเหลาดินสอให้แหลม
และยาว เพ่อื ไมใ่ หด้ ินสอทู่เร็ว

5. ยางลบ มหี ลายแบบทง้ั แบบแขง็ แบบออ่ น ในการวาดเส้นจะใช้ยางลบแบบอ่อน เนื่องจาก
ไม่ทาให้กระดาษชา้ เปน็ ขุย

6. ดินสอคาร์บอน หรือดินสอถ่าน มีท้ังชนิดแข็งและชนิดอ่อน ไส้ดินสอมีลักษณะดา คล้าย
ถ่านตา่ งจากดินสอดาท่ัวไป

7. เครยอง เป็นแท่งถ่านสีดามีลักษณะเป็นส่ีเหลี่ยมผืนผ้ายาว มีหลายเกรด B 2B ถึง 6B
เขียนดว้ ยการปาดหรอื ถู อาจใชท้ ิชชู่หรอื สาลีถใู หเ้ กิดเปน็ คา่ นา้ หนกั ได้

8. ปากกา มีให้เลือกทั้งแบบลูกล่ืนและแบบหมึกซึม ปากกาลูกล่ืนเม่ือเขียนแบบผ่อนน้าหนัก
มือจะไดเ้ สน้ บาง และเม่ือลากแบบธรรมดาจะไดเ้ สน้ ท่มี ีขนาดเคียวกัน การเขียนปากกาลูกล่ืน
อาจเขียนด้วยการสานเส้นหรือแบบสโตรกเส้น หรือเขียนแบบสนุกเป็นอิสระก็ได้ ส่วน
ปากกาหมึกซึมเป็นแบบการจุ่มลงในน้าหมึก ความนุกอยู่ท่ีความสามารถในการควบคุม
นา้ หนัก ปริมาณของหมึกได้ หมกึ จะมีทั้งแบบกนั นา้ และไมก่ นั นา้

9. ตวั หนีบกระดาษ ใช้หนีบกระดาษบนกระดานรองเขยี น

สรุปได้ว่า อุปกรณ์ในการวาดเส้น ต้องคานึงถึงความเหมาะสมในการเลือกเขียนงานซ่ึงมี
อุปกรณ์หลายประเภทหลายลักษณะแตกต่างกันออกไป อุปกรณ์ในการวาดเส้นมีดังน้ี กระดานรอง
เขียน,กระดาษ,ดินสอดา,คัตเตอร์,ยางลบ,ดินสอคาร์บอนหรือดินสอถ่าน,เครยอง,ปากกาและสุดท้าย
ตวั หนบี กระดาษ

4.ความหมายของการเขียนภาพหนุ่ นิ่ง (Still life)

4.1 วิศิษฐ์ พิมพิมล (2544 : 20-22) ได้กล่าวว่า การวาดเส้นหุ่นน่ิง คือ การวาดรูปจากแบบ
ธรรมชาติ และส่ิงของเคร่ืองใช้ที่นามาจัดขึ้น หุ่นนิ่งเป็นต้นแบบ การวาดเส้นขั้นแรกเพราะมีขอบเขต
หนุ่ ไมม่ ากนัก มกั เป็นการจัดข้นึ ภายในห้อง สามารถใช้เวลากับการวาดได้นาน โดยไม่ต้องเผชิญกับลม
ฟ้าอากาศ เหมือนการเขยี นภาพทวิ ทศั น์

17

จุดประสงค์การวาดเส้นหุ่นน่ิง เพื่อศึกษาความถูกต้องของรูปทรง ระยะแสง-เงา พื้นผิว และ
ธรรมชาติของรูปทรงแต่ละชนิด เช่น วาดขวด ต้องได้ความรู้สึกมัน โปร่งใส วาดดอกไม้ต้องสด สวย
เป็นธรรมชาติ ฯลฯ

หนุ่ นิง่ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ

1. หุน่ น่งิ จากธรรมชาติ เช่น ดอกไม้ ผลไม้ สตั ว์ ฯลฯ
2. หนุ่ นง่ิ จากวัตถุส่งิ ของ เชน่ ขวด แกว้ ตะเกียง ภาชนะเคร่ืองใช้ต่างๆ
3. ห่นุ นิง่ จากรปู ทรงทางวฒั นธรรม เชน่ หวั โขน เคร่อื งแตง่ กาย เคร่อื งบูชา
4. หุน่ นง่ิ จากวตั ถุทางเทคโนโลยี เช่น เคร่ืองจกั รกล โลหะ พลาสติก ฯลฯ

4.2 อนันต์ ประภาโส (2549 : 58-59) ได้กล่าวว่า ภาพ STILL LIFE หรือท่ีเรียกกันจนติด
ปากว่าหุ่นน่ิง เป็นภาพสิ่งของที่เคลื่อนท่ีไม่ได้ ศิลปินจะเป็นผู้นามาจัดวางให้ได้มุมมอง องค์ประกอบ
และน้าหนักแสงเงาท่สี วยงาม การเขียนภาพหุ่นน่ิงเหมาะสาหรับการฝึกหัดของผู้ที่เร่ิมศึกษาใหม่ๆ ทา
ใหไ้ ตอ้ งกังวลเรือ่ งของการเปลีย่ นแปลหรอื วตั ถุ

ภาพหุ่นน่ิงจะมีเร่ืองของพ้ืนหลังเข้ามาเก่ียวข้องด้วยเสมอ เราอาจยึดเป็นหลักการได้ว่าหาก
ภาพส่วนรวมของวัตถุมีน้าหนักอ่อน พื้นหลังก็ควรจะเข้มเพื่อส่งให้หุ่นเด่นชัดขึ้น ในทางตรงกันข้าม
หากแบบท่ีวาดมนี า้ หนักเขม้ พื้นหลังกค็ วรจะอ่อน อย่าไรก็ตามเราจาเป็นต้องดูองค์ประกอบส่วนอ่ืนๆ
ของภาพเพือ่ ความเหมาะสมดว้ ย

สรุปไดว้ า่ การเขียนภาพห่นุ น่งิ (Still life) คือ คือการวาดภาพวัตถุที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้
และไม่สามารถเคลื่อนท่ีได้ เกิดจากการจัดวางของเราเอง ซึ่งการวาดภาพหุ่นนิ่งเป็นการฝึกขั้นเริ่มต้น
สาหรบั ผ้ทู ี่เร่ิมทางานศิลปะ หุ่นน่ิงสามารถแบ่งได้ดังนี้ หุ่นนิ่งจากธรรมชาติ,หุ่นนิ่งจากวัตถุส่ิงของ,หุ่น
นิ่งจากรูปทรงทางวัฒนธรรม,และหุ่นนิ่งจากวัตถุทางเทคโนโลยี หากวัตถุมีน้าหนักเข้มพ้ืนหลังควรมี
นา้ หนักอ่อน หากวัตถมุ นี า้ หนักอ่อนพืน้ หลังควรมีนา้ หนกั เข้ม

5.ขัน้ ตอนการเขียนภาพหนุ่ นงิ่

ข้ันตอนในการเขียนภาพหุ่นนิ่ง มีนักวิชาการ นักการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญ ได้อฺธิบายให้
ความหมาย ดังที่ อนันต์ ประภาโส (2553:59) กลา่ วไว้ถงึ ข้นั ตอนในการเขียนภาพหุน่ นี้ดงั ตอ่ ไปนี้
1. กาหนดพนื้ ท่ที ้ังหมด ของหุน่ น่งิ ให้เหมาะสมกบั หน้ากระดาษทจี่ ะทาการวาด
2. กาหนดตาแหนง่ ของวัตถทุ ่ีวาด โดยวิธกี ารแบ่งออกเป็นส่วนๆ
3. ร่างภาพอย่างคร่าวๆ
4. ตรวจสอบขนาด สดั ส่วน และตาแหน่ง ของวตั ถุให้ถกู ต้อง พรอ้ มปรบั ปรงุ แกไ้ ข รปู ร่างรปู
ทรงใหส้ มบรู ณ์
5. ลงนา้ หนักแสงเงาโดยรวม
6. เพิ่มรายละเอียดของแสงเงา และรายละเอียดของวัตถุ
7. ตกแตง่ รายละเอียด ปรับปรุงให้สมบูรณ์

18

สรุปได้ว่า ขั้นตอนการเขียนภาพหุ่นน่ิงเริ่มต้นจาก การกาหนดพ้ืนที่ทั้งหมดของวัตถุท่ีจะวาด
กาหนดตาแหน่ง และเร่ิมร่างภาพคร่าวๆ วาดรูปทรงให้สมบูรณ์จากนั้นลงน้าหนักแสงเงาโดยรวม
ตอ่ มาลงน้าหนักแสงเงาให้สมบูรณแ์ ลว้ เกบ็ รายละเอยี ด

6.ความหมายของแสงและเงา

มีนักวิชาการ นักการศึกษา ผู้เช่ียวชาญ ได้อฺธิบายให้ความหมายของแสงและเงา ดังที่ เศรษ
มนั นตร์ กาญจนกุล ( 2549:17 ) ได้กล่าวว่า แสงเป็นตัวบังคับให้เกิดทิศทางของเงาเฉพาะ ฉะน้ันเมื่อ
มีแสงก็ย่อมมีเงาเกิดขึ้น แสงและเงาจึงเป็นส่วนคู่กันในวัตถุชิ้นใดช้ินหนึ่งเม่ือนามาตั้ง ก็ย่อมปรากฏ
ด้านน่ีมีแสงและด้านท่ีมีเงา ด้านที่มีแสงเราจะรู้สึกว่าระยะใกล้กว่าส่วนด้านท่ีมีเงาน้ันจะรู้สึกว่าไกล
ออกไป หากเราวาดภาพระยะของแสงและเงาแตกต่างกันมากๆ ก็จะแสดงถึงความต้ืนลึกมากข้ึน
บางคร้ังแสงที่สอ่ งทาใหเ้ หน็ ภาพเงาผา่ นไปตามวัตถตุ ่างๆ กย็ ่อมบ่งบอกถงึ ความลกึ ตนื้ ของภาพได้ดว้ ย

คา่ ของแสงและเงา แบง่ ได้ 6 ระดบั
1.แสงสว่างท่ีสุด (HIGHLIGHT) เป็นส่วนของวัตถุที่กระทบแสงโดยตรงทาให้บริเวณน้ันมีน้าหนักอ่อน
ที่สดุ ถ้าวัตถุเป็นสีขาวเราอาจจะปล่อยให้กระดาษว่างโดยไม่ต้องลงเงาเลยก็ได้
2.แสงสว่าง (LIGHT) เป็นส่วนของวัตถุที่ไม่ได้ถูกแสงโดยตรงแต่อยู่ในบริเวณที่ได้รับอิทธิพลจากแสง
น้ัน การลงน้าหนักในบริเวณน้ีจะต้องทาให้มีน้าหนักอ่อนจางแต่เป็นน้าหนักท่ีแก่กว่าบริเวณที่ถูกแสง
จดั เลก็ น้อย
3.เงา (SHADOW) เป็นบริเวณที่ได้รับอิทธิพลของแสงน้อยมาก บริเวณที่เป็นเงาน้ี เราจะแรเงาให้มี
นา้ หนักเขม้ กวา่ บริเวณแสงสวา่ งพอสมควรเพื่อแยกบรเิ วณแสงและเงาออกจากกนั
4.เงามืด (CORE OF SHADOW) คือส่วนของวัตถุที่ไม่ได้รับอิทธิพลของแสงเลย จึงเป็นบริเวณที่ต้อง
แรเงาด้วยน้าหนักที่เข้มกว่าบริเวณอื่นๆของวัตถุท้ังหมด (คาว่า “เงามืด” คาว่าเงามืดท่ีจะต้องมี
น้าหนักเข้มที่สุดน้ีหมายถึงน้าหนักเข้มท่ีสุดของวัตถุที่เราสังเกตและเปรียบเที ยบจากบริเวณอ่ืนๆใน
ภาพ ไมใ่ ช่น้าหนักเข้มทส่ี ดุ ของดนิ สอดา)
5.แสงสะท้อน (REFLECTED LIGHT) คือบริเวณของวัตถุที่ไม่ได้กระทบแสงโดยตรง (อยู่ในด้านของ
เงา) แต่เป็นบริเวณท่ีกระทบแสงที่สะท้อนมาจากวัตถุอ่ืนท่ีอยู่ใกล้ๆกัน น้าหนักบริเวณน้ีจะอ่อนกว่า
บริเวณเงามืด ค่าของแสงสะท้อนจะให้ความรู้สึกว่าวัตถุในภาพมีมิติมีมวลสาร ถ้าเป็นภาพคนก็จะทา
ให้ร้สู ึกวา่ มีชีวติ ถ้าเปน็ วัตถอุ ่ืนๆจะใหค้ วามรสู้ ึกเหมอื นมีอากาศอย่โู ดยรอบ
6.เงาตกทอด (CAST SHODOW) คือบริเวณที่เงาของวัตถุนั้นๆทอดไปตามพ้ืนท่ีหรือวัตถุอ่ืนท่ีรองรับ
ซึ่งจะมีน้าหนักแก่กว่าบริเวณแสงสะท้อน ขนาดและรูปร่างของเงาตกทอดจะเป็นเช่นไร ข้ึนอยู่กับ
รูปร่างของวัตถุและพื้นที่รองรับเงานั้นเงาตกทอดที่จัดว่าสวยงามในแง่ของศิลปะคือเงาตกทอดที่เกิด
จากต้นกาเนิดของแสงทามุมกับ พ้ืนราบประมาณ 45 องศา

เทคนิคการลงแสงเงา ภาพทร่ี ่างเสร็จและตรวจแกไ้ ขความผิดพลาดจนถกู ตอ้ งดีแล้ว เป็นภาพ
ท่ีเหมาะกับการลงแสงเงาเป็นอย่างยิ่ง ภาพท่ีร่างไว้ผิดๆหรือผู้วาดขาดความละเอียดรอบคอบ สักแต่
จะทาให้เสร็จๆต่อให้ลงแสงเงาสวยอย่างไรก็ไม่อาจเป็นงานวาดเส้นที่ดีได้ ดังนั้นผู้วาดจึงควรร่างภาพ
ใหด้ ีทสี่ ุดกอ่ นลงน้าหนักแสงเงาทกุ ครั้ง

การกาหนดแสงและเงาบนวตั ถอุ าจลาดบั ข้นั ตอนใหเ้ ข้าใจง่ายข้ึนไดด้ งั น้ี

19

1.หร่ีตาดูวัตถุ แบ่งส่วนท่ีเป็นแสงกับเงาออกจากกันด้วยเส้นร่างเบาๆบนภาพที่ข้ึนรูปแล้ว ในที่น้ีให้
แบง่ ออกเปน็ สองสว่ นหยาบๆเทา่ นน้ั คือแสงกับเงา
2.ลงน้าหนกั ในส่วนท่เี ป็นเงาท้ังหมดด้วยนา้ หนกั ท่เี บาที่สุดของเงาที่ตกทอดบนวัตถุ เว้นส่วนท่ีเป็นแสง
ไว้
3.เปรียบเทียบน้าหนักเบาท่ีสุด (HIGHLIGHT) กับน้าหนักที่เข้มข้ึนในส่วนอื่นๆของวัตถุว่าเข้มข้ึนอีก
เท่าใด จากน้ันใช้วิธีแบ่งน้าหนักเงาอ่อนกับเงาเข้มด้วยเส้นเบาๆเช่นเดียวกับข้อ 1. แล้วแรเงาเพ่ิม
น้าหนักในส่วนของเงาท่ีเข้มข้ึนโดยเปรียบเทียบน้าหนักเงาที่ลงใหม่กับเงาอ่อนและแสงที่เว้นไว้
ตลอดเวลาเพื่อให้ได้น้าหนักที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริงการลงน้าหนักแสงเงาควรลงรวมๆไปพร้อมๆ
กนั ท้ังภาพ ไม่ควรลงส่วนใดสว่ นหนึ่งจนเสรจ็ กอ่ น เพราะจะทาให้ควบคมุ นา้ หนกั ทง้ั หมดได้ยาก
4.การลงน้าหนักที่เข้มข้ึนใช้วิธีเดียวกับข้อ3. จนครบกระบวนการ จะได้ภาพท่ีมีน้าหนักแสงเงาท่ี
ใกล้เคียงความเป็นจริง จากนั้นจึงใช้ดินสอเกลี่ยน้าหนักที่แบ่งไว้ในตอนแรกกให้มีความกลมกลืนเป็น
ธรรมชาติ
5.กลับมาดูในส่วนของแสงที่เว้นไว้หากเราสังเกตให้ดีจะเห็นว่าพ้ืนท่ีในส่วนของแสงก็มีความอ่อนแก่
เช่นเดียวกับส่วนของเงาเราจึงต้องเปรียบเทียบน้าหนักในส่วนของแสงด้วยและลงน้าหนักแผ่วๆเพ่ือ
แยกรายละเอยี ดของน้าหนักแสงเงาให้สมบรู ณ์ขึ้น
6.สิ่งท่ีขาดไม่ได้ในการวาดเส้นคือ เงาตกทอดท่ีพื้น ในกรณีท่ีวัตถุอยู่บนพ้ืน การกาหนดเงาตกทอดที่
พื้นใชห้ ลกั การเดียวกับการลงน้าหนักแสงเงาบนวัตถุ แต่ควรสังเกตทิศทางของแสงประกอบการเขียน
ดว้ ย เช่น แสงเขา้ ทางด้านไหน จดุ กาเนิดของแสงอยใู่ นมุมใด ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับการเลือกวางวัตถุ และการ
เลือกมุมมองท่ีเหมาะสมด้วยจึงจะได้ภาพท่ีสมบูรณ์ แสงท่ีถูกยอมรับว่าเหมาะสมที่สุดในการวาดภาพ
คือ แสงท่ีทามุม 45 องศากับพ้ืน ข้อหน้าสังเกตอีกประการหนึ่งคือถ้าแสงมาจากมุมสูง เงาตกทอดท่ี
พื้นจะสัน้ ถา้ แสงมาจากมมุ ท่ตี า่ เงาตกทอดจะยาวขนึ้ น้าหนกั ของเงาที่ตกทอดก็มีอ่อนแก่เช่นเดียวกับ
แสงและเงาบนวตั ถุ เงาตกทอดท่ีอยู่ใกลว้ ัตถุจะมนี า้ หนักเข้มกว่าเงาที่ทอดห่างออกมา เงาตกทอดที่อยู่
ใกล้วัตถุจะมีน้าหนักเข้มกว่าเงาท่ีทอดห่างออกมา สาเหตุมาจากแสงสะท้อนรอบๆ วัตถุเข้ามามีส่วน
ลบเงาให้จางลง บนวัตถุเองก็เช่นกัน เงาท่ีอยู่ใกล้แสงมักจะมีน้าหนักเข้มกว่าเงาท่ีอยู่ห่างออกมา การ
แรเงาหากไม่มีความละเอียดในการสังเกตและแยกแยะน้าหนักอ่อนแก่ภาพที่ได้ จะดูหยาบแข็งและไม่
เป็นธรรมชาติ
7.เมื่อกาหนดแสงเงาและลงน้าหนักอ่อนแก่ตามลาดับขั้นตอนจนภาพท่ีวาดมีรูปทรงและแสง เงา
ใกล้เคียงกับความเป็นจริงแล้วเพ่ือให้ภาพที่วาดสมบูรณ์ย่ิงขึ้นควรมีการเน้อน้าหนักในส่วนท่ีเข้มจัด
เชน่ ในสว่ นของเงาตามขอบวัตถุที่วางติดอยู่กับพื้น และบริเวณที่เป็นซอกลึกหรือบริเวณท่ีมีสีเข้มและ
อยใู่ นส่วนของเงาเข้ม การเน้นเป็นข้ันตอนสุดท้ายของการวาดเส้น ดังน้ันก่อนที่จะทาการเน้นน้าหนัก
ควรดูภาพรวมๆท้ังหมดก่อนว่ามีส่วนใดท่ีต้องแก้ไขอีกหรือไม่ เพราะหากลงน้าหนักเข้มจัดแล้วถ้ามี
การผดิ พลาดจะลบหรอื แกไ้ ขไดย้ าก

สรุปได้ว่า แสงและเงาหมายถึง ส่วนท่ีสว่างและส่วนที่เป็นเงาบนวัตถุ แสงเป็นส่ิงท่ีทาให้เกิด
เงา แสงและเงาจึงอยู่ควบคกู่ นั ซึ่งจะแบง่ แสงและเงาได้ 6 ระดับดังนี้ แสงสว่างที่สุด,แสงสว่าง,เงา,เงา
มดื ,แสงสะท้อน,และเงาตกทอด ซึ่งจะมีเทคนิคการลงเงาดังน้ี ขั้นตอนแรกคือหรี่ตาดูวัตถุ, .ลงน้าหนัก

20

ในส่วนที่เป็นเงาทั้งหมด,เปรียบเทียบน้าหนักเบาท่ีสุดน้าหนักท่ีเข้มข้ึนในส่วนอื่นๆ,ลงเงาตกทอดและ
เกบ็ รายละเอยี ด

7.วธิ ีสอนศลิ ปศกึ ษา

ทฤษฎี เรื่อง หลักการสอนศิลปศึกษา มีนักวิชาการ นักการศึกษา ผู้เช่ียวชาญ ได้อธิบาย และ
ให้ความหมาย ดงั ท่ี ชวลิต ดาบแกว้ (2525:18-20)

7.1. หลกั การสอนศิลปศกึ ษา

7.1.1 การสอนแบบบอกให้โดยตรง (Direct method)

วิธีการสอนแบบนี้ เป็นวิธีสอนแบบครูให้นักเรียนทาโดยตรง ให้นักเรียนปฏิบัติกฎหรือทาตาม
คาแนะนาของครู เป็นวิธีการลอกเลียนแบบ โดยมีภาพจากหนังสือ จากแบบรูปที่ครูเขียนไว้หรือจาก
ของจริง เชน่ ใบไม้ ดอกไม้ ถ้วยแก้ว กล่องชอล์ก ฯลฯ การวาดก็วาดให้เหมือนของจริงตามตัวอย่างที่
ครูนามาให้ดู การสอนแบบนี้เป็นการสอนตามทฤษฎีเหมือนจริง (Native Co-ordination) โดยเน้น
คุณค่าในด้านทักษะ (Skill) แสดงความแม่นยาในการใช้มือสัมพันธ์กับประสาทตา ครูไม่ยอมให้เด็กมี
เสรีภาพในการทาตามความต้องการของเด็ก ต้องทาตามกฎเกณฑ์ที่ครูวางไว้ ทานอกเหนือจากครู
ไม่ได้ เด็กไม่มีทางแสดงอารมณ์ การสอนแบบนี้จึงไม่เป็นการส่งเสริมความคิดจินตนาการทาง
สร้างสรรค์

7.1.2 การสอนแบบการแสดงออกอยา่ งเสรี (Free expression method)

วิธีนี้เป็นวิธีตรงกันข้ามกับวิธีแรก คือ เป็นวิธีที่ปราศจากการบังคับหรือควบคุมเด็กได้เรียน
ตามความพอใจ ให้อิสระแก่เด็กอย่างเต็มที่ เด็กจะเลือกวาดภาพและใช้วัสดุอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ใน
เรื่องของเด็กที่จะแสดงออกมา ไม่มีกฎข้อบังคับในการวาด เด็กจะทาอะไรออกมาก็ได้ ขออย่างเดียว
คือขอให้เด็กเกิดความเพลิดเพลินต่องานเท่าน้ัน วิธีน้ีเป็นวิธีที่ยึดถือกระบวนการมากกว่าผลิตภัณฑ์ที่
ทาขึ้น

7.1.3. การสอนแบบมคี วามมุ่งหมายในการเรียน (Meaningful art education)

วธิ นี ีเ้ ปน็ วธิ ีใหมท่ ส่ี ุดท่นี ักการศึกษาคิดข้นึ และเปน็ วธิ ที ท่ี าใหก้ ารสอนศิลปะได้ผลเป็นพึงพอใจ
การสอนแบบน้ีเป็นวิธีสอนที่ทาให้บุคคลมีเสรีภาพเพียงพอในด้านอารมณ์และความคิด ปัจจัยเหล่านี้
ต้องประกอบด้วยประสบการณ์ที่กว้างขวาง และการกระทาน้ันทาให้เข้าใจในคุณค่าแก่ศิลปะและการ
ดารงชวี ิต การสอนศิลปะแบบนี้ข้นึ อยกู่ บั หลกั 2 ประการคอื

7.1.3.1 การกระทาน้นั ตอ้ งมคี วามมุ่งหมายเปน็ สง่ิ สาคญั

7.1.3.2 ตอ้ งมคี วามสัมพันธ์ระหวา่ งเหตุ และผล

21

สรุปได้ว่า หลักการและวิธีการสอนศิลปะ เป็นรูปแบบหลักการอย่างหน่ึงในการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนทางศิลปศึกษาที่จะต้องใช้ในโรงเรียนโดยมีรูปแบบการสอนที่มีความหลากหลายวิธีซ่ึงแต่ละ
แบบจะต้องนามาจัดใหม้ คี วามเหมาะสม ใหม้ ีความสมั พันธ์กบั กจิ กรรมนน้ั ๆ

8.จติ วทิ ยาการเรยี นการสอน

ทฤษฎี เรื่อง ลักษณะพัฒนาการในระดับมัธยมศึกษา (อายุ 12-18 ปี ช้ัน ม.1- ม.6) มี
นักวิชาการ นักการศึกษา ผู้เช่ียวชาญ ได้อธิบาย และให้ความหมาย ดังท่ี ชาติชาย พิทักษ์ธนาคม
(2544:65-70)

8.1. ลกั ษณะทางร่างกาย

8.1.1 เดก็ ผูห้ ญงิ ส่วนใหญ่จะเจรญิ เตบิ โตเตม็ ท่ใี นระยะแรกของวัยนี้ ส่วนเด็กผู้ชายจะขึ้น
ชั้น ม.2 หรือ ม.3 ยังเจริญเติบโตไม่เต็มที่และอาจสูงได้อีกหลังจากระยะน้ีเด็กผู้ชายบางคนมีน้าหนัก
และส่วนสูงเพ่ิมข้ึนอย่างมากเพียงในระยะปีเดียว เด็กบางคนเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วในระดับช้ัน
ประถมตอนปลาย แตเ่ ด็กเกือบทุกคนจะเจรญิ เตบิ โตอย่างรวดเร็วในระดับมัธยมศึกษาเด็กแต่ละคนจะ
มอี ตั ราการเจรญิ เติบโตต่างกนั มากบางคนเจรญิ เติบโตเรว็ จึงรปู รา่ งใหญโ่ ตกว่าเพือ่ นรนุ่ เดียวกนั

เด็กผู้หญิงเข้าสู่วัยรุ่นเร็วกว่าเด็กชาย สาหรับเด็กผู้ชายบางคนท่ีเข้าสู่วัยรุ่นช้า
กว่าเพือ่ นๆรุ่นเดียวกันมักจะมีปญั หาในการปรบั ตัว จากการศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมของเด็กท่ีเข้า
สู่วัยรนุ่ เรว็ และช้าและจากการให้เพ่ือนๆ แสดงความคิดเห็น ก็พบว่าเด็กผู้ชายที่เข้าสู่วัยรุ่นเร็วมักจะมี
ความเช่ือมั่นในตัวเองและได้รับเลือกเป็นผู้นา ส่วนเด็กผู้ชายท่ีเข้าสู่วัยรุ่นช้ากว่าเพื่อนรุ่นเดียวกันน้ัน
จะไมเ่ ด่นในหมูเ่ พือ่ นและมกั ทาพฤตกิ รรมท่เี รียกรอ้ งความสนใจ เนอ่ื งจากรูปร่างเล็กกว่าคนอ่ืนจึงไม่ได้
รว่ มเลน่ กีฬา หรือไม่ได้มีตาแหน่งอะไรท่ีจะเป็นท่ียอมรับของเพ่ือน จึงต้องเรียกร้องความสนใจโดยทา
อย่างอื่น ครูจึงควรสนับสนุนกิจกรรมอย่างอ่ืน ๆ อาจจะเป็นงานทางด้านวิชาการหรือกิจกรรมชุมนุม
ต่าง ๆ ๆที่เด็กชอบ เมื่อทาได้สาเร็จเด็กจะเกิดความภาคภูมิใจ เช่ือม่ันในตนเองและได้รับการยอมรับ
จากเพอ่ื น

8.1.2 เด็กผู้หญิงทุกคนจะเร่ิมเข้าสู่วัยสาว ส่วนเด็กผู้ชายจะเข้าสู่วัยหนุ่มหลายคนระบบ
อวัยวะเพศ (ที่บง่ ลกั ษณะทางเพศระยะแรก) จะเจรญิ เตบิ โตอย่างรวดเร็ว เช่น มดลูก รังไข อัณฑะ ทา
ให้มีประจาเดือนและอสุจิ และลักษณะทางเพศที่จะทาให้เป็นหญิงหรือชายอย่างสมบูรณ์จะปรากฏ
ชัดเจน เช่น ผู้หญิงจะมีหน้าอกและสะโพกขยาย มีเสียงทุ้ม ส่วนเด็กผู้ชายนั้นบ่าจะกว้างขึ้นและมีมัด
กล้ามมาแทนท่ีไขมันในร่างกายส่วนต่าง ๆ ทั้งสองเพศจะมีขนในที่ลับและขนตามร่างกาย ลักษณะ
ผวิ หนงั เปล่ียนไปเพราะต่อมไขมนั ทางานมากข้นึ อาจทาใหเ้ ป็นสวิ เสยี งเปล่ียน

วัยนี้จะมีการเปล่ียนแปลงทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ในระยะแรกควรสอนเกี่ยวกับ
เพศศึกษาเพื่อให้เด็กรู้จักปฏิบัติตนในทางท่ีถูก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กผู้หญิงครูควรให้ความรู้เกี่ยวกับ
เรอื่ งการมีประจาเดอื น เพอื่ จะไดไ้ ม่ตกใจกลัว

22

8.1.3 เด็กวัยนี้จะสนใจรูปร่างลักษณะของตน และรู้สึกเป็นกังวลมากเร่ืองรูปร่างว่าจะ
อ้วนหรือผอม สูงหรือเตี้ย เร่ืองเป็นสิวหรือกังวลเกี่ยวกับหน้าตาหรือส่วนท่ีไม่สวยเด็กอาจสร้างจิตนา
การถึงรูปร่างลักษณะที่ตนอยากเป็นจะสนใจการแตง่ ตัวเพ่ือให้เปน็ ที่ดึงดูดเพศตรงข้าม

เพราะวัยนี้มีการเจริญเติบโตทางด้านเพศเต็มที่แล้ว เร่ืองรูปร่างหน้าตาจึงเป็น
เรื่องสาคัญมากสาหรับเด็กวัยน้ี ในชั่วโมงสอนครูอาจให้อภิปรายถึงเรื่องการเสริมสร้างรูปร่างลักษณะ
ให้เป็นไปตามที่ต้องการบนทางท่ีเหมาะสมเช่นโดยการออกกาลังกาย การรับประทานอาหารท่ีดีมี
คุณประโยชน์ แนะนาเดก็ ผูห้ ญิงทส่ี งู ว่าไมค่ วรนัง่ หลงั โกง แนะนาการวางท่าทางมนอริ ิยาบถต่าง ๆ
เพอื่ ใหม้ บี ุคลิกภาพมส่ี ง่างาม เปน็ ต้น

8.1.4 จากการศึกษาของ คินซ่ี (Kinsey, 1948) พบว่าเพศชายจะมีความต้องการทาง
เพศสูงสุดในช่วงอายุ 16 และ 17 ปี เม่ือเด็กมีความต้องการทางเพศอย่างมากจึงหาโอกาสที่จะสนอง
ความต้องการนี่ส่วนมากจะใช้วิธีสาเร็จความใคร่ด้วยตนเอง ในสังคมไทยปัจจุบันอิทธิพลของสังคม
ตะวนั ตกมีมากข้นึ ทาใหเ้ ดก็ แสดงออกโดยการมเี พศสัมพันธ์ทางเพศก่อนแต่งงานบางคนก็แสดงออกใน
ด้านท่ีสังคมไม่ยอมรับเช่นรักร่วมเพศเป็นต้น หรืออาจแสดงออกโดยการอยากรู้อยากเห็นการทางาน
ของต่อมเพศมีการเปลี่ยนแปลงมักทาให้เกิดสิว ซึ่งจะป้องกันได้โดยคานึงถึงเรื่องอาหารและปรึกษา
แพทย์

8.2. ลกั ษณะทางสงั คม

8.2.1 พฤติกรรมท่ัว ๆ ไปของวัยรุ่นจะทาตามกลุ่มเพ่ือน บางคร้ังจึงเกิดความขัดแย้งว่า
จะทาตามกลุ่มเพือ่ นหรอื ทาตามผู้ใหญ่ เพราะการดาเนนิ ของสองกลุ่มนี้มีความแตกต่างกันจึงทาให้เกิด
ปัญหาช่องระหว่างวัย พ่อแม่บางคนไม่ยอมรับการกระทาของลูกจึงเกิดความ ขัดแย้งกันส่วนมากจะ
เปน็ เร่อื งเสอ้ื ผ้าการแต่งกาย เร่ืองผม เร่ืองการเที่ยวนอกบ้านกลางคืนความขัดแย้งระหว่างพ่อแม่และ
ลูกจะมีน้อยลงถ้าพ่อแม่ตระหนักว่าสังคมและการดาเนินชีวิตท่ีเปลี่ยนแปลงไปมีอิทธิพลต่อความ
ประพฤติของลกู ตนและพ่อแมส่ ามารถปรบั ทศั นคติเก่ยี วกับเรอ่ื งนี้ได้

เด็กวัยน้ีตอ้ งการอสิ ระ ผูใ้ หญ่ควรใชว้ ธิ ีเดินสายกลาง คอื ควบคมุ และผ่อนปรนบ้าง
แตอ่ ย่าทาอะไรใหเ้ ด็กรสู้ กึ ว่าถูกบังคับ ครูควรมีความใกล้ชิดกับนักเรียนจนทราบค่านิยมของกลุ่ม เพื่อ
สามารถเข้าใจและยอมรับเด็กได้ นอกจากน้ีครูจะส่งเสริมอิสรภาพแก่เด็กโดยสนับสนุนให้นักเรียน
ชว่ ยกนั วางกฎเกณฑ์ในชัน้ และให้เขารบั ผิดชอบปฏบิ ตั ิตามอย่างเคร่งครดั

8.2.2 เด็กระดับมัธยมศึกษาต้องการทาตามกลุ่ม เพราะมีความรู้สึกว่าได้มีส่วนร่วมใน
กลุ่มน้ัน วัยรุ่นมักจะแต่งตัวและทาอะไรคล้ายๆ เพื่อนเพราะไม่มีความมั่นใจในตนเองและต้องการ
พิสูจน์ให้เห็นว่าเขาเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม ครูควรสนับสนุนให้เด็กเป็นตัวของตัวเองโดยให้เด็กได้ทา
กิจกรรมที่เขาแสดงออกไดอ้ ย่างอิสระ เนน้ ความคดิ เห็นส่วนตัวของแต่ละคนจัดให้มีการอภิปรายแสดง
ความคิดเหน็ ในหอ้ งเรียน หรอื แสดงใหเ้ ห็นว่าครพู ร้อมทจี่ ะยอมรบั แม้เด็กจะตอบผิด

งานตามข้นั พัฒนาการ

23

ในด้านสงั คมนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษา ควรจะได้สิ่งตอ่ ไปน้ี

1. ไดร้ ับการยอมรบั จากเพศตรงขา้ ม

2. ยอมรับบทบาททางเพศของตน

3. มีทัศนคติใหม่ ๆ และลกั ษณะทเ่ี หมาะสมเก่ียวกบั บทบาททางเพศของตน

4. ร้หู น้าที่ของการเปน็ เพศชายและหญิงเปน็ อย่างดี

5. เตรียมตัวมีครอบครัว

8.3. ลักษณะทางอารมณ์

8.3.1 เด็กวัยนี้อาจมีอารมณ์เสียง่ายและมีอารมณ์ไม่ม่ันคง ส่วนหนึ่งเนื่องมาจากการ
เปล่ียนแปลงทางด้านร่างกายกับการเปล่ียนแปลงทางเพศและอีกส่วนหน่ึง เนื่องจากมีความสับสนไม่
แนใ่ จเกย่ี วกับตนเองว่าตนคือใคร มจี ุดมงุ่ หมายอยา่ งไรในชวี ติ เป็นเด็กหรือผู้ใหญ่กันแน่ ส่ิงหนึ่งท่ีครูทา
ได้คือปกครองด้วยความคงเส้นคงวา ปฏิบัติต่อเด็กดังเช่นเขาเป็นผู้ใหญ่ท่ีมีความรับผิดชอบ แสดง
อาการยอมรับและใหเ้ กียรติ

8.3.2 วยั ร่นุ มแี นวโนม้ ท่จี ะใจแคบและยึดความคดิ เหน็ ของตนเอง ทั้ ง นี้ อ า จ เ ป็ น
เพราะความไม่มั่นใจในตนเอและไม่มีประสบการณ์ เด็กจะคิดว่ามีคาตอบท่ีสมบูรณ์ และเขารู้คาตอบ
น้ันถ้ามีการอภิปรายในช้ันครูควรเน้นให้เห็นว่าการนาเอาความคิดเห็นของคนอ่ืนมาพิจารณาเป็นสิ่ง
สาคัญซึ่งอาจนาปรับปรุงความคิดเห็นของตนเองได้ ครูจะต้องระวังเด็กที่ยึดความคิดเห็นของตนเอง
เปน็ ใหญซ่ ึง่ มกั จะขม่ ขูเ่ พอ่ื นร่วมช้ันทาให้ไม่มีใครกล้าท่ีจะค้านความคิดของเขา ครูควรอธิบายให้เด็กท่ี
ยึดถือความคิดเห็นของตนเองเป็นใหญ่ทราบว่าการยอมรับเป็นใหญ่ทราบการยอมรับให้คนอื่นแสดง
ความคดิ เห็นไมไ่ ด้หมายถงึ การยอมแพ้

8.3.3 ในวัยนี้ซ่ึงกาลังสับสนไม่แน่ใจตนเองอยากรู้จักตนเองและมีความพยายามอยากมี
อิสระ ทาให้เกิดความรู้สึกสับสนกังวลและมีอารมณ์โกรธอาจแสดงออกโดยการใช้ยาเสพติดหรือด่ืม
เหลา้ หรือไมย่ อมรบั ค่านยิ มของสังคม วธิ ีที่จะทาใหว้ ยั ร่นุ ร้จู ักตนเองคอื ควรจะให้วัยรุ่นเข้าใจถึงบทบาท
ของเพศชายและเพศหญิงในสังคมโดยให้เขาได้อภิปรายกันเกี่ยวกับเร่ืองน้ีแ ละทาทุกอย่างเท่าท่ีจะทา
ได้เพื่อให้วัยรุ่นมีการเตรียมตัวและคิดเกี่ยวกับอาชีพสาหรับเด็กที่ต้องการอิสระและถูกผู้ใหญ่ขัดขวาง
ทาให้เด็กโกรธและไม่ชอบผู้ใหญ่ครูจะช่วยโดยให้อภิปราบและเขียนแสดงความรู้สึกที่ไม่พอใจ
ขณะเดียวกันครูจะต้องช้ีแจงให้เด็กเข้าใจถึงการควบคุมตนเอง เพราะการอยู่ร่วมกันในสังคมต้อง
คานึงถึงเสรภี าพของผ้อู ่นื ด้วย

งานตามขนั้ ตอนพัฒนาการ

เด็กวัยน้ีควรได้รบั ความอสิ ระจากพอ่ แมแ่ ละผู้ใหญ่

8.4. ลกั ษณะทางสติปัญญา

24

8.4.1 เดก็ ระดับมีความสามารถคิดอย่างเป็นระเบียบแบบแผนและเป็นนามธรรมได้มาก
ขึ้นทีละน้อย แต่ยังไม่สามารถนาความคิดนี้ไปใช้ได้เสมอ เด็กมัธยมศึกษาตอนต้นเร่ิมคิดโดยการเดา
หรือคาดคะเนสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นและหาวิธีแก้ปัญหาโดยวิธีลองถูกลองผิดส่วนเด็กมัธยมศึกษาตอน
ปลายนั้นเร่ิมคิดโดยการต้ังสมมติฐานหรือคาดคะเนส่ิงท่ีเกิดขึ้น ต่อมาจึงทดสอบสมมติฐานหรือสิ่งที่
คาดไวต้ อนแรกอยา่ งมีระบบคือใช้วิธกี ารสังเกต บางทีก็จดบันทึกผลที่ได้จากการทดสอบท่ีแตกต่างกัน

และหาข้อสรุปอย่างมีเหตุผลในตอนสุดท้ายเด็กวัยนี้สมารถปรับตัวให้เข้ากับการ
เปลี่ยนแปลงและประสบการณใ์ หม่ ๆ ได้ ถึงแมว้ ่าเด็กระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายจะมคี วามรู้มากและ
สามารถมคี วามคดิ อย่างมรี ะเบยี บแบบแผน เด็กกอ็ าจนาความรู้และความคิดเหล่านี้ไปใช้ไม่ได้เสมอไป
เน่ืองจากขาดประสบการณ์ในการสอนทักษะการแก้ปัญหา ครูจึงควรหาโอกาสที่จะให้เด็กนาส่ิงที่คิด
ไปใช้ให้มากทส่ี ุด

งานตามข้นั พัฒนาการ

1. เด็กวัยนี้ควรเรียนรู้ในการยอมรับความสามารถและสติปัญญาความเฉลียวฉลาดของ
ตนเอง

2. เลอื กและเตรยี มตวั สาหรบั อาชีพ

3. พัฒนาการทักษะทางปัญญาและความเขา้ ใจเก่ียวกับการเปน็ พลเมืองดี

4. ยึดถอื ค่านยิ มหรอื จริยธรรมอันใดอันหนง่ึ เพ่อื เปน็ แนวทางในการดาเนนิ ชวี ติ

8.5. แนวคดิ เก่ยี วกบั การพัฒนาการในระดับมัธยมศึกษา

8.5.1 เพียเจทแ์ ละบรุนเนอร์มีความเชื่อว่าเดก็ วยั น้ีคิดและเข้าใจสิ่งที่เป็นนามธรรมได้ทุก
เรอ่ื งคดิ ไว้อยา่ งมเี หตุผลและยิง่ อายมุ ากข้นึ ก็สามารถคิดแก้ปญั หาต่าง ๆ ได้ละเอียดถ่ีถ้วนและคิดในสิ่ง
ที่เป็นนามธรรมได้กว้างขวางข้ึนครูจะทราบความคิดของเด็กโดยการกระตุ้นให้อภิ ปรายแสดงความ
คิดเห็นอย่างอิสระและให้เขียนรายงานโดยไม่มีคะแนน และครูจะส่งเสริมความคิดเด็กโดยสอนให้
แกป้ ัญหาและค้นหาความรู้ดว้ ยตนเองไมใ่ ชค่ รูป้อนให้

8.5.2 อิริคสันมีความเห็นว่าการรู้ว่าตนเองจะประกอบอาชีพอะไรมีความสาคัญยิ่ง เด็ก
ควรจะได้มกี ารเตรยี มตัวเพ่ือประกอบอาชพี คือควรจะได้เข้าใจถึงความสามารถ ความสนใจและความ
ต้องการของตนเองตลอดจนทราบถึงโอกาสที่เลือกประกอบอาชีพ สาหรับผู้ที่เข้าใจลักษณะดังกล่าว
แลว้ จะเลือกอาชีพไดง้ ่ายครูแนะแนวจะชว่ ยใหน้ กั เรียนรู้จกั และเขา้ ใจตนเองได้ดี

8.6 สรุป

เด็กแต่ละระดบั อายจุ ะมีลักษณะพัฒนาการแตกต่างกัน ในการสอนครูควรคานึงลักษณะ
ดังกล่าวเพ่ือจัดกิจกรรมและอุปกรณ์ได้เหมาะสมเด็กวัยก่อนเข้าเรียนยังเพ่งมองพยัญชนะหรือส่ิงของ
เล็กๆ ไมค่ อ่ ยไดค้ รูอนุบาลจงึ ควรคานึงถงึ ในการจัดกิจกรรมและบทเรียน การเล่นของวัยก่อนเข้าเรียน
ก็มีลักษณะแตกต่างกัน เช่น เด็ก 2 ขวบจะต่างคนต่างเล่นส่วนเด็กอายุ 5 ขวบจะชอบเล่นกับเพ่ือน ๆ

25

มากกวา่ มีการศึกษาวิจัยถึงวิธีพ่อแม่ใช้กับเด็กวัยก่อนเข้าเรียนเพ่ือให้เด็กมีความสามารถ ครูก็อาจนา
วิธนี ้มี าใชก้ ับเดก็ อนบุ าลได้ คือพยายามพดู คยุ ใกล้ชดิ กับเด็กบ่อย ๆ ให้เด็กมีโอกาสจับกระทาสิ่งต่าง ๆ
ให้เขาทาสง่ิ ต่าง ๆ อยา่ งอสิ ระ และช่ืนชมผลงานของเดก็

สรุปได้ว่า ลักษณะพัฒนาการของนักเรียนมัธยมศึกษาจะมีการพัฒนาเร่ิมตั้งแต่ด้านร่างกาย
ด้านสังคม ด้านอารมณ์ และด้านสังคม ซ่ึงจะเป็นวัยที่มีความสามารถคิดแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้มีความ
อิสรภาพ มีความสนใจในการเตรียมตัวเพ่ือประกอบอาชีพ และรวมไปถึงมีความต้องการของตนเอง
เพราะฉะน้ัน ในการสอนของครูน้ันจะต้องคานึงลักษณะดังกล่าวเหล่าน้ีไว้เพื่อจะช่วยเป็นแนวทางใน
การจดั การเรยี นการสอนของครูได้อย่างเหมาะสม

9.จติ วิทยาสาหรับครู

ทฤษฎี เร่ือง พัฒนาการและพฤติกรรมของ ระดับมัธยมศึกษา ช่วงอายุ 13-18 ปี มี
นักวิชาการ นักการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญ ได้อธิบาย และให้ความหมาย ดังท่ี ลักขณา สริวัฒน์
(2557:65-70)

9.1. ระดบั มัธยมศกึ ษา ชว่ งอายุ 13-18 ปี

เด็กระดับมัธยมศึกษาน้ีอยู่ในช่วงของวัยเร่ิมเข้าสู่วัยรุ่นและวัยรุ่น ที่ต่อมาจากวัยเด็กซ่ึง
ได้รับความรู้และทักษะต่าง ๆ ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีเป็นเนื้อหาด้านสามัญและวิชาชีพใน
เบ้ืองต้นมาแล้ว และต้องได้รับการจัดการเรียนรู้ต่อเน่ืองจากช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 จนถึงช้ัน
มัธยมศึกษาปีท่ี 6 น่ันคือใช้เวลาอย่างน้อยอีก 6 ปี จึงเรียนจบหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดย
ธรรมชาติแล้วเด็กท่ีอยู่ในวัยน้ีพัฒนาการทางจิตสังคมอยู่ในขั้นความมีเอกลักษณ์ -ความสับสนใน
บทบาท น่ันคือเขาจะพยายามค้นหาตัวเองเพ่ือเห็นภาพตัวเอง และกาหนดแนวชีวิตของตนเอง
บางครั้งอาจมีความสับสนในบทบาททางเพศ การเลือกอาชีพ สถานภาพ ความแตกต่างทางด้าน
เอกลักษณ์แหง่ ตนจะปรากฏขึ้นอยา่ งชัดเจนในวัยน้ี เดก็ จะมีพฒั นาการทางความรู้ความเข้าใจอยู่ในขั้น
นามธรรมและมีการทดสอบสมมติฐานได้ ครูจึงต้องตระหนักอยู่เสมอว่าเด็กในระดับมัธยมศึกษาน้ีใน
วั ย ย่ า ง เ ข้ า สู่ วั ย รุ่ น แ ล ะ วั ย รุ่ น ท่ี มีก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง มา ก ที่สุ ด ใน ช่ ว ง ชี วิ ต จ า กก า ร เ ป็ น ผู้ ให ญ่ ใน ชั้ น
ประถมศกึ ษาปีที่ 6 มาเป็นน้องระดับมัธยมศึกศึกษาชั้นปีท่ี 1 จึงเกิดความรู้สึกที่สับสนในบทบาทของ
ตัวเองในบางสถานการณ์ และจะเกิดความคับข้องใจ ผสมผสานกับความขัดแย้งในใจ เพ่ือนมีอิทธิพล
มากกว่าพ่อแม่ในช่วงเวลานี้ เพราะมีเวลาท่ีใกล้ชิดกัน เข้าใจกัน เห็นอกเห็นใจกัน ปรึกษาหารือกัน มี
ความเห็นท่ีเป็นไปในทางอันเดียวกัน การได้รับการยอมรับจากเพื่อนจึงสาคัญมาก เด็กท่ีมีปัญหาจะมี
ความรู้สึกขมขนื ใจและไม่ชอบโรงเรียน ดังน้ันจึงเป็นท่ีครูต้องให้ความเอาใจใส่กับเด็กวัยน้ีแต่ไม่เข้าไป
ยุ่งเสียทุกเรื่องโดยเฉพาะเร่ืองส่วนตัว เพียงคอยสังเกตดูอยู่ห่าง ๆ และเสนอตัวทันทีหากเด็กต้องการ
ความช่วยเหลือ ครูต้องเข้าใจว่าความสาเร็จด้านวุฒิภาวะทางเพศมีผลต่อการแสดงพฤติกรรมหลาย
ลกั ษณะ เช่น การให้ความสาคัญกับกล่มุ เพ่ือนมากข้ึน การให้ความสนใจในเรอื่ งอนาคตโดยมีเป้าหมาย
ภายหลังเรียนจบส่วนเด็กที่ไม่คิดเรียนต่อจะเร่ิมคานึงถึงความสามารถของตน นึกถึงคะแนนและการ

26

เรยี นเพื่อประกอบอาชีพใดอาชีพหน่ึงโดยเฉพาะ ในลาดับต่อไปในเป็นเน้ือหาสาระเก่ียวกับพัฒนาการ
และพฤตกิ รรมตา่ ง ๆ ประกอบด้วยพัฒนาการและพฤติกรรมด้านร่างกาย ด้านสติปัญญา ด้านอารมณ์
ดา้ นสงั คม และดา้ นจรยิ ธรรม ดงั รายละเอยี ดตอ่ ไปนี้

9.1.1. พัฒนาการและพฤติกรรมด้านร่างกาย เด็กช่วงเข้าวัยสู่วัยรุ่นมีลักษณะที่สาคัญ
ของการพฒั นาการและพฤติกรรมด้านรา่ งกายท่สี งั เกตเหน็ ได้อย่างชดั เจน ได้แก่

9.1.1.1 เด็กผู้หญิงเข้าสู่วัยรุ่นเร็วกว่าผู้ชาย เด็กชายบางคนเข้าสู่วัยรุ่นช้ากว่า
เด็กชายด้วยกัน เด็กในวัยนี้มักมีปัญหาทางด้านการปรับตัว บางครั้งด้วยเหตุผลท่ีไม่สามารถร่วม
กิจกรรมอื่น ๆ กับเพ่ือนได้ ครูจึงควรสนับสนุนให้ทากิจกรรมอื่นท่ีเขาทาได้เพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจ
เชน่ เป็นกรรมการหอ้ งเรียน เปน็ หวั หน้าชุมนมุ ท่ตี นถนดั หรอื ชว่ ยงานครู งานชุมนุม เป็นต้น ภายหลัง
จากนีอ้ ีก 3 ปี เด็กจะเจริญเตบิ โตเปน็ ผ้ใู หญ่โดยเฉพาะเด็กหญิงจะสูงเต็มที่แต่เด็กชายยังสูงต่อไปได้อีก
หลังจากระยะน้ี เด็กวยั นจ้ี ะมนี ้าหนักและส่วนสูงมากท่ีสุด

9.1.1.2 ลักษณะทางเพศปรากฏชัดในระยะนี้ ครูควรสอนเรื่องเพศศึกษา การ
ปฏิบัติตวั กบั เพื่อนต่างเพศในทางทถ่ี ูกตอ้ งเหมาะสม เชน่ การชีแ้ จง้ เร่ืองรอบเดือน การฝันเปียกเพ่ือจะ
ได้นาความรูค้ วามเขา้ ใจไปใช้ในการปฏิบตั ติ นใหไ้ ดใ้ นระดับดี ภายหลังจากน้ันอีก 3-4 ปี พัฒนาการไป
เป็นผู้ใหญ่เต็มที่จึงสนใจในร่างกายของตน และจะหมกมุ่นอยู่กับการแต่งตัว มักเกิดความรู้สึกตนเอง
ถูกจ้องมอง และผู้อ่ืนกาลังหัวเราะเยาะ ครูจึงต้องให้คาแนะนาท่ีดีและให้กาลังใจสนับสนุนให้ทางาน
สังคมให้มากขึ้น ได้กาหนดงานเบา ๆ ให้ทาหลังจากให้งานท่ีมีกิจกรรมหนักไปแล้ว เพื่อมีเวลาได้พัก
บ้างในเวลาการทางาน และเด็กวัยนี้จะเกิดความเบื่อหน่ายได้ง่าย จึงไม่ควรให้ทากิจกรรมท่ีจาเจ
ซา้ ซาก หรือใหเ้ ขาได้เตรียมเอง หรอื เลือกกจิ กรรมเอง เช่น กจิ กรรมการแขง่ ขันกนั จับคู่ระหว่างคาและ
ความหมายของภาษาไทย หรอื ภาษาองั กฤษบนกระดานระหว่างกลมุ่ ต่าง ๆ ผลัดเปลี่ยนระหว่างทักษะ
การฟัง พูด อา่ น และเขยี น เปน็ ต้น

9.1.1.3 เด็กมีลักษณะเก้งก้างเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย มีความ
วติ กกงั วลในการเปล่ยี นแปลงของตัวเองจงึ ดูขดั หูขัดตาไปหมด แต่จะพิถพี ถิ นั ในการแต่งกาย ครูจึงต้อง
ชแี้ จงให้เด็กทราบถงึ การแต่งกายให้ถูกต้องตามสถานการณ์และกาลเวลา และไม่ทุ่มเทกับการแต่งกาย
มากเกินไปจนเสียเงนิ โดยใชเ่ หตแุ ละทาใหเ้ สียการเรยี นไปดว้ ย

9.1.1.4 เด็กในระดับมัธยมตอนปลายเร่ิมมกี ารพฒั นาทางเพศ

ต่อมต่าง ๆ เจริญเติบโตเต็มท่ี ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงเต็มท่ี เด็กมักมีปัญหาเรื่องขาดสารอาหาร
เพราะพยายามรักษาทรวดทรงโดยเฉพาะผู้หญิง ครูจึงต้องให้ความรู้ให้คาแนะนาเรื่องโภชนาการ
อาหารท่ีถูกต้อง และพยายามให้เด็กไวใ้ จเพ่อื ยอมรับเข้ามารับคาปรึกษาอยา่ งใกล้ชดิ

9.1.1.5 เด็กท่ีมีสุขภาพดีแข็งแรงจะสมบูรณ์เต็มท่ี เน่ืองจากได้รับอาหารและการ
พักผอ่ นทเ่ี พยี งพอ ซ่ึงมักจะมีการสร้างนักกีฬาในเด็กที่อยู่ในช่วงวัยนี้ซึ่งเป็นช่วงที่แข็งแรงและให้กาลัง
วังชาดสี ุด

27

9.1.1.6 ครูควรให้เด็กทางานท่ีใช้พลังงานในช่วงเวลาว่าง เช่น งานบาเพ็ญ
ประโยชน์ในโรงเรียนหรือชุมชน อาจเป็นการทาความสะอาดบริเวณโรงเรียน วัด หรือสถานที่
สาธารณะ ทุกวนั เสาร์ หรืออาทิตย์ เพื่อเด็กมีโอกาสได้ใช้พลังงานท่ีมีมากมายน้ันได้ในทางที่เหมาะสม
แต่หากเขาไม่ได้รับการชี้แนะในทางที่ถูกที่ควร อาจใช้พลังงานดังกล่าวอย่างผิด ๆ เช่น การยกพวกตี
กัน การไล่ฟัน ไล่ยิงกัน ดังที่เห็นเป็นข่าวตามส่ือท้ังหลายที่เกิดเกือบทุกวัน พฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์
เหล่าน้เี กดิ ขึ้นทง้ั เพศหญงิ และเพศชาย ดังนน้ั พอ่ แม่ ครู และชุมชน จึงต้องร่วมมือกันให้การดูแลเอาใจ
ใสอ่ บรมส่ังสอนให้มากข้ึน ไม่ควรปล่อยให้ฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงรับผิดชอบเพียงฝ่ายเดียว เพราะยุคปัจจุบัน
เป็นยุคแห่งการสื่อสารท่ีมีการติดต่อได้ในเวลารวดเร็ว ดังนั้นพฤติกรรมของเด็กนักเรียนจึงควรอยู่ใน
สายตาของผทู้ ี่เก่ียวข้องทกุ ฝ่ายเพ่ือป้องกนั ไมใ่ ห้เกิดความเสือ่ มเสยี ไปมากกวา่ น้ี

สรปุ พฒั นาการและพฤติกรรมด้านร่างกายนั้นครูจะต้องเน้นให้เด็กเข้าใจในลักษณะทางกายท่ี
เปล่ียนแปลงไปของตนเอง และฝึกให้ออกกาลังกายใช้พลังงานให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและสังคม รู้
หลกั การแหง่ การโภชนาการ รับ ประทานอาหารทีเ่ ปน็ ประโยชนต์ ่อร่างกายเพ่ือให้แข็งแรง ใช้เวลาว่าง
ด้วยการบาเพ็ญประโยชนแกค่ รอบครวั โรงเรยี น ชมุ ชน และสังคม

9.2. พฒั นาการและพฤติกรรมด้านสติปัญญา เด็กระดับมัธยมศึกษาเป็นวัยท่ีมีพัฒนาการทาง
สติปัญญาข้ันการคิดแบบเหตุผลเชิงนามธรรม เด็กจะมีความสามารถคิดแก้ปัญหาหรือสรุปเหตุผล
อย่างเป็นระบบ สามารถสรุปเหตุผลได้ถึงแม้ว่าข้อมูลท่ีมีอยู่จะไม่ครบ สามารถคิดความเป็นไปได้ของ
เหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ หรือสามารถต้ังสมมติฐานและสรุปกฎเกณฑ์จาการตรวจสอบสมมติฐานที่กาหนดขึ้น
ลักษณะสาคัญของเด็กข้นั การคิดแบบเหตผุ ลเชิงจริยธรรม 3 ประการ ได้แก่

9.2.1 สามารถคิดหาเหตุผลแบบอนุมานเชิงสมมติ การคิดเหตุผลโดยวิธีนี้เป็นการสรุป
เหตุผลจากหลักการทั่วไปสู่เหตุการณ์เฉพาะโดยใช้ข้อมูลท่ีสมมติขึ้น เช่น ถ้าลูกสูงกว่าพ่อและพ่อสูง
กว่าแม่ จึงอนุมานได้ว่าลูกสูงกว่าแม่ ซ่ึงในความเป็นจริงแล้วเด็กในขั้นคิดแบบเหตุผลเชิงรูปธรรมก็
สามารถคดิ เหตุผลแบบอนมุ านได้ แตก่ ารคิดของเขาจะจากัดเฉพาะเหตุการณ์หรือข้อมูลท่ีเขาคุ้นเคยที่
เป็นรูปธรรมเท่านั้น แต่เด็กมีขั้นนี้การคิดแบบเหตุผลเชิงนามธรรมนี้จะสามารถคิดจากข้อมูลที่เป็น
นามธรรมได้

9.2.3 สามารถคิดหาเหตุผลจากประพจน์ เด็กมนขั้นน้ีจะไม่มีข้อจากัดในการคิดหา
เหตุผลจากข้อมูลที่เป็นนามธรรม เขาสามารถสรุปเหตุผลจากประพจน์ซึ่งอธิบายเหตุการณ์หรือสิ่งที่
เปน็ รปู ธรรม แมข้ ้อมูลน้นั จะเปน็ ประพจนท์ ่ีขดั แยง้ กับขอ้ เทจ็ จริงกต็ าม เชน่ ถ้าถามเด็กในขั้นน้ีว่า “ถ้า
เธอเป็นผู้จัดการธนาคารในขณะน้ีเธอจะเผชิญปัญหาอะไรบ้าง” ถ้าเป็นเด็กในข้ันการคิดแบบเหตุผล
เชิงรูปธรรมเขาจะตอบว่า “เขาไม่ได้เป็นผู้จัดการธนาคาร” และจะไม่คิดท่ีจะหาสมมติฐานที่อาจเกิด
ข้ึนกับเขาในตาแหน่งดังกล่าว ส่วนเด็กขั้นการคิดแบบเหตุผลเชิงนามธรรมจะไม่คานึงว่าประพจน์น้ัน
จรงิ หรอื ไม่ เขาสามารถคิดหาคาตอบอยา่ งมเี หตุผลจนได้ข้อสรปุ

9..2.4 สามารถคิดหาเหตุผลแบบอุปมานเชิงวิทยาศาสตร์ การคิดแบบเหตุผลแบบ
อปุ มานเชงิ วิทยาศาสตร์ เปน็ วธิ ีการสรุปกฎเกณฑ์หรือหลักการจากปรากฏการณ์จากข้อเท็จจริงเฉพาะ

28

ไปสู่กฎทั่วไป วิธีน้ีนักวิทยาศาสตร์มักจะใช้ในการสรุปกฎเกณฑ์หรือหลักการจากปรากฏการณ์เฉพาะ
เขาที่ได้สังเกต และคุณลักษณะสาคัญของการคิดแบบน้ีอีกประการหนึ่งก็คือ ความสามารถท่ีจะ
เก่ียวกับผลของตัวแปรต่าง ๆ ได้คร้ังละหลาย ๆ ตัวแปร เขาสามารถพิจารณาผลของตัวแปรตัวหนึ่ง
โดยควบคุมตวั แปรอืน่ ๆ ใหค้ งท่กี ่อนทจ่ี ะสรปุ ด้วยวิธีอปุ มาน ซ่งึ ความสามารถเช่นนี้จะไม่ปรากฏในขั้น
การคิดแปบเหตุผลเชิงรปู ธรรม

แนวทางการสง่ เสริมพฒั นาการทางสติปญั ญาของเด็กระดบั มัธยมศกึ ษา ดงั น้ี

1. เด็กระดับนี้เข้าใจเนื้อหาท่ีเป็นนามธรรมได้จึงเข้าใจหลักศีลธรรมจรรยามากข้ึน แต่มี
บางอย่างท่ียากเกินไปท่ีจะเข้าใจได้เข่นกัน ดังน้ันจึงไม่ควรแสดงออกอาการเบ่ือหน่ายหรือเพิกเฉยแต่
ต้องใหค้ วามสนใจเด็ก และค่อยให้คาปรกึ ษาชว่ ยเหลอื ตลอดเวลาถา้ เด็กตอ้ งการ

2. ช่วงความสนใจของเดก็ วยั นมี้ มี ากขนึ้ แตก่ อ็ ดฝันกลางวันไม่ได้เพื่อทดแทนส่ิงท่ีขาดไป
และโอกาสการคิดเพ้อฝันมีน้อยลง ครูจึงควรให้การบ้านที่กระตุ้นจินตนาการ ท้าทายให้ใช้ความคิด
สร้างสรรคใ์ หเ้ กมปรศิ นาแทนแบบฝึกหัดท่ีน่าเบอ่ื หรอื ทากิจกรรมใหด้ ูสนุก เช่น ถ้าข้าพเจ้าเกิดใหม่จะ
เลือกเกิดเป็นสัตว์อะไร เพราะเหตุใด หรือาชีพที่ข้าพเจ้าและอยากทามากที่สุดเม่ือเรียนจบโดยการ
อธิบายการไดไ้ ปส่คู วามฝนั ของตน

3. เด็กจะคานึงถึงปรัชญา ความเป็นไปได้ของชีวิต เร่ิมมีอุดมการณ์ในเร่ืองศาสนา
การเมือง จรรยาบรรณต่าง ๆ แต่ยังคงเป็นเร่ืองที่เด็กยังไม่ค่อยเข้าใจ ครูจึงต้องอภิปรายเก่ียวกับส่ิง
ตา่ ง ๆ ทเ่ี กี่ยวข้องกบั ชวี ติ ของคนในดา้ นจรรยาบรรณ ศาสนา และการเมือง

4. ครูจัดวิทยากรมาให้ความรู้ในเรื่องการเลือกอาชีพและการเตรียมการไปสู่อาชีพ การ
เป็นพลเมืองดี เร่ืองต่าง ๆ ที่อาจเก่ียวกับข้องกับพวกเขาในอนาคต การยึดถือค่านิยมเชียงใหม่ และ
คุณธรรมสาหรับใชเ้ ปน็ หลกั ในการแสดงออกของพฤตกิ รรมที่เหมาะสม

สรุปพฤติกรรมและพัฒนาการสติปัญญาของเด็กระดับมัธยมศึกษาอยู่ในการคิดแบบเหตุผล
เชิงนามธรรม คือเด็กจะมีความสามารถคิดแก้ปัญหาหรือสรุปเหตุผลอย่างเป็นระบบสามารถสรุป
เหตผุ ลนอกเหนือจากขอ้ มลู ท่ีมอี ยู่ สามารถเขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหว่างเหตุผลและผลตามตรรกศาสตร์
และสามารถคิดสมมติฐานหรือความเป็นไปได้ของเหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างสมเหตุสมผล และสรุป
กฎเกณฑ์จากการตรวจสอบสมมติฐานท่ีกาหนดข้ึนด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ความเข้าใจเกี่ยวกับ
ลักษณะสาคัญของแต่ละข้ัน พัฒนาการทางปัญญาดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ต่อครูและนักการศึกษาที่
จะนาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้และพัฒนาการเรียนการสอนรวมถึงหลักสูตรให้สอดคล้องกับระดับ
พัฒนาการของผูเ้ รยี นแตล่ ะคน

9.1.3. พฤตกิ รรมและพฒั นาการของอารมณ์

เดก็ ระดบั มธั ยมนมี้ รพัฒนาการและพฤตกิ รรมด้านอารมณ์ในลักษณะต่าง ๆ ดังน้ี

29

9.1.3.1 เด็กอาจแสดงออกในลักษณะของความแข็งกร้าว เนื่องจากการ
เปลี่ยนแปลงจากวัยเด็กเข้าสู่ผู้ใหญ่ ครูจึงต้องเข้าใจพฤติกรรมของเด็กและส่งเสริมให้ได้พิสูจน์ความ
เป็นใหญ่ด้วยการทากิจกรรมใด ๆ ท่ีใช้ความสามารถ และทักษะความรู้ความสามารถของเขาได้อย่าง
เต็มที่

9.1.3.2 เดก็ มักจะค่อนขา้ งควบคุมอารมณต์ นเองไมค่ อ่ ยได้ มอี ารมณ์แปรปรวนไม่
แนน่ อนอันเนอ่ื งมาจากการเปลยี่ นแปลงทางร่างกาย มีการเปล่ียนแปลงอารมณ์ทางเพศ การสับสนใน
บทบาทของตัวเองว่าตนคือเด็กหรือผู้ใหญ่กันแน่ ครูจึงควรปฏิบัติต่อเด็กเช่นเดียวกันกันถึงการ
รบั ผดิ ชอบ แสดงการยอมรบั และให้เกียรตอิ ยา่ งคงเส้นคงวา มีการปฏบิ ัติตอ่ เขาอย่างสม่าเสมอ

9.1.3.3 เด็กชอบส่งเสียงอึกทึก เพื่อปกปิดขาดความมั่นใจในตัวเอง ครูจึงต้อง
ช่วยเหลือโดยให้ทางานที่แข่งกับตัวเอง จากงานง่าย ๆ ไม่ยุ่งยากซับซ้อนซ่ึงคาดว่าสาเร็จแน่นอนและ
หากสาเร็จตามคาดเด็กจะขาดความมั่นใจในตนเองในระดับหนึ่ง เมื่อมีความมั่นใจในการทางานย่อม
เป็นพลงั และกาลังใจผลักดันใหม้ แี รงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ทาให้ตั้งใจและใช้ความสามารถอย่างเต็มท่ีเพ่ือให้
งานนน้ั สาเร็จและในท่ีสดุ ก็เป็นคนทมี่ ีความมัน่ ใจไดอ้ ย่างถาวร

9.1.3.4 เด็กวัยน้ีมีอิสระมาก มักมีปัญหาที่ขัดแย้งกับพ่อแม่เสมอ อยู่ในช่วงแห่ง
กรสบั สน พยายามหนีให้พ้นจากการปกครองและการเลี้ยงดูของพ่อแม่ จึงเกิดช่องว่างระหว่างวัยมาก
ข้ึน ครูจึงต้องเข้าใจและแสดงความเห็นอกเห็นใจ ใกล้ชิดกับเด็กให้มากเพื่อเขาไว้ใจและยอมรับขอ
คาปรึกษาหรอื รบั คาปรกึ ษาได้เสมอ

9.1.3.5 เด็กชอบเพ้อฝัน โดยเฉพาะเรื่องเกี่ยวกับอนาคต มักฝันว่าได้รับ
ความสาเร็จในอนาคต ในการงานอาชีพการงาน ครูจึงควรระวังและส่งเสริมให้เด็กยอมรับความจริงท่ี
บางอย่างอาจจะเป็นเร่ืองที่เขาผิดหวังในอนาคตก็ได้ โดยเฉพาะเด็กที่เพ้อฝันเก่งแต่ไม่ค่อยมี
ความสามารถ

9.1.3.6 การแสดงอารมณ์โกรธของเด็กวัยน้ีเป็นเรื่องธรรมดา เพราะความเครียด
ทางจิต การไม่สมดลุ กันของกาย ใจ และสงั คม ซึ่งจะทาให้เกิดความเบ่ือหน่าย เพลีย หรืออาจใช้กาลัง
มากเกินไป การอดอาหาร หรือนอนไม่พอก็ทาให้เกิดปัญหาดังกล่าวได้เช่นกันเดียวกัน ครูควรลดการ
แสดงอารมณ์โกรธโดยการสัมผัสเบา ๆ เปลี่ยนเร่ืองพูด หรือหากิจกรรมใหม่ ๆ ทา แต่ถ้ามีอาการ
เรอ้ื รังตอ้ งปรกึ ษาครูแนะแนว หรือนักจิตวิทยา

9.1.3.7 เด็กมักจะใจแคบยึดตนเองเป็นหลัก เนื่องจากการชาดความม่ันใจจึงคิด
ว่ามีคาตอบทสี่ มบูรณแ์ ละเขากร็ ้คู าตอบนนั้ ดว้ ย ครูจึงต้องเน้นให้เด็กเห็นความสาคัญของความคิดเห็น
ของคนอ่ืน ไม่ให้ยึดแต่ความคิดเห็นของตนเอง เด็กบางคนอาจมีการข่มขู่เพ่ือนทาให้ไม่มีใครกล้าค้าน
ความคิดของเขา

9.1.3.8 เด็กเริ่มมองครูและผู้ใหญ่ตามความเป็นจริง โดยเร่ิมรู้ว่าผู้ใหญ่ก็ทาผิดได้
จึงมักแข็งขืนหรือต่อต้าน ครูท่ีสอนเด็กวัยนี้มักจะถูกแกล้งบ่อย ๆ หากพบจุดอ่อนของครู เด็กอยาก

30

เป็นตัวของตัวเอง อยากมีอิสระแต่ก็ถูกขัดขวางจากผู้ใหญ่จึงทาให้รู้สึกเป็นปรปักษ์ ครูสามารถลด
ช่องว่างระหว่างวัยน้ีได้โดยให้เด็กอภิปรายและเขียนระบายความรู้สึกท่ีไม่พอใจ ฝึกให้รู้จักควบคุม
ตนเองเมื่ออยรู่ ่วมกับผ้อู ืน่

สรปุ พฒั นาการและพฤติกรรมด้านอารมณ์ของเด็กช่วงวัยก่อนเข้าวัยรุ่นและวัยรุ่นน้ันค่อนข้าง
อ่อนไหวง่าย มักจะควบคุมอารมณ์ตนเองไม่ค่อยได้เพราะร่างกายเกิดความเปลี่ยนแปลงจากเด็กสู่
ความเป็นผู้ใหญ่ และเกิดมีฮอร์โมนเพศทาให้มีการเปลี่ยนแปลงท้ังรูปร่างและความรู้สึก ต้องการมี
อิสรภาพจงึ ไม่ชอบถูกบังคับ ครคู วรให้ทางานกลุ่มและงานเด่ยี วเปน็ รายบคุ คลดว้ ย

9.1.4 พัฒนาการและพฤติกรรมด้านสังคม เด็กระดับมัธยมศึกษานี้จะมีลักษณะทางจิต
สังคมในขั้นความมีเอกลักษณ์ ความสับสนในบทบาทตามแนวคิดทฤษฎีพัฒนาการทางบุคลิกภาพ
ของอิริคสัน คือจะพัฒนาภาวะเอกลักษณ์แห่งตนในด้านอาชีพ บทบาททางเพศ การเมืองศาสนา
หรอื ไม่กเ็ กิดความรสู้ ึกสบั สนในบทบาทและภาวะความเป็นคน ผ้ทู ม่ี อี ิทธพิ ลตอ่ พัฒนาการทางสังคมคือ
กลุ่มเพ่ือน และแนวทางในการสนับสนุนกิจกรรมเพื่อพัฒนาการและพฤติกรรมด้านสังคมดัง
รายละเอียดต่อไปน้ี

9.1.4.1 เด็กมักจะทาตามข้อตกลงต่าง ๆ ดังกล่าวมักจะขัดแย้งกับผู้ใหญ่เสมอ
และเด็กวัยน้ีต้องการอิสระ ครูจึงต้องใช้วิธีการท่ีไม่รู้สึกว่าถูกบังคับเช่น ให้เด็กช่วยกันวางกฎและ
ระเบียบของชั้นเรียนแล้วสรุปเปน็ แนวปฏิบตั ขิ องทุกคน

9.1.4.2 เด็กจะขาดความม่ันใจจึงมักทาอะไรคล้าย ๆ กันกับกลุ่มเพื่อนเพ่ือ
ต้องการการยอมรับ เช่น การแต่งกาย การใช้ของใช้ต่าง ๆ การมีพฤติกรรมท่ีแปลก ครูต้องพยายาม
สนับสนุนให้เด็กเป็นตัวของตัวเอง โดยยึดม่ันในความถูกต้อง ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ต้องปฏิบัติ
ตามอย่างเคร่งครดั ชี้ให้เห็นถึงประโยชน์ในการมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์และโทษของการมีพฤติกรรม
ที่ไม่พึงประสงค์ กระตุ้นให้แสดงออกทุกด้านที่เห็นว่าดีและมีประโยชน์ต่อตนเองและผู้อ่ืน ครูต้องให้
กาลังใจแกเ่ ดก็ และเปิดโอกาสให้ได้แสดงความคิดเหน็ ได้โดยไม่มีการตีกรอบ

9.1.4.3 เด็กจะสนใจในเพศตรงกันข้าม เริ่มคิดถึงการมีนัดพบกัน คนรัก และมี
การแต่งงานโดยการคบเพ่ือนจานวนมาก ใครที่มเี พ่ือนมากมักเปน็ ทรี่ ักของสงั คม

9.1.4.4 เดก็ หญงิ มกี ารพัฒนามติ ิดา้ นสงั คมเร็วกวา่ เดก็ ชายในวัยเดียวกัน เริ่มมีนัด
กับเดก็ ท่โี ตกว่า เด็กหญงิ จะมีเพือ่ นไม่ก่คี น แตเ่ ดก็ ชายจะเพื่อนจานวนมาก

สรุปพัฒนาการและพฤติกรรมด้านสังคมของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา อยู่ในขั้น
ความมเี อกลกั ษณ์ ความสับสนในบทบาทของตน เพ่ือนมีความสาคัญสาหรับตัวเด็กเองมากกว่าพ่อแม่
มี เร่ืองตา่ ง ๆ ทเ่ี ด็กไมต่ ้องการให้พ่อแม่รู้ โดยเฉพาะเรื่องเก่ียวกับการคบเพื่อนต่างเพศ เด็กหญิงจะโต
เรว็ และเปน็ สาวเรว็ กวา่ ชาย พอ่ แมแ่ ละครูจงึ ไมค่ วรห้ามแตใ่ ห้เด็กคบกนั โดยอยู่ในสายตาของผู้ใหญ่

9.1.5 พัฒนาการและพฤติกรรมดา้ นจริยธรรม เด็กระดับมัธยมศึกษาจะมีพฤติกรรมและ
พัฒนาการทางจริยธรรมในระดับตามกฎเกณฑ์สังคม สาหรับเด็กระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจะมี

31

พฒั นาการทางจรยิ ธรรมในขนั้ ความคาดหวังทางสังคม ความสัมพันธ์ และการคล้อยตามกัน ซ่ึงเด็กจะ
ดาเนนิ ชวี ติ และบทบาทตามความคาดหวงั ของผใู้ กล้ชติ ตนเอง หรือตามทีผ่ คู้ นทั่วไปคาดหวังในบทบาท
ของปัจเจกบุคคล เช่น การเป็นลูก พี่น้อง เพื่อน เป็นต้น ในความเข้าใจของเด็กการเป็นคนดีคือการ
เป็นคนท่มี คี วามม่งุ หวงั ทด่ี ี มีการแสดงความห่วงใยผู้อ่ืน และเป็นการรักษาความสัมพันธ์ที่ดีซ่ึงกันและ
กัน เชน่ มคี วามไว้วางใจ ความจงรักภักดี การเคารพนับถือ และความกตัญญู การที่เด็กมีแนวคิดและ
พฤติกรรมดังกล่าวนั้นเพราะต้องการเป็นคนดีในทรรศนะของตนเองและผู้อื่น เพื่อรักษาน้าใจคนอ่ืน
เพื่อปฏิบัติต่อผู้อื่นเหมือนกับที่ต้องการให้ผู้อ่ืนตนเอง ส่วนเด็กระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจะมี
พัฒนาการทางจริยธรรมในข้ันระบบสังคมและมโนธรรม คือการปฏิบัติตามหน้าท่ีที่ได้รับหรือตกลงไว้
กบั ผู้อน่ื เพือ่ พยุงรักษาสถาบันโดยส่วนรวมให้ดาเนินไปได้ คิดว่ากฎเกณฑ์เป็นส่ิงท่ีต้องปฏิบัติตามเว้น
แตก่ รณีการปฏิบัติงานน้ันมีความขัดแย้งมากกับหน้าที่ทางสังคมอ่ืน ๆ ที่ได้กาหนดไว้ตายตัวแล้ว เพื่อ
หลีกเล่ียงการแตกแยกของระบบ นอกจากน้ีเด็กยังคิดว่าส่ิงที่ถูกต้องอีกประการหนึ่ง คือ การได้ทา
ประโยชนแ์ กส่ งั คม กลมุ่ คน หรอื สถาบัน เพื่อปฏิบัติตามพันธะท่ีตนเองเป็นผู้กาหนดด้วยจิตสานึกแห่ง
มโนธรรม แนวทางสง่ เสริมพฒั นาการและพฤตกิ รรมด้านจรยิ ธรรมเด็กระดบั มธั ยมศึกษาดงั ตอ่ ไปน้ี

9.1.5.1 ครูใช้กจิ กรรมกลุ่มในการแก้ปัญหาพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ เช่น
การเข้าหอ้ งเรียนชา้ หรอื ไม่ชว่ ยเพ่ือนทางานกลุ่ม โดยการให้สมาชิกกลุ่มช่วยกันพฤติกรรมกันเอง และ
ครูไม่ควรใช้วิธีการข่มขู่ ก้าวร้าว เพียงเพื่อให้เด็กฟัง เพราะนอกจากจะไม่ได้ผลแล้วจะทาให้เด็กมีเจต
คติไม่ดตี อ่ ครู

9.1.5.2 ให้เด็กรับผิดชอบงานร่วมกัน เช่น ให้ทาโครงงานวิทยาศาสตร์ หรือ
โครงงานภาษาไทยเปน็ การฝึกให้ใชค้ วามคดิ วเิ คราะห์ และความคิดสร้างสรรค์ โดยปกติเด็กมีศักยภาพ
ในการสร้างสรรค์งานโดยธรรมชาติอยู่แล้ว ดังน้ันหากได้รับมอบหมายให้สร้างผลงานจะพยายาม
ดาเนินการให้สาเร็จ เพราะเป็นโอกาสในการแสดงถึงความรู้ความสามารถของตน และเด็กต้องการ
การยอมรับในความสามารถของเขาดว้ ย

9.1.5.3 เด็กวัยนี้ไม่ชอบบังคับ และไม่ชอบถูกตาหนิต่อหน้าเพื่อน ๆ หรือผู้อื่น
เพราะเกิดความรู้สึกอับอาย ครูจึงควรเรียกมาพูดคุยด้วยเหตุด้วยผล และช้ีแนะให้เห็นถึงบาปบุญคุณ
โทษกิจกรรมท่ีควรให้เด็กฝึกปฏิบัติในทางที่ดีงาม ได้แก่ การฝึกสมาธิ การเข้าวัดปฏิบัติ หากได้ฝึก
ปฏิบตั ิอยา่ งสมา่ เสมอจะสามารถโน้มน้าวจติ ใจให้ออ่ นโยน มีเมตตา และรกั สงบ

9.1.5.4 โรงเรียนควรจัดกิจกรรมนอกหลักสูตรสาหรับเด็กวัยรุ่นเหล่าน้ี เพ่ือให้ได้
อยู่ใกล้ชิดกับครูและเพ่ือนในโรงเรียน การได้ร่วมกิจกรรมกลุ่มด้วยกันทาให้เกิดความรักสามัคคี
ความเห็นอกเห็นใจ ความเข้าใจ ความรักความผูกพันกัน และความห่วงใยกันและกัน เป็นการ
หลีกเล่ียงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ เช่น เล่นการพนัน เสพส่ิงเสพติด หรือเท่ียวสถานที่เริงรมย์ท่ีไม่
เหมาะสาหรับวยั เรียน เช่นน้ีกิจกรรมนอกหลักสูตร เช่น เข้าเป็นสมาชิกในชุมนุมใดชุมนุมหนึ่งและทา
กิจกรรมในชมุ ชนอยา่ งสม่าเสมอ หรือออกค่ายช่วยพัฒนาชุมชนในด้านต่าง ๆ ตามท่ีชุมชนต้องการ มี
การศึกษาความรู้นอกหลักสูตรในท้องถ่ินจากภูมิปัญญาชาวบ้าน ซึ่งได้แก่วิชาชีพในท้องถิ่นน้ัน ๆ เช่น
การปัน้ หมอ้ การทาน้าหมกั จากเศษอาหาร และการทานา้ หมกั จากผลไม้ เป็นต้น นอกจากจะให้เด็กได้

32

ใชเ้ วลาให้เป็นประโยชนแ์ ลว้ ยังเป็นการอนรักษ์อาชีพประจาท้องถิ่นและภูมิปัญญาท้องถิ่นไม่ให้สิ้นสูญ
หรอื หมดไปกับภูมิปัญญาชาวบ้านท่ลี ้มหายตายจากไปตามหลกั สจั ธรรม

สรปุ แลว้ พัฒนาการและพัฒนากรรมดา้ นจริยธรรมของเด็กระดับมัธยมศึกษานั้นมีความสาคัญ
ที่แสดงให้เห็นถึงพื้นฐานทางจิตใจท่ีประเสริฐของคนที่กาลังเติบโตไปเป็นผู้ใหญ่ท่ีมีคุณภาพของสังคม
และของประเทศชาติ ด้วยการมีคุณธรรมจริยธรรมในด้านต่าง ๆ ท่ีเป็นพื้นฐานอันได้แก่ ซื่อสัตย์ ขยัน
ประหยัด มีวินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี มีน้าใจ และมีจิตสาธารณะ ดังน้ันครูต้องให้เด็กได้รับการ
ฝึกฝนการทากิจกรรมท่ีสร้างเสริมให้เกิดคุณธรรมจริยธรรมพื้นฐานทั้งหมดทุกวันอย่างสม่าเสมอ
พฤติกรรมท่ีไม่พึ่งประสงค์ทั้งหลายก็จะหมดไป เมื่อเด็กเป็นคนดี มีคุณธรรมจริยธรรม ย่อมแสดงให้
เห็นถึงความมีคุณค่าและมีศักยภาพของคนที่สามารถพึ่งตนเองได้ เป็นที่พึ่งของครอบครัวและสังคม
ประเทศชาติต่อไป ประเทศชาติย่อมเจริญหากประชาชนเป็นคนดี มีความสามารถในการประกอบ
อาชีพการงาน และมคี วามสขุ

สรุปได้ว่า พัฒนาการและพฤติกรรมของนักเรียน ระดับมัธยมศึกษา ช่วงอายุ 13-18 ปี จะมี
ด้านร่างกาย ด้านสติปัญญา ด้านอารมณ์ ด้านสังคม และด้านจริยธรรม ท่ีครูจะต้องเน้นให้เด็กเข้าใจ
ในลักษณะทางกายท่ีมีการเปลี่ยนแปลงของตนเอง ความสามารถคิดแก้ปัญหาหรือสรุปเหตุผลอย่าง
เป็นระบบ เด็กวัยน้ีมักจะควบคุมอารมณ์ไม่ค่อยได้ ต้องการมีอิสรภาพจึงไม่ชอบถูกบังคับ จะมี
เอกลกั ษณ์ในบทบาทของตน ซึ่งจะเห็นไดว้ า่ ครูจะตอ้ งฝกึ ให้เดก็ มพี ้นื ฐานทางจิตใจท่ีประเสริฐของคนที่
กาลงั เติบโตเป็นผู้ใหญท่ ม่ี คี ุณภาพของสังคมและของประเทศชาติ

10.เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง

สมศักดิ์ ใจเท่ียง (2553) ได้ทาการศึกษาเรื่อง ศิลปะการวาดเส้น สาระเพิ่มเติม กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ศิลปะ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนยางฮอมวิทยาคม มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแบบฝึก
ทักษะทางศิลปะ เร่ือง ศิลปะการวาดเส้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียน และเพ่ือศึกษาระดับความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะ เรื่อง ศิลปะ
การวาดเส้น กลุ่มสาระการเรยี นรูศ้ ิลปะ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนยางฮอมวิทยาคม กลุ่มตัวอย่าง
คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 แผนกศิลป์ – ภาษา จานวน 16 คน เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บ
รวบรวมข้อมูลคร้ังนี้ ประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ เร่ือง ศิลปะการวาดเส้น แบบฝึกทักษะ
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน บททดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถามความพึง
พอใจของนักเรียนที่มตี อ่ การเรียนด้วยแบบฝึกทักษะ

ผลการวจิ ัย พบว่าโดยภาพรวมแบบฝึกทักษะมปี ระสทิ ธภิ าพ เท่ากบั 84.11/91.15 ผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียนของแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน และแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งคะแนนทดสอบหลัง
เรยี นสูงกวา่ คะแนนทดสอบก่อนเรยี น ผลการประเมลิ นกั เรยี นมคี วามพึงพอใจอยู่ในระดับมากทีส่ ุด

33

มาสเตอร์สายัณต์ พลเชียงสา (2555) ได้ทาการศึกษาเรื่องการเสริมแรงผู้เรียนให้ มีความรู้
อย่างแม่นยาในเรอื่ งทศั นศลิ ป์ และความสามารถในการสร้างสรรค์งานศิลปะ มีวัตถุประสงค์เพ่ือเพื่อ
พัฒนาการเรียน และความสามารถในการสร้างสรรค์งานศิลปะ ประชากรและกลุ่มตัวอย่างคือของ
นักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 ปี การศึกษา 2555 โรงเรียนอัสสัมชัญธนบรี เคร่ืองมือท่ี ใช้ ใน
การวิจยั ไดแ้ ก่ แผนการสอน ความรู้เบื้องต้นเกยี่ วกับงานทัศนศิลป์ แบบทดสอบ ใช้ทดสอบก่อน และ
หลังการปฏิบัติ กิจกรรมทัศนศิลป์ และการเสริมแรงโดยใช้ คาพูดที่ สุภาพ กระตุ้น ให้ กาลังใจ และ
เป็นกนั เอง

ผลการวจิ ัยพบว่า การใช้ คาพูดทสี่ ุภาพ เป็นกนั เองกบั ผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนรสู้ กึ เปน็ มิตรกล้าพูด กล้าทา
มคี วามต้องการทจ่ี ะเรยี นรู้ศิลปะบอ่ ยๆ

2. การพัฒนาการเรียนรู้ท่ีเริมจากง่ายไปหายาก ทาให้ผู้เรียนมี แรงจูงใจ และมี กาลังใจในการ
พฒั นาการสรา้ งสรรค์ผลงานศิลปะ ไดส้ วยงาม ลงตัว

3. การทาแบบทดสอบ และแบบฝึกปฏิบัติ กิจกรรมซา้ ชว่ ยให้ ผเู้ รียนเกดิ ความแม่นยาในการเรียนรู้ มี
ความคล่องแคล่วในการปฏบิ ัติ กจิ กรรม

4. การเสนอผลการทาแบบทดสอบ และแบบฝึกปฏิบัติ กิจกรรมทัศนศิลป์ ในแต่ละครั้ง ทาให้ เกิด
การพฒั นาอยา่ งตอ่ เน่ือง มกี ารปรบั ปรุงขอ้ บกพร่อง ทาให้ผู้เรียนเกิดความภูมิ ใจ ในผลงานของตนเอง

นภาพร ชัญญาสวัสดิ์ (2556 ) ได้ทาการศึกษาเรื่อง การพัฒนาชุดการสอนแบบอิง
ประสบการณ์ เร่ือง การวาดเส้นสาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ท่ีเน้นการฝึกปฏิบัติอย่างเป็น
ขนั้ ตอน มีวัตถุประสงค์เพ่ือ พัฒนาชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เรื่อง
การวาดเส้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนจักราช
วิทยา เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัย ได้แก่ ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ เร่ือง การวาดเส้น
แบบทดสอบก่อนและหลังเผชิญประสบการณ์แบบคู่ขนาน และแบบสอบถามความคิดเห็นของ
นักเรยี นทมี่ ตี อ่ ชดุ การสอนแบบองิ ประสบการณ์

ผลการวิจัยพบว่า ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ท่ีสร้างและพัฒนาขึ้นท้ัง 3 หน่วยประสบการณ์
เปน็ ไปตามเกณฑ์ 80/80 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรยี นหลงั เรียนสูงกว่าก่อนเรียน และนักเรียน
มคี วามคิดเหน็ ว่าชดุ การสอนแบบอิงประสบการณ์มีความเหมาะสมอยู่ในระดบั เหน็ ดว้ ยมาก

มิสพัชรินทร์ นุสพรรณ (2558 ) ได้ทาการศึกษาเร่ือง การพัฒนาทักษะกระบวนการด้าน
การแรเงาภาพหุ่นน่ิงด้วยเทคนิคแสงเงาโดยใช้ส่ือเสมือนจริงและการใช้ตัวอย่างภาพสาเร็จ ของ
นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม วัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนา
กระบวนการทางานด้านศิลปะโดยใช้ส่ือเสมือนจริงและตัวอย่างภาพสาเร็จและเพื่อสร้างเจตคติต่อ
ผลงานศลิ ปะของตนเอง ประชากร และกลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ท่ี 4 เคร่ืองมือใน

34

การเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบฝึกภาคปฏิบัติก่อนเรียน แบบฝึกภาคปฏิบัติหลังเรียน แบบทดสอบใบ
งาน

ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการวาดภาพแรเงาภาพด้วยดินสอ6Bโดยใช้เทคนิควิธีการสาธิตและ
การนาตัวอย่างสาเร็จมาของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 จาการทาใบงาน 5แผ่น มีการ
พัฒนาและคา่ เฉลีย่ โดยรวมสูงขึ้น

กิตติคุณ เย็นกล่าและ ดร.อภิชาติ พลประเสริฐ (2555) ได้ทาการศึกษาเรื่องผลของการสอน
วาดเส้นโดยใช้รูปแบบกิจกรรมของ เบ็ตตี เอ็ดเวิร์ดส์ ท่ีมีต่อความสามารถในการวาดเส้นแบบเหมือน
จริงของเด็กอายุ 15-17 ปี มวี ัตถปุ ระสงค์เพ่อื ศึกษาผลของการสอนวาดเส้นโดยใช้รูปแบบกิจกรรมของ
เบต็ ตี เอด็ เวิร์ดส์ ที่มีตอ่ ความสามารถในการวาดเส้นแบบเหมือนจริงของเด็กอายุ 15-17 ปี ประชากร
และกลุ่มตัวอย่างคือเด็กอายุ 15-17 ปี โรงเรียนนาด้วงวิทยา จังหวัดเลย จานวน 20 คนเคร่ืองมือใน
การเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบประเมินผลงานการวาดเส้น แบบทดสอบ
ความรคู้ วามเขา้ ใจในการวาดเส้นแบบเหมือนจริง และแบบสอบถามความคิดเห็น

ผลการวิจัยพบว่า เด็กอายุ 15-17 ปี ที่เรียนวาดเส้นโดยใช้รูปแบบกิจกรรมของ เบ็ตตี เอ็ดเวิร์ดส์ มี
ความสามารถในการวาดเส้นแบบเหมือนจริงหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน แบบทดสอบวัดความรู้ความ
เขา้ ใจในการวาดเสน้ แบบเหมอื นจริง สงู ข้นึ กว่าก่อนเรยี นอย่างชัดเจนความคิดเห็นของเด็กอายุ 15-17
ปี ทมี่ ตี ่อการสอนวาดเส้นโดยใช้รปู แบบกจิ กรรมของ เบ็ตตี เอด็ เวิร์ดส์ อยู่ในระดับทด่ี ี แสดงให้เห็นว่า
การสอนวาดเสน้ โดยใช้รูปแบบกิจกรรมของ เบ็ตตี เอ็ดเวิร์ดส์ ช่วยให้เด็กพัฒนาความสามารถครบท้ัง
3 ด้าน คือ ดา้ นทักษะพสิ ัย พุทธิพิสยั และจิตพิสัย โดยแต่ละด้านจะส่งผลตอ่ พฒั นาการด้านอ่นื ดว้ ย

35

บทที่ 3
วิธีการดาเนินวิจัย

การดาเนินการวิจัย เร่ือง การพฒั นาชุดฝกึ ทักษะการวาดเส้นหุ่นน่ิง นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปี
ที่ 1 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา มีแนวทางการดาเนินวจิ ัย อธิบายได้ดงั นี้

ประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ ง

ประชากร ได้แก่ นักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จงั หวดั พะเยา
กลมุ่ ตัวอย่างไดแ้ ก่ นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 จานวน 156 คน

การสมุ่ กลุ่มตัวอย่าง

สุ่มแบบเฉพาะเจาะจง

เครื่องมือในการวิจัย

เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ชุดฝึกทักษะการวาดเส้นหุ่นนิ่ง ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปี
ที่ 1 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จงั หวดั พะเยา และแบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรยี น

เคร่ืองมือท่ีใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ ส่ือการเรียนการสอนเรื่อง การวาดเส้นหุ่นนิ่ง สมุด
บนั ทกึ ปากา ดนิ สอ กล้องถา่ ยรูป กลอ้ งวดี ีโอ

โดยมขี นั้ ตอนการสร้างเครอื่ งมอื ดังน้ี
1.ศกึ ษาการวาดภาพหนุ่ นงิ่ และเอกสารทเี่ ก่ยี วขอ้ งเพื่อเป็นแนวทางในการทาวจิ ัย
2.นาเครื่องมือท่ีสร้างในการศึกษาทางานวิจัย มาให้กลุ่มตัวอย่างท่ีได้จากการสุ่มแบบ
เจาะจงมาทดสอบความร้แู ละความสามารถวธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมูล

36

วิธีการดาเนินการเก็บรวบรวมขอ้ มลู

1. ศกึ ษาหนังสอื เกี่ยวกบั วาดเส้นหุน่ นิง่
2. ศกึ ษาเอกสารและตาราที่เกี่ยวข้อง
3. ศกึ ษางานวิจัยที่เกย่ี วข้อง
4. สอบถามผ้เู ช่ียวชาญ
5. นาขอ้ มลู ทเี่ ก่ียวข้องมารวบรวม
6. นาขอ้ มลู ท่ไี ด้มาสรปุ
7. นาขอ้ มูลทส่ี รปุ ลงในวิจยั

การวิเคราะหข์ ้อมลู สถติ ทิ ใี่ ช้ และการอภปิ รายผล

นาคะแนนความรู้และคะแนนทักษะ มารวมกันแลว้ หาค่าร้อยละ และเปรียบเทียบกับ
เกณฑ์ผ่านร้อยละ 65.00 และนาเสนอข้อมูลในรูปแบบตารางประกอบการบรรยายให้ตาราง จากน้ัน
จึงนาเอาผลคะแนนทง้ั ก่อนเรียน และหลังเรยี นมาเปรียบเทยี บ

37

บทท่ี 4
ผลการดาเนินการวจิ ัย

การดาเนินการวิจัย เรื่อง การพัฒนาชุดฝึกทักษะการวาดเส้นหุ่นนิ่ง ของนักเรียนชั้น
มธั ยมศกึ ษาปีที 1 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๒๔ จงั หวัดพะเยา
โดยผู้วิจัยได้สร้างชุดฝึกทักษะ และนาไปทดลองใช้จากนั้นจึงทาการวิเคราะห์ข้อมูลตามขั้นตอน
อธิบายไดด้ งั นี้

การสรา้ งชุดฝกึ ทักษะ/แบบฝึกทกั ษะ เรอ่ื ง การพฒั นาชดุ ฝกึ ทักษะการวาดเสน้ หนุ่ นงิ่

1.สร้างแผนการจดั การเรียนรู้
โดยวิเคราะห์ถึงหลักการเกี่ยวกับการสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ โดยคานึงถึงเน้ือหา

และสาระสาคัญจากชุดฝึกทักษะ เรื่อง การพัฒนาชุดฝึกทักษะการวาดเส้นหุ่นนิ่ง แล้วจัดทาแผนการ
เรียนรู้จานวน 5 แผน โดยมีการกาหนดขอบเขตขององค์ประกอบดังนี้ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระ
การเรียนรู้ (เนื้อหา) กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ และการวัดผลประเมินผล (การวัดผล
ประเมินผลแบง่ เปน็ การวดั ผลด้านพุทธิพิสยั และการวัดผลดา้ นทกั ษะพิสัย) อธิบายไดด้ ังตาราง

ตารางท่ี 4.1 รายละเอยี ดเก่ยี วกบั แผนการจดั การเรียนรู้

แผนที่ สาระการเรยี นรู้ จุดประสงค์ กจิ กรรม การประเมนิ ผล
(เนอื้ หา) การเรยี นรู้

1 1.ความหมายของ 1.เพอ่ื นักเรียนมคี วามรู้ 1. ให้นกั เรียน วัดผลด้านพุทธพิ ิสัย

แสงเงา ความเขา้ ใจและสามารถ ระบายการไล่ระดบั (20 คะแนน)

2.ระยะของแสงเงา อธบิ ายความหมายของ แสงเงาในชอ่ งท่ี

3.วิธแี ละขัน้ ตอนการ แสงเงาได้ กาหนดให้อย่าง วัดผลด้านทกั ษะพสิ ัย

ไลแ่ สงเงา 2.เพอื่ นักเรียนสามารถ ครบถว้ นสมบรู ณ์ (4 คะแนน)

อธิบายระยะของแสงเงาได้

3.เพือ่ นักเรียนสามารถ

สรา้ งระยะแสงเงาได้

ถกู ต้องตามหลักการ

4.นักเรยี นมีความตั้งใจใน

การทางาน

38

ตารางที่ 4.1 รายละเอยี ดเกย่ี วกบั แผนการจัดการเรียนรู้ (ต่อ)

แผนท่ี สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์ กจิ กรรม การประเมินผล
(เนือ้ หา) การเรยี นรู้

2 1.ความหมายและ 1.เพ่ือนักเรียนมีความรู้ 1. ใหน้ กั เรียนทกุ วัดผลด้านทักษะพิสัย

ทม่ี าของการวาดเสน้ ความเขา้ ใจและสามารถ คนวาดรปู ทรง (4 คะแนน)

2.การวาดเสน้ อธบิ ายความหมายแลท่มี า เรขาคณติ พร้อม

เบ้อื งต้น ของการวาดเส้นได้ ระบายแสงเงา

3. ชนดิ ของเสน้ ต่างๆ 2.เพอ่ื นักเรยี นสามารถวาด

4.ข้นั ตอนวิธีการวาด เสน้ ได้ถูกต้องตามขนั้ ตอน

รูปทรงเรขาคณิต 3.เพ่ือนักเรียนสามารถ

สรา้ งรูปเรขาคณิตให้เป็น

มติ ไิ ด้

4.เพอื่ นักเรียนมีความต้งั ใจ

ในการทางาน

3 1.วิธีการขัน้ ตอนการ 1.นักเรยี นสามารถอธิบาย 1.ให้นักเรียนวาด วัดผลด้านทักษะพิสัย

วาดผลไม้ ขนั้ ตอนการวาดผลไม้ได้ ภาพหุ่นนง่ิ ท่คี รูต้ัง (4 คะแนน)

2.นักเรยี นสามารถวาด ไว้พรอ้ มระบายแสง

ผลไม้ได้ถกู ต้องตาม เงาให้สวยงาม

หลักการและสวยงาม

3.นกั เรยี นมคี วามตั้งใจใน

การทางาน

4 1.การจดั องค์ 1.เพื่อนักเรยี นสามารถ 1.ให้นกั เรียนวาด วัดผลด้านทักษะพิสัย

ประกอบของ อธิบายขนั้ ตอนการวาดหนุ่ ภาพห่นุ นิ่งทตี่ นเอง (4 คะแนน)

การวาดภาพ นิ่งจากวตั ถุท่ีกาหนดได้ หามาอยา่ งน้อย 3

2.ขนั้ ตอนการวาด 2.เพ่ือนักเรียนสามารถจดั ช้ิน

ภาพหุน่ นง่ิ องค์ประกอบภาพได้อย่าง

3.ข้นั ตอนวธิ กี ารแร เหมาะสม

เงา 3.เพ่ือนักเรียนสามารถ

สร้างแสงเงาได้อย่าง

ถกู ต้องสวยงาม

4.เพ่ือนักเรียนมคี วามสุข

ในการเรียน

5 1.การจดั 1.เพ่ือนักเรียนสามารถ 1.ให้นักเรยี นวาด วัดผลด้านทักษะพิสัย

องค์ประกอบของการ อธบิ ายขน้ั ตอนการวาดหนุ่ ภาพหนุ่ นงิ่ ทีค่ รูตั้ง (4 คะแนน)

วาดภาพ นง่ิ จากวตั ถุท่ีกาหนดได้ ไว้พรอ้ มระบายแสง

39

2.ขัน้ ตอนการวาด 2.เพ่อื นักเรยี นสามารถจดั เงาใหส้ วยงาม
ภาพหุ่นนง่ิ องค์ประกอบภาพได้อย่าง
3.ข้ันตอนวิธกี ารแร เหมาะสม
เงา 3.เพ่อื นักเรียนสามารถ
สร้างแสงเงาได้อย่าง
ถูกต้องสวยงาม
4.เพอื่ นักเรยี นมคี วามสุข
ในการเรนี

2.ชุดฝึกทกั ษะ มดี งั น้ี
ชดุ ฝกึ ทักษะ เรอื่ ง การวาดเส้นหุ่นนงิ่

2.1.แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1
2.2.แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 2
2.3.แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 3
2.4.แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 4
2.5.แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 5

3.สรา้ งแบบทดสอบกอ่ น-หลังเรยี น
การสร้างแบบทดสอบ ก่อน-หลังเรียน เรื่อง การวาดเส้นหุ่นนิ่ง แบ่งเป็น 2 ส่วน โดยผู้วิจัย

กาหนดให้นกั เรยี นมเี กณฑผ์ ่านร้อยละ 65.00 แบบทดสอบอธบิ ายได้
3.1การสร้างแบบทดสอบเพ่ือวัดผลด้านความรู้ของผู้เรียน (พุทธิพิสัย) จานวน 20 ข้อ 20

คะแนน เปน็ แบบเลือกตอบ
3.2การสร้างแบบทดสอบเพ่ือวัดผลด้านทักษะของผู้เรียน (ทักษะพิสัย) จานวน 5 ข้อ 20

คะแนน เพ่อื วดั ทกั ษะดา้ นความสวยงาม การจดั องค์ประกอบ และความคดิ สรา้ งสรรค์

4.นาชดุ ฝึกทกั ษะไปทดลองใช้
ผวู้ ิจัยไดน้ าชดุ ฝึกทกั ษะ เรื่อง การวาดเส้นหุ่นนง่ิ ไปทดลองใช้ในกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้น

มัธยมศึกษาปี1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา จานวน 156 คน เพ่ือหาผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนท้งั กอ่ นและหลงั การใช้สอื่ การสอน

ผลการใช้ชดุ ฝึกทักษะ/แบบฝึกทักษะ

จากการทดลองใช้แบบฝึกทักษะ เร่ือง การวาดเส้นหุ่นนิ่ง ในกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้น
มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 โดยมีการวัดผลทักษะ และความรู้กอ่ นเรยี นและหลังเรียน สรุปได้ดังนี้

นักเรียนมีคะแนนทักษะ เฉล่ียร้อยละ 73.28 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ร้อยละ 65.00
โดยมีนักเรยี นทผ่ี า่ นเกณฑ์ จานวน 156 คน และไม่ผา่ นเกณฑ์ จานวน 0 คน

คะแนนและค่าร้อยละของความรู้ของนักเรียนโดยใช้ชุดฝึกทักษะ เรื่อง การวาดเส้นหุ่นน่ิง
จากการวดั ผลก่อนเรยี น โดยเทยี บกบั เกณฑผ์ ่านร้อยละ 65.0

40

นักเรียนมีคะแนนความรู้และทักษะการทางาน เฉล่ียร้อยละ 39.28 ซึ่งต่ากว่าเกณฑ์ท่ี
กาหนดไว้ รอ้ ยละ 65.00 โดยมีนักเรยี นท่ีผา่ นเกณฑ์ จานวน 156 คน และไม่ผา่ นเกณฑ์ จานวน 0 คน

คะแนนและค่าร้อยละของความรู้ ของนักเรียนโดยใช้ชุดฝึกทักษะ เร่ือง การวาดเส้นหุ่นนิ่ง
จากการวดั ผลหลงั เรียน โดยเทยี บกบั เกณฑ์ผา่ นรอ้ ยละ 65.00

นกั เรยี นมีคะแนนความรู้และทักษะ เฉลี่ยร้อยละ 70.71 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ร้อยละ
65.00 โดยมนี กั เรียนทีผ่ า่ นเกณฑ์ จานวน 156 คน และไมผ่ ่านเกณฑ์ จานวน 0 คน

41

บทท่ี 5
สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

การศึกษาครั้งน้ีเป็นการใช้ชุดฝึกทักษะ เรื่อง การวาดเส้นหุ่นนิ่ง และนาไปทดลองใช้ในกลุ่ม
ตวั อยา่ ง คอื นักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปี 1 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๒๔ จงั หวัดพะเยา
จานวน 156 คน โดยมีเครื่องมือวิจัย คือ ชุดฝึกทักษะ และแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
จานวน 20 ข้อ จากน้ันจึงทาการวิเคราะห์ข้อมูลโดยนาคะแนนความรู้และคะแนนทักษะปฏิบัติมา
รวมกันแล้วหาคา่ ร้อยละ และนาไปเทียบเกณฑร์ ้อยละ 65.00 จากนัน้ จึงนาเสนอข้อมูลผลการวิจัยครั้ง
นี้สามารถสรุปผลไดด้ งั น้ี

สรุปผลการศึกษา

จากการสรา้ งชดุ ฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง การวาดเส้นหุ่นน่ิง เป็นการนาเสนอเน้ือหาการเรียนการสอน
เร่ืองการวาดเส้นหุ่นนิง่ เพอ่ื พัฒนาทกั ษะด้าน การวาดเสน้ ของผู้เรียน โดยผู้วิจัยได้พัฒนาชุดฝึกทักษะ
ที่ประกอบไปด้วยสื่อการเรียนการสอน ได้แก่ การนาเสนอเน้ือหาความรู้ และแนวทางการปฏิบัติ
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน หรือภาพถ่ายควบคู่ไปกับเนื้อหาเพื่อให้ผู้เรียนได้เข้าใจมากยิ่งข้ึน และ มีการ
สร้างแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน เพ่ือวัดผลการเรียนรู้ของผู้เรียนหลังจากการใช้ส่ือท่ีผู้สอน
สร้างขึน้ โดยแบบทดสอบจะวดั ผลด้านความรู้ของผ้เู รียน (พุทธิพิสัย) จานวน 20 ข้อ 20 คะแนน เป็น
แบบเลอื กตอบ และการสร้างแบบทดสอบเพ่ือวัดผลด้านทักษะของผู้เรียน (ทักษะพิสัย) จานวน 5 ข้อ
20 คะแนน จากน้ันนาไปทดลองใช้ในกลุ่มตัวอย่างซ่ึงเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที 1 โรงเรียนราช
ประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา จานวน 156 คน จากน้ันจึงนาไปวิเคราะห์และนาเสนอเป็นค่า
ร้อยละและเปรียบเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 65.00 ผลการวิจัยพบว่า ผลจากการใช้ชุดฝึกทักษะ เรื่อง
การวาดเส้นหุ่นน่ิง ส่งผลให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะการปฏิบัติงานศิลปะเพิ่มมากขึ้น โดยมีคะแนน
ทดสอบหลังเรียนเฉลี่ยร้อยละ 70.71 ซ่ึงสูงกว่าเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ และเม่ือเปรียบกับผลการทดสอบ
กอ่ นเรยี น โดยผลการทดสอบมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 39.28 จะเห็นได้ว่ามีผลการทดสอบหลังเรียน
ที่สูงกว่า ทาให้ทราบได้ว่า ประสิทธิภาพของส่ือที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นสามารถส่งผลให้ผู้เรียนมีผลการ
เรียนทดี่ ขี ึ้นอย่างเหน็ ได้ชดั

42

อภิปรายผล

จากการศึกษาคร้ังนี้เป็นการสร้างชุดฝึกทักษะ และนาไปทดลองใช้ จากนั้นจึงวัดผลเพ่ือหา
ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นทัง้ กอ่ นและหลงั เรยี น จากผลการศกึ ษาสามารถอภิปรายผลได้ดงั นี้

การใช้ชุดฝึกทักษะ เรื่อง การวาดเส้นหุ่นนิ่ง พบว่า นักเรียนมีความรู้และทักษะเฉล่ียร้อยละ
70.71 ซึง่ สูงกว่าเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้คือร้อยละ 65.00 เนื่องจากผู้วิจัยได้ใช้หลักการ ตัวชี้วัดและสาระ
การเรียนรู้แกนกลาง ตามหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐ าน พุทธศักราช 25 51
กระทรวงศึกษาธิการ (2551 : 167) ท่ีกล่าวว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนา
ใหผ้ ูเ้ รยี นมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมี
คุณค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ กิจกรรมทางศิลปะช่วยพัฒนาผู้เรียนท้ังด้านร่างกาย จิตใจ
สติปญั ญา อารมณ์ สังคม ตลอดจนการนาไปสู่การพัฒนาสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเช่ือมั่น
ในตนเอง อนั เป็นพืน้ ฐาน ในการศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพได้ โดยเฉพาะอย่างย่ิงการเรียนการสอน
ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ช้ันมัธยมที่ 1 รูและเขาใจเรื่องทัศนธาตุและหลักการออกแบบและเทคนิคที่
หลากหลายในการ สรางงานทัศนศลิ ป 2 มติ ิ และ3 มิติ เพ่อื ส่อื ความหมายและเรื่องราวตางๆ ไดอยาง
มคี ุณภาพ วเิ คราะหรปู แบบเนื้อหาและประเมนิ คณุ คางานทศั นศลิ ปของตนเองและผูอ่ืน สามารถเลือก
งานทศั นศิลปโดยใชเกณฑทก่ี าหนดขึน้ อยางเหมาะสม สามารถออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ กราฟกใน
การนาเสนอขอมูลและมีความรู ทักษะที่จาเปนดานอาชีพท่ีเก่ียวของกันกับงานทัศนศิลป จากนั้น
ผูว้ ิจยั จงึ ไดน้ าแนวทางเหล่านี้มาใช้ในการสร้างสื่อการเรียนการสอน โดยแบ่งเนื้อหาการเรียนการสอน
ได้แก่ การเรียนรู้เร่ืองแสงและเงา การวาดเส้นรูปเรขาคณิต การวาดเส้นหุ่นนิ่ง และการจัด
องค์ประกอบ นอกจากจะจัดการเรียนการสอนที่คานึงถึงความพร้อมและความต้องการของผู้เรียน
แล้ว ชุดฝึกทักษะได้เรียงเน้ือหาจากการเรียนรู้ทางทฤษฏีเพ่ือนาไปใช้ฝึกปฏิบัติ การทากิจกรรมใน
ระหว่างการเรียนการสอน และการทดสอบปฏิบัติหลังจากการเรียน โดยผู้สอนเน้นกิจกรรมในการ
ปฏิบัติมากกวา่ การเรยี นรู้ทฤษฏี สง่ ผลใหน้ ักเรียนสามารถฝึกฝนและปฏิบัติงานศิลปะได้ด้วยตนเองท้ัง
ในเวลาเรียนและนอกเวลาเรียน นักเรียนสามารถปฏิบัติงานได้บ่อยครั้ง และซ้า ๆ จนเกิดความ
คล่องแคล่ว และเกิดทักษะในการปฏิบัติงานเพื่อสร้างสรรค์ผลงานศิลปะเพิ่มมากขึ้น สอดคล้องกับ
ยุทธศาสตร์การเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะของคณะวิทยากร ชมรมกรรมการสถานศึกษาขั้น
พ้ืนฐาน (2544, 45-46) ท่ีกล่าวว่า การเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism)
เป็นยุทธศาสตร์การเรียนรู้ศิลปะด้วยการเรียนรู้โดยการปฏิบัติ เป็นวิธีแสวงหาความรู้ด้วยการปฏิบัติ
ทดลอง หาเหตุผลด้วยตนเอง สมั ผัสจริงด้วยตนเอง และสรุปผลดว้ ยตนเอง และเปน็ ประสบการณต์ รง

การวัดผลการศึกษาจากการใช้ชุดฝึกทักษะ เรื่องการวาดเส้นหุ่นนิ่ง ท่ีมีการวัดผลทั้งภาค
ความรู้ (พุทธิพิสัย) และวัดผลภาคปฏิบัติ (ทักษะพิสัย) โดยเฉพาะอย่างย่ิงการเน้นการฝึกทักษะของ
ผเู้ รยี นในการสรา้ งสรรคง์ านศลิ ปะ ตลอดจนการใชว้ ิธกี ารท่ีหลากหลาย เช่น การอภิปรายผล การตอบ
คาถาม การตรวจผลงาน และประเมินทักษะปฏิบัติด้านการสร้างสรรค์ผลงานของผู้เรียน ตาม
โครงสร้างของกลุ่มสาระการเรียนรู้ทัศนศิลป์ ซ่ึงมีผลการวิจัยสอดคล้องกับ สมศักดิ์ ใจเที่ยง (2553)
กลา่ วว่า การใชแ้ บบฝึกศิลปะจะชว่ ยพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจในเนื้อหา
ที่เรียนมากย่ิงขน้ึ นอกจากน้ยี ังช่วยพฒั นาทักษะทางดา้ นศิลปะของผูเ้ รยี นอีกด้วย ผวู้ ิจยั ได้ทาการสร้าง
ชุดแบบฝึกทักษะทางศิลปะเรื่องการวาดเส้นข้ึนมา เพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะอย่างเป็นกระบวนการ

43

ขน้ั ตอน มกี ารทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรียนเพ่อื เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แล้วพบว่าโดย
ภาพรวมแบบฝึกทักษะมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน และแบบวัดผล
สมั ฤทธทิ์ างการเรยี น ซ่ึงคะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกว่าคะแนนทดสอบก่อนเรียนและผลการประเมิล
นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุดสอดคล้องกับ นภาพร ชัญญาสวัสดิ์ (2556 ) กล่าวว่า
การให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติอย่างเป็นกระบวนการขั้นตอน จะช่วยพัฒนาทักษะด้านศิลปะให้กับผู้เรียน
ทาให้ผู้เรียนเข้าใจกระบวนการที่ถูกต้อง รู้จักการทางานอย่างเป็นข้ันตอน นอกจากนี้การลงมือปฏิบัติ
ทาให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ตรง สามารถนาไปพัฒนาต่อได้ด้วยตนเอง ผู้วิจัยได้เน้นให้ผู้เรียนฝึก
ปฏิบัติ เพ่ือพัฒนาทักษะผู้เรียนและฝึกกระบวนการทางานอย่างเป็นข้ันตอน หลังการวิจัยพบว่า
ผู้เรียนมีทักษะท่ีมีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้และมีผลการเรียนหลังเ รียนสูงกว่าก่อน
เรียน สอดคลอ้ งกับ มิสพชั รนิ ทร์ นุสพรรณ (2558 ) ได้กลา่ ววา่ นอกจากการพฒั นาทักษะด้วยการฝึก
ปฏิบัติแล้ว ผู้สอนต้องมีสื่อการสอนที่เป็นภาพเสมือนจริงและการใช้ตัวอย่างภาพสาเร็จ ใช้ในการ
ประกอบการเรียนการสอนเพ่ือให้ผู้เรียนมองเห็นภาพของส่ิงท่ีจะเรียน เกิดแรงบัลดาลใจในการเรียน
เป็นการเร้ากระตุ้นความสนใจให้กับผู้เรียน โดยที่สื่อท่ีนามาควรเป็นส่ือท่ีผู้สอนทาขึ้นเอง เพ่ือสร้าง
ความน่าเช่ือถือให้ผู้เรียน และนอกจากนี้การใช้ส่ือการสอนที่เป็นภาพเสมือนจริงจะช่วยพัฒนา
กระบวนการทางานด้านศิลปะ และยังช่วยสร้างเจตคติต่อผลงานศิลปะของผู้เรียนอีกด้วยสอดคล้อง
กับ นภาพร ชัญญาสวัสดิ์ (2556 ) ได้กล่าวว่า การพัฒนาทักษะการสร้างสรรค์ ตามท่ีปรากฏจาก
มาตรฐานการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการปฏิบัติ ซ่ึงประกอบด้วยขั้นตอนให้ ศึกษาจากแบบ-ทาตาม
แบบ-ทาเอง-ฝึกให้ ชานาญ จะทาให้ผู้เรียนมีทักษะการสร้างสรรค์ตามมาตรฐานการเรียนรู้ของ
หลักสูตร มีความกระตือรือร้นในการเรียน การทางานอย่างต่อเนื่องจาก และจากประสบการณ์การ
สอนศลิ ปะของผู้วจิ ัย คิดว่า การใช้ คาพูดท่ีสุภาพ พูดคุยกับผู้เรียนอย่างเป็นกันเองเป็นหนทางหนึ่งท่ี
จะค่อยๆฝึกผู้เรียนให้รัก และชอบที่จะปฏิบัติ กิจกรรมศิลปะให้ผลงานออกมาเป็นที่น่าพอใจของท้ัง
ผู้เรียน ผ้ปู กครอง และผ้วู จิ ยั สอดคล้องกับ กติ ติคุณ เย็นกล่าและ ดร.อภชิ าติ พลประเสริฐ (2555) ได้
กล่าววา่ เด็กอายุ 15-17 ปี ท่เี รียนวาดเส้นโดยใช้รูปแบบกิจกรรมต่างๆ มีความสามารถในการวาดเส้น
แบบเหมือนจริงหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน แบบทดสอบวัดความรู้ความเข้าใจในการวาดเส้นแบบ
เหมือนจริง สูงข้ึนกว่าก่อนเรียนอย่างชัดเจนความคิดเห็นของเด็กอายุ 15-17 ปี ท่ีมีต่อการสอนวาด
เส้นโดยใช้รูปแบบกิจกรรมอยู่ในระดับท่ีดี แสดงให้เห็นว่าการสอนวาดเส้นโดยใช้รูปแบบกิจกรรม
ชว่ ยให้เดก็ พฒั นาความสามารถครบทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านทักษะพิสัย พุทธิพิสัย และจิตพิสัย โดยแต่ละ
ดา้ นจะส่งผลตอ่ พฒั นาการดา้ นอื่นดว้ ย

ขอ้ เสนอแนะ

จากการศึกษาครั้งนี้ทาให้ทราบข้อบกพร่องและแนวทางการพัฒนาการเรียนการสอนทาง
ศิลปศึกษา รวมถงึ แนวทางการวจิ ยั เพ่อื พฒั นาการเรียนร้ขู องผูเ้ รยี นได้ตามแนวทาง ดังน้ี

ขอ้ เสนอแนะเพื่อนาไปใช้
1.ผ้สู อนควรศึกษาวิเคราะหค์ วามรู้พ้ืนฐานด้านศลิ ปะของผูเ้ รยี นก่อนที่จะไปสอน เพ่ือสามารถ
ปรับแผนการสอนให้เหมาะสมกับผเู้ รียน และสามารถพัฒนาผูเ้ รยี นได้ตรงตามความต้องการมากทส่ี ดุ

44

2.รายวิชาศิลปะเป็นวิชาท่ีเน้นในเร่ืองของทักษะ ดังน้ันควรให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ เพื่อ
สามารถเขา้ ใจกระบวนการเทคนิควิธีการต่างๆได้อย่างถูกต้อง และสามารถนาพัฒนาตอ่ ไดด้ ว้ ยตวั เอง

ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การศกึ ษาครั้งตอ่ ไป
1. ผวู้ จิ ยั ควรศึกษาการวจิ ัยทเ่ี กี่ยวข้องให้มากขึน้ เพ่ือสามารถนามาพัฒนาการวิจัยของตน ให้มี

การพัฒนายง่ิ ขึน้ ไป
2.ผูว้ จิ ัยควรมีความรู้ในเรอื่ งท่จี ะทาการวิจัย และควรหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อสามารถพัฒนาท้ัง

ผเู้ รยี นและผวู้ ิจยั ไปพร้อมกนั

45

บรรณานกุ รม

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้.ศิลปะ
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : สานักวิชาการ
และมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

กิตตคิ ณุ เย็นกลา่ และ อภิชาติ พลประเสริฐ. (2555). ผลของการสอนวาดเสน้ โดยใช้รูปแบบกิจกรรม
ของ เบต็ ตี เอ็ดเวริ ด์ ส์.

คณะวทิ ยากร ชมรมกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน. (2544). แนวทางการจัดทาสาระการเรียนรู้
หลกั สตู รสถานศึกษากลุ่มศลิ ปะ. กรุงเทพฯ : บุค พอยด์

ชวลิต คาบแก้ว. (2525). วธิ ีสอนศิลปศึกษา. กรงุ เทพฯ : O.S.PRTNINGHOUSE CO.,LID
ชาตชิ าย คาบแกว้ . (2544). จติ วทิ ยาการสอน. (ม.ป.ท) : (ม.ป.พ)
นภาพร ชญั ญาสวสั ด์ิ. (2556 ).การพัฒนาชุดการสอนแบบองิ ประสบการณ์ เรื่อง การวาดเส้น.วิจัย

ในชน้ั เรียน : โรงเรียนจกั ราชวิทยา
พงศ์ภวัน อะสตี ิรตั น์.(2557).เทคนคิ การวาดเสน้ .กรงุ เทพฯ : วิชั่น พรีเพรส
มิสพัชรินทร์ นุสพรรณ. (2558 ). การพัฒนาทักษะกระบวนการด้านการแรเงาภาพหุ่นนิ่งด้วย

เทคนิคแสงเงาโดยใช้สื่อเสมือนจริงและการใช้ตัวอย่างภาพสาเร็จ.วัยจัยในช้ันเรียน : โรง
เรียนอสั สมั ชญั แผนกประถม
ลักขณา สริวัฒน.์ (2557). จิตวทิ ยาสาหรับคร.ู กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พรนิ้ ติ้งเฮ้าส.์
วัชรพงศ์ หงส์สวุ รรณ.(2556).วาดเส้นแรเงา.6.กรุงเทพฯ : มติ รสมั พนั ธก์ ราฟฟคิ
วิศษิ ฐ พิมพมิ ล.(2554).การวาดเสน้ .3.กรงุ เทพฯ : วาดศิลป์
เศรษฐมนั ตร์ กาญจนกุล.( 2549).แสงเงา6.กรงุ เทพฯ : เศรษฐศลิ ป์
สมศักด์ิ ใจเทีย่ ง. (2553).ศิลปะการวาดเสน้ .วจิ ยั ในชั้นเรยี น : โรงเรียนยางฮอมวิทยาคม
สายณั ต์ พลเชยี งสา. (2555). การเสริมแรงผูเ้ รียนให้ มีความรู้ อยา่ งแมน่ ยาในเร่อื งทัศนศิลป์.วิจัยใน
ช้นั เรียน : โรงเรยี นอสั สัมชญั ธนบุรี


Click to View FlipBook Version