The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสรีรวิทยาของพืช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mapypang2536, 2019-06-05 00:51:08

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสรีรวิทยาของพืช

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสรีรวิทยาของพืช

หน่วยที่ 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกย่ี วกบั
สรีรวทิ ยาของพชื

บทนา

ประวตั แิ ละแนวความคดิ พนื้ ฐานของสรีรวทิ ยาการผลติ พืช

1.1 ความหมายของสรีรวิทยา คือ วิชาทวี่ า่ ดว้ ยคุณสมบตั ิและการกระทาหนา้ ที่ของอินทรียต์ ่าง ๆ ซ่ึงเป็น
ส่วนของส่ิงทีเ่ ป็นรูปร่างและมชี ีวิต หรือมคี วามหมายในภาษาองั กฤษ จาก The Basic Dictionary of Science คือ
Physiology : That branch of biology which has to do with the processes going on in living things and the
working of their different parts, as opposition to their structure

1.2 พ้นื ฐานของการเจริญเติบโต (growth) และพฒั นาการ (development)ของพชื เกิดข้ึนเน่ืองจากผลของ
กระบวนการทางสรีรวทิ ยาที่เกิดข้ึนในตน้ พชื โดยมีปัจจยั ของตน้ พชื เองและปัจจยั ภายนอกท่ีประสานกนั ให้เกิด
กระบวนการต่าง ๆ ดงั กล่าว

1.3 ความแตกต่างทสี่ าคญั ระหวา่ งสรีรวิทยาของพชื ทวั่ ไป (plant physiology) และสรีรวิทยาของพืชปลูก
(crop physiology) คือ crop physiology เป็นวชิ าที่ประยกุ ตจ์ ากวชิ า plant physiology เพอ่ื ใชใ้ นการปลูกพืชเพื่อ
ผลผลิต plant physiologist ตอ้ งการศึกษาถึงกระบวนการต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในการดารงชีพของพืชว่าเป็นไปอยา่ งไร
ส่วน crop physiologist ตอ้ งการทราบวา่ ผลกระทบของผลผลิตที่ตอ้ งการน้นั มเี หตุผลจากกระบวนการทาง
สรีรวิทยาอะไรบา้ ง หรือมปี ัจจยั ทจ่ี ากดั กระบวนการทางสรีรวทิ ยาใดบา้ งทีจ่ ะมีผลต่อผลผลิต ความมุ่งหมายใน
การศึกษาทางสรีรวิทยาท้งั สองแขนงน้ีจึงต่างกนั

1.4 หลกั การสาคญั ในการศกึ ษาทางดา้ นสรีรวทิ ยาการผลิตพชื คือ การถือวา่ "ผลผลิต" ของพืชน้นั เป็นส่ิงท่ี
เกิดข้ึนจากลาดบั ของกระบวนการต่าง ๆ ท่สี ่ังสมเริ่มตน้ ต้งั แต่เมล็ดเจริญเติบโตไปจนถึงเก็บเกี่ยวผลผลิต
การศึกษาจึงตอ้ งมกี ารวดั ในเชิงปริมาณและนามาวเิ คราะห์หาปัจจยั ทีเ่ ป็นสาเหตุทาให้มผี ลกระทบต่อกระบวนการ
ทางสรีระต่าง ๆ ตลอดช่วงชีพจกั รของพืช นาผลของการวเิ คราะห์น้นั มาใชใ้ ห้เป็นประโยชน์ โดยการแกไ้ ขจุด
จากดั เหล่าน้นั ในการผลิตพชื เพื่อใหไ้ ดผ้ ลผลิตสูง

1.5 ข้นั ตอนในการศึกษาน้นั นกั สรีรวิทยาการผลิตพืชมกั จะมองปัญหาของพชื ในสภาพกลุ่มพืชในพ้ืนที่ปลูก
จากภายนอกก่อน โดยวิเคราะห์การเจริญเติบโต และสภาพแวดลอ้ มในช่วงการเจริญเติบโต และวเิ คราะห์ผล หาก
การศึกษาในระดบั กวา้ งยงั ไมใ่ หค้ าตอบท่ีชดั เจนพอ อาจเน่ืองมาจากผลที่เกิดข้ึนน้นั อยใู่ นระดบั ละเอียดลึกลงไป ก็
จะไดท้ าการศกึ ษาในรายละเอียดของกระบวนการทเี่ กิดข้ึนส่วนต่าง ๆ ของพชื ซ่ึงอาจจะเป็นเน้ือเยอื่ เซลล์ หรือ
แมก้ ระทงั่ ถึงระดบั โมเลกลุ เช่น การศกึ ษาถึงระดบั การทางานของเอน็ ไซมต์ ่าง ๆ เป็นตน้

1.6 ประวตั ิของวชิ าสรีรวทิ ยาพชื ปลกู น้นั อาจจะกล่าวไดว้ า่ ถอื กาเนิดมาจากการคน้ พบกระบวนการต่าง ๆ
ทางสรีรวิทยายคุ เร่ิมตน้ เม่อื ประมาณ 200 กว่าปี คร้ังท่ี Joseph Priestley พบการดูดรับ CO2 และคาย O2 ของตน้
พชื เมอื่ ปี ค.ศ. 1771 และต่อมาการคน้ พบการดดู น้าและแร่ธาตุอาหารจากดินของนกั วิทยาศาสตร์ในยโุ รประหวา่ ง
ปีค.ศ. 1800-1860 ส่วนการนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการปลูกพืชเพื่อผลผลิตจริง ๆ น้นั เพิ่งจะไดเ้ ริ่มเมือ่ ประมาณ 60

กวา่ ปี มาน้ีเอง โดยนกั วทิ ยาศาสตร์ชาวองั กฤษ W.L. Balls (1915) โดยมกี ารทดลองเกี่ยวกบั ผลของการจดั ระยะ
ปลกู และวนั ปลกู ท่ีเหมาะสมต่อผลผลิตของฝ้ าย ซ่ึงจากผลการทดลองน้ีเขาไดใ้ ห้แนวคิดของการศกึ ษาดงั กล่าวน้ี
วา่ น่าจะเป็นสาขาวิชาทีเ่ รียกว่าสรีรวิทยาพชื ปลกู (crop physiology) ท่เี ป็นช่ือของสาขาวิชาทีเ่ รียกกนั อยจู่ นถึง
ปัจจุบนั และนับวนั จะมีความสาคญั ยง่ิ ข้ึนในอนาคตเพราะวา่ ขอบเขตของวิชาไดข้ ยายไปมากข้ึน ๆ เนื่องจากการ
คน้ พบส่ิงใหม่ ๆ ทางดา้ นสรีรวิทยาของพชื อยเู่ สมอ

1.7 สรุปจุดมุ่งหมายของการศกึ ษาในระดบั น้ี คือ เพ่อื ใหเ้ ขา้ ใจถึงกระบวนการสาคญั ต่าง ๆ ทางสรีรวทิ ยาที่
จะมผี ลการเจริญเติบโตการพฒั นาการ และการใหผ้ ลผลิตของพชื วิธีการศึกษาถึงปัจจยั แวดลอ้ มต่าง ๆ ที่จะเป็น
ตวั กาหนดผลผลิต เช่น แสง อุณหภูมิ CO2 ธาตุอาหาร น้า ความตอ้ งการในการใชป้ ัจจยั ต่าง ๆ เหล่าน้ีของพชื ท้งั
ในสภาพธรรมชาติ และสภาพที่ทาข้ึน ตลอดจนถึงวธิ ีการในการวเิ คราะห์การเจริญเติบโตของพืช เพ่อื เป็นขอ้
วนิ ิจฉยั ในการผลิตพชื ให้ไดผ้ ลผลิตหรือคุณภาพทต่ี อ้ งการ


Click to View FlipBook Version