The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ใบความรู้ การลำเลียงสารในพืช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mapypang2536, 2019-06-05 03:38:11

ใบความรู้ การลำเลียงสารในพืช

ใบความรู้ การลำเลียงสารในพืช

หน่วยที่ 4 การลาเลยี งสารในพชื

รหัสวชิ า 3502 - 2002

หนว่ ยที่ 5 การลาเลยี งสารในพืช

การดดู นา้ ของพชื

รากพืชโดยทวั่ ไปจะแตกออกเปน็ รากแขนงเลก็ ๆที่บรเิ วณสว่ นปลายของรากเรียกวา่ …………………….
ท้าหน้าท่ีในการดูดซบั น้าและแรธ่ าตใุ นดิน

เซลลเ์ อพิเดอรม์ ิสที่มีขนรากจะมีแวควิ โอลขนาดใหญ่ ภายในแวควิ โอล มีสารละลายบรรจุอยู่
สารละลายนม้ี ีความเขม้ ข้นค่อนขา้ งสงู ส่วนดนิ มีความเข้มขน้ น้อยกวา่
สารละลายภายในราก น้าแพรเ่ ข้าสู่ขนรากไดต้ ลอดเวลา

ปจั จัยส้าคัญทีท่ ้าให้น้าจากดนิ เขา้ สู่รากหรือออกจากรากสู่ดนิ ได้แก่

…………………………………………………...........................................................

การดดู นา้ ของพืช มี 2 วธิ ี
1. ……………………………………………………………. : การดดู น้าทเ่ี กิด
จากรากโดยตรง
- ออสโมซสิ (Osmosis) คือการเคลอื่ นท่ีของน้าผ่านเยื่อหุม้ เซลล์ โดยน้าเคลือ่ นท่จี าก นา้ มากไปยังนา้
นอ้ ย เกดิ การล้าเลียงน้าอย่างสม้า่ เสมอตลอดเวลา
2. …………………………………………………………………… : การดูดน้าทไ่ี มไ่ ดเ้ กิดจากรากโดยตรง เช่น อาศัย
แรงดงึ จากการคายน้าท่ีปากใบ (transpiration pull)
การดูดเกลอื แรห่ รือออิ อนของพชื มี 2 วิธี
1. การดูดอิออนแบบพาสซฟี : การดูดออิ อนโดยไมใ่ ชพ้ ลงั งานจากเซลล์ราก
- …………………………………………………………….….. คอื ออิ อนที่มคี วามเขม้ ข้นสงู ในดินจะเคล่ือนที่เข้า
สู่เซลล์ราก ไมใ่ ชว่ ิธีส้าคญั
- ……………………………………………………………….... คือการดดู อิออนโดยการท่อี อิ อนทล่ี ะลายในน้าจะ
ถกู ดึงข้นึ ไปกับการลา้ เลียงน้า ดูดอิออนไดเ้ ร็ว
2. การดดู อิออนแบบแอกทฟี (Active transport) : การดดู ออิ อนในดินโดย…………………………………….
ดดู ออิ อนได้ชา้ แต่เกิดยาวนานและเกิดการสะสมอิออนในรากเปน็ วิธที ส่ี ้าคญั ที่สดุ ในการดดู อิออนให้ไดม้ าก
ที่สดุ

โครงสรา้ งของรากพืชตดั ตามขวาง
ก. ใบเล้ยี งเดย่ี ว ข. ใบเลี้ยงคู่

จากโครงสรา้ งของราก

ขนรากดดู น้าโดย…………………………………………………………………
แร่ธาตุจะเขา้ สู่รากโดย……………………………………………………………………………………………………………………

การเคลอื่ นท่ขี องนา้ จากในดนิ ไปถึงไซเลม็ (xylem)จะมเี สน้ ทางการเคล่ือนท่ี 2 แบบ
1. Apoplast น้าลา้ เลยี งเขา้ สู่ ………………………………………………………………………….. โดยน้าจะผ่าน

จากเซลล์หนง่ึ ไปยงั อีกเซลล์หน่งึ ผ่านทางผนังเซลลห์ รือผ่านทางช่องว่างระหวา่ งเซลล์
2. Symplast นา้ ผ่านไซโทพลาซึมของเซลล์โดยไซโทพลาซมึ ของเซลลแ์ ตล่ ะเซลลจ์ ะเช่อื มตอ่ กันดว้ ยท่อ
เล็กๆ เรยี กวา่ ……………………………………. ผา่ นไปยัง cortex เมอ่ื ถึง endodermis ไมส่ ามารถผ่านไปได้
เน่อื งจากมี ………………………………….. เคลอื บอยู่ เรียกวา่ ………………………………………………. โมเลกุลของ
นา้ จงึ ต้องผา่ นไซโทพลาซึมแลว้ จงึ เข้าสู่เพริไซเคิลและไซเล็มต่อไป

ไซเล็ม (Xylem)
ท้าหน้าท่ี………………………………………………………………………………………………………………………………………
เซลลข์ องไซเล็มเปน็ เซลล์ท่ตี ายแลว้ ประกอบด้วย

- เทรคีด (tracheid) มรี ูปร่างยาว ปลายค่อนข้างแหลม

- เวสเซลเมมเบอร์ (vessel member) มรี ูปร่างค่อนข้างส้ันและใหญก่ ว่าเทรคดี เวสเซลเมมเบอร์
หลายๆ เซลลจ์ ะมาเรียงต่อกัน เรียกว่าเวสเซล (vessel) ท้าให้มีลกั ษณะคล้ายท่อน้า

- ไฟเบอร์ (fiber)
- พาเรงคิมา (parenchyma) ซ่งึ เปน็ เซลล์ทม่ี ชี ีวติ ทา้ หน้าที่ค้าจุนให้ความแขง็ แรงและชว่ ยในการ

ลา้ เลียง
การลาเลยี งน้า
การล้าเลียงนา้ จะมีทิศทางการล้าเลยี งขน้ึ สู่ยอดเท่านัน้ ไม่มกี ารล้าเลียงลง
การลาเลยี งนา้ และแรธ่ าตุของไซเลม็ เกดิ ข้ึนโดยไม่ใช้พลังงานต้องอาศยั แรงดัน 3 วิธดี ังน้ี
1. ……………………………………………………….. เปน็ แรงดึงดดู ท่ีเกิดขน้ึ ระหวา่ งผนังดา้ นในของไซเล็มกับ

โมเลกุลของนา้ ล้าเลยี งน้าข้นึ ไปไม่สูงนกั

2. …………………………………………………….. เกดิ ข้ึนขณะมนี า้ ในดินมาก อัตราการดูดน้ามากกวา่ การคาย
น้า เกิดจากแรงดนั น้าที่เกิดภายในราก เนอื่ งจากนา้ ภายในรากมคี วามแออัดมาก จึงเกดิ แรงดนั นา้ ชว่ ยให้
นา้ เคล่อื นขึน้ ไปข้างบนล้าเลยี งน้าขน้ึ ไปในไซเล็มได้…………………………………
3. …………………………………………………………… เกิดจากการคายน้าท่ีปากใบโดยโมเลกลุ ของนา้ ในใบ กิ่ง
ล้าต้น และราก มีแรงยึดเหนย่ี วกันเองด้วยแรง ………………………………………จะถกู ดึงขนึ้ ส่ยู อดเป็นวธิ ีที่
สาคญั ทส่ี ดุ ในการลาเลยี งน้า …………………………………………………………………….
การลาเลยี งอาหาร
อาหารท่ีพชื สร้างขน้ึ ได้แก่ นา้ ตาล หรือสารประกอบชนิดอน่ื ๆทีถ่ กู เปลี่ยนไปจะถกู ล้าเลยี งไปตามกลุ่ม
เซลลท์ ี่ทา้ หนา้ ที่ล้าเลียงอาหารที่เรยี กวา่ ………………………………………………………………………..

อาหารจะถูกล้าเลยี งโดย……………………………………………………… ไปยงั ส่วนตา่ งๆ ของพืชเพอ่ื ใชเ้ ปน็
พลังงานในกระบวนการต่าง ๆ หรือเกบ็ สะสมไวเ้ ป็นแหลง่ อาหารซึ่งอยูใ่ นรปู ของแปง้ หรอื นา้ ตาลท่ีมอี ยู่
บริเวณ ล้าตน้ ราก หรือผล

การล้าเลยี งอาหารของพืชมี ทศิ ทางการลา้ เลียงอาหารของพชื มที ัง้ ………………………………...................
และเกดิ ข้นึ ได้ตลอดเวลา

เซลล์ท่ีทา้ หนา้ ท่ีล้าเลยี งอาหารโดยตรงจะตอ้ งเป็นเซลล์ท่ียังมีชวี ิตอยู่ถา้ เซลลบ์ ริเวณใดตายการลา้ เลียง
อาหารกจ็ ะหยดุ ชะงักทันที

อัตราการล้าเลียงอาหารพบว่าการล้าเลียงอาหารในทอ่ ล้าเลียงอาหารจะเกดิ ไดช้ ้ากว่าการล้าเลียงน้า
และแรธ่ าตุในท่อล้าเลียงน้า
สมมตฐิ านการไหลเนือ่ งจากแรงดนั (Munch pressure flow hypothesis)

การล้าเลยี งอาหารทางโฟลเอมเกดิ ขน้ึ เนื่องจาก มีความแตกตา่ งของแรงดันเต่งภายในเซลล์ระหวา่ ง
เซลล์ท่ีจดุ เริ่มตน้ และเซลล์ปลายทาง
เรียกวา่ …………………………………………………………………………………………………………………………………

เซลล์ที่ใบท้าหน้าท่ีสงั เคราะหด์ ้วยแสง

มีนา้ ตาลเกิดขนึ้ มาก ทา้ ให้สารละลายภายในเซลล์เขม้ ขน้

นา้ จากเซลล์ข้างเคยี งเข้าส่เู ซลล์ใบ ท้าให้เกิดแรงดันเตง่ สูงขนึ้

เกิดแรงดนั ดันใหส้ ารอาหารไหลไปตาม phloem

อาหารลงสู่เซลลต์ า่ งๆตามล้าดับ และสู่ล้าต้นหรือราก ซ่งึ เปน็ เซลล์ปลายทาง

มีการเปล่ยี นแปลงจากน้าตาลเป็นแป้งทีไ่ ม่ละลายน้า

นา้ ตาลจากใบจึงไหลมาเร่ือยๆโดยไมเ่ กิดการสมดุล

การคายนา้

การคายนา้ หมายถึง…………………………………………………………………………………………………………

นา้ ประมาณ 1-2 % น้าไปใช้ในกระบวนการสังเคราะห์แสง (Photosynthesis)
นา้ ประมาณ 98 – 99 % จะสญู เสยี ไปในรูปของการคายน้า ( Transpiration)

ประเภทของการคายนา้

การคายน้าของพชื เปน็ ไปในลักษณะของการแพร่เปน็ สว่ นใหญ่ แบ่งเป็น 3 ประเภท

1. การคายนา้ ทางปากใบ (Stomatal transpiration)
- …………………………………………………………..พบมากบรเิ วณทอ้ งใบและส่วนของปลายใบ
- เปน็ การคายน้าเกดิ ทข่ี นึ้ มากท่สี ดุ ประมาณ ร้อยละ 80-90
- พชื บางชนดิ เติบโตอยู่ในภูมอิ ากาศที่แหง้ แลง้ เพ่อื ลดการ
สญู เสยี น้า มีการปรับตวั ด้านโครงสร้างของปากใบเพื่อให้
เหมาะสมกบั สภาพแวดล้อม สามารถจา้ แนกปากใบตาม

ชนิดของพชื ท่ีเจริญอยใู่ นส่ิงแวดลอ้ มต่าง ๆไดด้ งั น้ี

ชนดิ ของปากใบ
………………………………………………………………………….

- ปากใบของพชื ทั่วไป เซลลค์ มุ อยู่ในระดับเดียวกับเซลล์เอพิ
เดอรม์ ิส

- พบในพชื ที่เจรญิ อยู่ในที่ ๆ มนี า้ อุดมสมบรู ณพ์ อสมควร
………………………………………………………………………………
- ปากใบอยู่ลกึ เข้าไปในเนือ้ ใบเซลล์คมุ อยู่ลึกกว่าหรือตา่้ กว่าช้นั เซลล์เอพเิ ดอร์มิส ………………………………..
เช่น พืชทะเลทราย พวกกระบองเพชร พืชป่าชายเลน เชน่ โกงกาง แสม ลา้ พู เปน็ ต้น
……………………………………………………………………………..

- ปากใบมีเซลลค์ มุ อยู่สงู กว่าระดับเอพเิ ดอรม์ ิสทว่ั ไป เพือ่ ชว่ ยใหน้ ้าระเหยออกจากปากใบได้เร็วข้ึน
พบ………………………………………………………………………………………….

2. การคายนา้ ทางผิวใบ ( Cuticular transpiration )
บรเิ วณผิวใบขา้ งนอกสุดของช้นั epidermis มี ………………………………………………………… ซง่ึ เป็น
สารประกอบคลา้ ยข้ีผึ้งเคลอื บอยู่
……………………………………………………………………………. การคายนา้ ที่ผิวใบเกดิ ได้น้อยมากเม่อื เปรียบเทียบกบั
การคายน้าท่ีปากใบ

3. การคายนา้ ทางเลนทเิ ซล (Lenticel)หรอื การคายนา้ ทางรอยแตกของลาต้น (Lenticular
transpiration)

รอยแตกบรเิ วณลา้ ต้นเรยี กว่า…………………………………………….. การคายนา้ ประเภทนี้เกิดขนึ้ นอ้ ยมาก เพราะ
lenticel มีในพืชเป็นส่วนน้อยและเซลลข์ อง lenticel ก็เป็น cork cell ซ่ึงผนังเซลล์
คอรก์ ………………………………………. ซึง่ เปน็ สารที่ปอ้ งกนั น้า ทา้ ใหไ้ อนา้ จงึ ออกมาได้น้อย
มาก

การคายนา้ ทางผิวใบและเลนทเิ ซล ถือว่านอ้ ยมาก เม่อื เทยี บกบั การคายน้าทาง
ปากใบ แต่ในสภาพท่พี ืชขาดน้า ปากใบจะปิดดังน้ันการคายน้าทางผิวใบ และเลนทิเซล จะช่วยลดอุณหภมู ิ
ให้กบั พชื ได้บ้างทา้ ให้ล้าต้นพืชไมร่ ้อนมากจนเกินไป

ในขณะทส่ี ่งิ แวดลอ้ มไมเ่ หมาะสมกบั การคายนา้ ทางปากใบ เชน่ เมอ่ื อากาศมีความชน้ื มาก พชื บาง
ชนดิ จะกา้ จดั น้าออกมาในรปู ของ………………………………. ทางรูเปิดเล็ก ๆ ตามปลายของเส้นใบ รูเหลา่ นี้
เรยี กวา่ …………………………………………………….

กระบวนการคายนา้ ของพืชในรูปของหยดนา้ เรยี กว่า ………………………………………………………….

ปจั จัยทมี่ ีผลต่อการคายน้า

1. แสงสว่าง : ……………………………………………………………………………………………
2. อุณหภมู ิ : ……………………………………………………………………………………………..
3. ความช้นื ของอากาศ : ความช้ืนสงู การคายน้าก็จะต่า้ ถา้ อากาศภายนอกมคี วามชน้ื ต้า่ การคายน้ากจ็ ะเกดิ
มากขน้ึ
4. ลม : ลมชว่ ยพัดพาไอนา้ ท่ีระเหยออกจากใบ และทอี่ ย่รู อบ ๆใบ ให้พ้นจากผิวใบ เพอื่ ท้าใหก้ ารแพรข่ องไอ
น้าออกจากใบมากขึน้
5. ความอดุ มสมบรู ณ์ของน้าในดิน :
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………
ความสาคญั ของการคายนา้

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….......................


Click to View FlipBook Version