The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nudchanad pornsatja, 2019-11-13 02:39:30

Sepsis for people

Sepsis for people

กองบริหารการสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสขุ

รายชื่อคณะผู้จดั ท�ำ

ทป่ี รกึ ษา นายแพทย์สขุ มุ กาญจนพมิ าย

(ปลัดกระทรวงสาธารณสขุ )

นายแพทย์ประพนธ์ ต้งั ศรีเกยี รติกลุ

(รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข)

นายแพทยธ์ รี พงศ์ ตนุ าค

(ผอู้ ำ� นวยการกองบรหิ ารการสาธารณสขุ )

บรรณาธิการ นายแพทยร์ ฐั ภูมิ ชามพนู ท

รศ.นพ.สุทัศน์ รุ่งเรอื งหริ ัญญา

ผูช้ ่วยบรรณาธกิ าร นางเกวลนิ ชืน่ เจรญิ สุข
(รองผู้อำ� นวยการกองบรหิ ารการสาธารณสขุ )

นางกนกวรรณ พึง่ รศั มี กองบริหารการสาธารณสุข

นางสคุ นธ์ เมฆทรงกลด กองบรหิ ารการสาธารณสุข

นายพทิ ยา สร้อยสำ� โรง กองบรหิ ารการสาธารณสขุ

นางสาวนุชนาฏ พรสจั จะ กองบริหารการสาธารณสุข

คณะผ้จู ดั ทำ�
คณะกรรมการพฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ (Service Plan) สาขาอายรุ กรรม
สมาคมเวชบำ� บดั วกิ ฤต แห่งประเทศไทย
รศ.นพ.ไชยรตั น์ เพ่ิมพกิ ลุ
รศ.ดร.บญุ สง่ พัจนสุนทร
รศ.นพ.ฉันชาย สิทธพิ ันธ์ุ
ผศ.นพ. สหดล ปุญญถาวร
รศ.นพ.สทุ ัศน์ รุ่งเรืองหิรญั ญา
พ.ต.ต.นพ.ธรรมศกั ดิ์ ทวชิ ศรี
นพ.รฐั ภมู ิ ชามพนู ท

1 รูเ้ ทา่ ทนั เซ็พสิส ป้องกัน ร้ทู ัน รักษาไว

ปลดั กระทครำ� วนงยิ สมาธารณสขุ

กระทรวงสาธารณสุขมีบทบาทหน้าที่หลักที่ส�ำคัญในการดูแลสุขภาพของประชาชน
และพฒั นาการจดั บรกิ ารเพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพบรกิ ารดา้ นสาธารณสขุ ใหก้ บั ประชาชนทกุ คน
บนแผ่นดินไทย ให้สามารถเข้าถึงและได้รับบริการท่ีมีคุณภาพมาตรฐาน แนวทางหนึ่ง
ของการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เพื่อดูแลภาวะติดเช้ือในกระแสเลือดแบบรุนแรง
(Severe Sepsis) และภาวะช็อกเหตุติดเชื้อ (Septic Shock)ซึ่งเป็นปัญหาส�ำคัญของระบบ
สาธารณสขุ ไทยและถอื วา่ เปน็ ประเดน็ ปญั หาสขุ ภาพตามแผนการพฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ
(Service Plan) สาขาอายรุ กรรมของกระทรวงสาธารณสขุ จากขอ้ มลู เบอื้ งตน้ ของสำ� นกั งาน
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติและสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล พบว่าภาวะติดเชื้อ
ในกระแสเลือดแบบรุนแรงเป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตของผู้ป่วยในโรงพยาบาล
นอกจากน้ียังพบว่าการดูแลรักษาผู้ป่วยติดเช้ือในกระแสเลือดแบบรุนแรง ยังขาดแนวทาง
ในการประสานการดูแลผู้ป่วยร่วมกันอย่างเป็นระบบภายในจังหวัดตั้งแต่หน่วยบริการ
ระดบั ปฐมภมู ไิ ปจนถงึ ระดบั ตติยภมู ิ ซง่ึ น�ำไปสอู่ ตั ราการเสยี ชวี ติ ที่สงู ข้นึ

หนงั สอื เลม่ นจี้ ดั ทำ� ขน้ึ เพอ่ื เสรมิ สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจสำ� หรบั ประชาชนใหไ้ ดร้ บั ทราบ
แนวทางการดูแลผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรง โดยมีแนวทางการประสานงาน
ในการดแู ลผปู้ ว่ ยรว่ มกนั อยา่ งเปน็ ระบบภายในจงั หวดั ตง้ั แตร่ ะดบั ปฐมภมู ไิ ปถงึ ระดบั ตตยิ ภมู ิ
เพ่ือเพ่ิมอัตราการรอดชีวิตของผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดและเกื้อหนุนให้เกิดการท�ำงาน
เปน็ ทมี ตงั้ แตโ่ รงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำ� บล ไปจนถงึ โรงพยาบาลทวั่ ไปหรอื โรงพยาบาลศนู ย์
โดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง น�ำไปสู่การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพ่ือให้การดูแลผู้ป่วยติดเชื้อ
ในกระแสเลอื ดมปี ระสทิ ธภิ าพมากย่ิงข้ึน ส่งผลใหอ้ ตั ราการเสียชวี ิตของผู้ปว่ ยลดลง

กระทรวงสาธารณสขุ ขอขอบคณุ สมาคมเวชบำ� บดั วกิ ฤตแหง่ ประเทศไทย คณะกรรมการ
พัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาอายุรกรรม ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญ
และผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งในการจดั ทำ� หนงั สอื คมู่ อื และขอ้ แนะนำ� การปอ้ งกนั ดแู ลรกั ษาผปู้ ว่ ยตดิ เชอ้ื
ในกระแสเลือดแบบรนุ แรง สำ� หรับประชาชน และเชอ่ื มนั่ วา่ หนงั สอื เลม่ น้จี ะเป็นประโยชน์
ในการดแู ลผปู้ ว่ ยตดิ เชอ้ื ในกระแสเลอื ดแบบรนุ แรงไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและลดอตั ราการเสยี ชวี ติ
ของประชาชนในทกุ พืน้ ท่ีตอ่ ไปไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

(นายแพทยส์ ุขมุ กาญจนพมิ าย)
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข

รูเ้ ทา่ ทัน เซ็พสิส ป้องกัน รทู้ ัน รกั ษาไว 2

คำ� นำ�

ปัจจุบันภาวะติดเช้ือในกระแสเลือดหรือเซ็พสิส (Sepsis) เป็นสาเหตุการเสียชีวิต
อันดับ 1 ของผู้ป่วยในโรงพยาบาลของประเทศไทย และอุบัติการณ์ของภาวะติดเช้ือ
ในกระแสเลือดมีแนวโน้มเพ่ิมมากขึ้น จากข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุขร่วมกับ
ห น ่ ว ย ง า น ส� ำ นั ก ง า น ห ลั ก ป ร ะ กั น สุ ข ภ า พ แ ห ่ ง ช า ติ แ ล ะ ส ม า ค ม เ ว ช บ� ำ บั ด วิ ก ฤ ต
แห่งประเทศไทย ได้ท�ำการวิเคราะห์ข้อมูล ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ พบว่า ประเทศไทย
มผี ้ปู ว่ ยเซพ็ สิส ประมาณ 175,000 ราย/ต่อปี และมผี ้ปู ว่ ยเซ็พสิส เสยี ชวี ติ ประมาณ
45,000 ราย/ต่อปี ซึ่งเม่ือคิดแล้วพบว่า มีผู้ป่วยเซ็พสิส 1 ราย เกิดขึ้นทุกๆ 3 นาที
และ มผี ้ปู ว่ ยเซ็พสสิ เสียชวี ิต 5 รายทกุ 1 ช่วั โมง ซงึ่ นับว่าเปน็ ความสูญเสยี อย่างมากมาย
และนับเป็นปญั หาสำ� คญั ของระบบสาธารณสขุ ไทย

หนังสือ เล่มน้ี จัดท�ำข้ึนเพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับภาวะติดเช้ือ
ในกระแสเลือด ส�ำหรับอสม.และประชาชน ไม่ว่าจะเป็นความรู้เก่ียวกับการป้องกัน
อาการน�ำ และแนวทางการดูแลรักษา โดยเน้นการสร้างความเข้าใจด้วยแนวคิด
“เซ็พสสิ ป้องกัน รทู้ นั รกั ษาไว รอดได้”

สมาคมเวชบ�ำบัดวกิ ฤต แห่งประเทศไทย ขอขอบคณุ ทา่ นผทู้ รงคณุ วุฒิ ผเู้ ชี่ยวชาญ
และคณะผู้จัดท�ำหนังสือคู่มือและข้อเสนอแนะการป้องกันดูแลรักษาผู้ป่วยติดเชื้อ
ในกระแสเลอื ด ส�ำหรบั อสม. และประชาชน ทเ่ี ห็นความสำ� คัญของการให้ภาคประชาชน
ไดร้ ับรแู้ ละมคี วามเขา้ ใจเก่ียวกับภาวะตดิ เช้ือในกระแสเลือดมากย่ิงขนึ้ สมาคมฯ หวังวา่
หนงั สอื เลม่ นจ้ี ะเปน็ ประโยชนใ์ นการปอ้ งกนั ดแู ลผปู้ ว่ ยตดิ เชอื้ ในกระแสเลอื ดสำ� หรบั อสม.
และประชาชนได้อย่างเหมาะสมครบวงจร และน�ำไปสูอ่ ัตราการเสียชวี ิตท่ีลดลงตอ่ ไป

ผชู้ ่วยศาสตราจารยน์ ายแพทยส์ หดล ปุญญถาวร
นายกสมาคมเวชบำ� บัดวิกฤตแหง่ ประเทศไทย

3 รเู้ ท่าทัน เซ็พสิส ปอ้ งกัน รทู้ นั รักษาไว

คำ� น�ำ

แม้ว่าปัจจุบันจะมีความก้าวหน้าในการรักษาภาวะติดเช้ือในกระแสเลือดหรือ
เซ็พสิส (Sepsis) มากย่ิงข้ึน คือ มียาต้านจุลชีพท่ีดีขึ้น มีความก้าวหน้าในเทคโนโลยี
ด้านการดูแลผู้ป่วยท่ีอยู่ในภาวะวิกฤตได้ดีขึ้น แต่อัตราตายของผู้ป่วยภาวะติดเช้ือ
ในกระแสเลือดยังคงสูง โดยอัตราตายผู้ป่วยติดเช้ือในกระแสเลือดในประเทศไทย
ในรอบปงี บประมาณ พ.ศ.2560 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 32.03 สำ� หรบั ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2561
อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดคิดเป็นร้อยละ 34.85 นับว่าเป็นความสูญเสีย
อย่างมากมาย และนับเป็นปัญหาส�ำคัญของระบบสาธารณสุขไทย นอกจากนี้ยังพบว่า
สาเหตุที่ส�ำคัญของการเสียชีวิตของผู้ป่วยเกิดจากการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ
ภาวะติดเช้ือในกระแสเลือดของประชาชนที่ยังไม่ดีพอ ท�ำให้เกิดความล่าช้าในการท่ีจะ
ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที และท�ำให้อวัยวะต่างๆล้มเหลวเมื่อมาถึงโรงพยาบาล
ซง่ึ นำ� ไปส่กู ารเสียชวี ิตหรือทพุ พลภาพตามมา

กองบริหารการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข ได้เล็งเห็นปัญหาดังกล่าว
จึงได้ร่วมกับสมาคมเวชบ�ำบัดวิกฤต แห่งประเทศไทย จัดท�ำหนังสือ “รู้เท่าทันเซ็พสิส”
เล่มนี้ขึ้นมา เพ่ือเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับภาวะติดเช้ือในกระแสเลือด
ส�ำหรับอสม. และประชาชน ไม่ว่าจะเป็นความรู้เก่ียวกับการป้องกัน อาการน�ำ และ
แนวทางการดูแลรักษา โดยเนน้ การสร้างความเข้าใจด้วยแนวคิด “เซ็พสิส ปอ้ งกนั รู้ทนั
รักษาไว รอดได้”

ขอขอบคณุ ทา่ นผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ผเู้ ชยี่ วชาญ และคณะผจู้ ดั ทำ� หนงั สอื “รเู้ ทา่ ทนั เซพ็ สสิ ”
กองบรหิ ารการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสขุ หวงั วา่ หนังสือเลม่ นีจ้ ะเป็นประโยชน์
ในการปอ้ งกนั และสรา้ งการรบั รเู้ กย่ี วกบั การดแู ลผปู้ ว่ ยตดิ เชอ้ื ในกระแสเลอื ดสำ� หรบั อสม.
และประชาชนไดเ้ ป็นอย่างดี ซ่ึงจะนำ� ไปสอู่ ตั ราการเสยี ชวี ติ และทพุ พลภาพทีล่ ดลงต่อไป

นายแพทยธ์ รี พงศ์ ตุนาค
ผอู้ ำ� นวยการกองบรหิ ารการสาธารณสุข

รูเ้ ทา่ ทนั เซ็พสิส ปอ้ งกนั รู้ทัน รักษาไว 4

เซ(Sอ็พนัeสตpิสรsาisย)!!

Sepsis (เซ็พสิส)
ใหนรกอื รภะาแวสะตเลิดอื เดช้ือ

คอื ภาวะติดเช้ือ ที่เกิดจาก ตดิ เชอ้ื ในปอด
สาเหตุต่างๆ ไดแ้ ก่

ติดเช้ือทางเดินอาหาร

ไขเ้ ลือดออก แผลตดิ เช้ือ
ไขม้ าลาเรยี
ไข้ฉ่ีหนู เป็นตน้ ตดิ เชื้อ
ทางเดินปัสสาวะ

รว่ มกบั มีการตอบสนองของรา่ งกาย
น�ำไปสู่การทำ� งานผิดปกตขิ องอวัยวะตา่ งๆ

ซ่ึงอาจรุนแรงจนนำ� ไปสู่การเสียชีวิตได้
ถ้าไม่ไดร้ บั การดแู ลอยา่ งเหมาะสมและทนั ท่วงที

รเู้ ทา่ ทัน เซ็พสิส ป้องกัน รู้ทนั รกั ษาไว 6

การติดเช้ือส่วนใหญท่ ำ� ใหเ้ กดิ

ภาวะติดเช้ือ
ในกระแสเลือด

สาเหตทุ พี่ บบ่อย ไดแ้ ก่

เยอื้ หุ้มสมอง ไข้หวดั ใหญ่
อกั เสบ อีโบลา
มาลาเรยี
ปอดอักเสบ ไขเ้ ลอื ดออก

ติดเชื้อ ไข้ฉห่ี นู
ในชอ่ งทอ้ ง
ผิวหนัง
เป็นแผล
ตดิ เชื้อ
ทางเดนิ ปสั สาวะ

7 รูเ้ ทา่ ทนั เซ็พสิส ป้องกนั รทู้ นั รักษาไว

กลไกการเกดิ ภาวะ
เซ็พสิส

เมอ่ื มีการตดิ เชื้อ รา่ งกายจะสรา้ ง
ภูมคิ ุ้มกันมาก�ำจัดเช้ือโรค

รเู้ ทา่ ทัน เซ็พสิส ปอ้ งกนั รู้ทนั รักษาไว 8

ในขณะเดยี วกนั ภูมคิ มุ้ กนั กจ็ ะ
ท�ำลายอวยั วะตา่ งๆในรา่ งกาย

ทำ� ใหอ้ วัยวะตา่ งๆ ลม้ เหลว
ส่งผลให้ผ้ปู ว่ ยเสียชีวติ

R.I.P

9 รเู้ ท่าทนั เซ็พสิส ปอ้ งกนั ร้ทู นั รกั ษาไว

ทวั่ โลก

เซพ็ สิส

มีคนกวา่
27-30 ล้านคนต่อปี

เกดิ ภาวะตดิ เชือ้ ในกระแสเลอื ด

R.I.P

และมี 6-9 ล้านคน
ท่เี สียชีวติ

รูเ้ ทา่ ทัน เซ็พสิส ปอ้ งกัน รูท้ นั รักษาไว 10

ภาวะตดิ เชื้อ
ในกระแสเลือด

เปน็ ภาวะฉุกเฉินและเรง่ ดว่ น

ทว่ั โลก ทกุ ๆ 3 วนิ าที จะมี
ผู้เสียชีวติ จาก เซ็พสิส

1 ราย

R.I.P

11 รูเ้ ท่าทนั เซ็พสิส ป้องกัน รูท้ ัน รกั ษาไว

ประเทศไทยมีผปู้ ่วย
เซ็พสิส

175,000 รายต่อปี

รเู้ ทา่ ทัน เซ็พสิส ปอ้ งกัน ร้ทู ัน รักษาไว 12

ประเทศไทยมผี ้ปู ว่ ย
เซ็พสิส เสียชีวิต

45,000 รายตอ่ ปี

R.I.P

13 รเู้ ทา่ ทนั เซ็พสิส ปอ้ งกัน รู้ทนั รกั ษาไว

ใภนาจำ�วนะวทนผุพูท้ ี่รพอดลชภีวติ ายพังเกิด
ตามมา เช่น

สูญเสีย
นิว้ แขน ขา

สมองเสือ่ ม

ไตวาย

รูเ้ ทา่ ทัน เซ็พสิส ปอ้ งกนั รู้ทนั รักษาไว 14

ภาวะติดเช้ือ
ในกระแสเลอื ด

สามารถเกดิ ไดก้ บั ทกุ ๆ คน

โดยเฉพาะ
คนทม่ี ภี มู ติ า้ นทานตำ่�

ผปู้ ว่ ยที่มโี รคประจำ� ตวั เรื้อรัง เชน่
โรคปอด โรดตับ โรคหวั ใจ

15 รเู้ ท่าทัน เซ็พสิส ป้องกัน รูท้ ัน รกั ษาไว

เดก็ เล็ก

ผู้ป่วยสงู อายุ
60 ปี ขนึ้ ไป

ผู้ป่วยตดั มา้ ม

ผปู้ ่วยเบาหวาน AIDS
ผู้ป่วยโรคเอดส์

รูเ้ ท่าทนั เซ็พสิส ป้องกนั รทู้ นั รกั ษาไว 16

ภาวะเซ็พสิส
อเปนัน็ สดาเบั หต1ุการขเอสงียผชปู้ีวติ่วย

ในโรงพยาบาลในประเทศไทย

ในจำ� นวนน้ี เกินครง่ึ หนง่ึ
สามารถรอดตายได้
หากรเู้ รว็ และรกั ษาไว

17 รูเ้ ทา่ ทนั เซ็พสิส ปอ้ งกนั รู้ทนั รกั ษาไว

ทำ� อยา่ งไร ?
ป้องกันอย่างไร ?

เมอ่ื เกดิ ภาวะเซ็พสิส

รเู้ ทา่ ทนั เซ็พสิส ปอ้ งกัน ร้ทู ัน รักษาไว 18

รูเ้ ท่าทนั เซ็พสิส
ปอ้ งกนั รทู้ ัน รกั ษาไว

19 รูเ้ ทา่ ทนั เซ็พสิส ป้องกนั รู้ทนั รกั ษาไว

มากกวา่ 80%

ของภาวะติดเชื้อ
เกิดภายนอกโรงพยาบาล

สซึ่างมสา่วรนถใปหญ้อ่ งกัน ได้ 20

รูเ้ ทา่ ทัน เซ็พสิส ป้องกัน ร้ทู ัน รกั ษาไว

ภาวะเซ็พสิส
สามารถปอ้ งกนั ได้

ด้วยวิธงี ่ายๆ คือ

กนิ อาหารสะอาด
ถูกสัดส่วน

กนิ ร้อน

ช้อนกลาง

ล้างมือ
21 รเู้ ทา่ ทนั เซ็พสิส ปอ้ งกัน ร้ทู นั รักษาไว

ปอ้ งกนั

ไดร้ บั วัคซีน ปอ้ งกันการตดิ ต่อ
ตามก�ำหนดครบถ้วน จากสัตว์น�ำโรค

รักษาสขุ ภาพให้แขง็ แรง

รูเ้ ท่าทัน เซ็พสิส ป้องกัน รู้ทนั รักษาไว 22

รทู้ นั

รูจ้ กั ภาวะเซ็พสิส
และอาการน�ำ ได้แก่

ไข้สงู

หายใจเรว็ หอบ ซึม

ออ่ นเพลยี ปัสสาวะ
ออกน้อย

ทานไดน้ ้อย

มอื เทา้ เยน็

23 รเู้ ทา่ ทัน เซ็พสิส ป้องกัน รูท้ ัน รักษาไว

เซ็พสิส รูท้ ัน รเู้ รว็
รอดตายได้

อาการท่นี า่ สงสัยเซ็พสิส

2ซ-2ส-3จ

หากมีอาการตอ่ ไปนี้ ตงั้ แต่ 2 ขอ้ ขนึ้ ไปให้สงสยั เซพ็ สิส
ไวก้ อ่ น ใหร้ บี พบแพทย์โดยเร็วทีส่ ุด

รเู้ ทา่ ทัน เซ็พสิส ปอ้ งกัน รู้ทนั รกั ษาไว 24

อาการ 2ซ

ซึม
ซีด

25 รเู้ ท่าทัน เซ็พสิส ป้องกนั ร้ทู นั รกั ษาไว

อาการ 2ส

ไข้สงู
หนาวส่ัน

รเู้ ท่าทนั เซ็พสิส ปอ้ งกัน รู้ทนั รกั ษาไว 26

อาการ 3จ

หายใจเรว็
หวั ใจเตน้ เรว็
เจ็บรนุ แรง

27 รูเ้ ท่าทัน เซ็พสิส ปอ้ งกัน ร้ทู นั รักษาไว

รกั ษาไว

ไดร้ บั การรกั ษาอยา่ งเหมาะสม
และทันทว่ งที ตามระยะของ
ภาวะเซ็พสิส

รเู้ ท่าทัน เซ็พสิส ป้องกัน รทู้ นั รักษาไว 28

กลาดรรคกั ษวาาทมรี่ วสดญูเรว็ สเสามียารถ
จากภาวะเซ็พสิสได้

ใหย้ าปฏิชีวนะทีเ่ หมาะสมและรวดเรว็ ทนั ท่วงที
ให้สารน�ำ้ ทางหลอดเลือดด�ำอย่างเหมาะสม
ติดตามอาการ และ การเปลย่ี นแปลงอยา่ งใกล้ชิด

29 รูเ้ ทา่ ทนั เซ็พสิส ป้องกัน รูท้ นั รักษาไว

ทุกคนสามารถช่วยกนั

ปกป้องคนทค่ี ณุ รกั

จากภาวะเซ็พสิสได้

รเู้ ทา่ ทนั เซ็พสิส ปอ้ งกนั รู้ทัน รกั ษาไว 30

เราสามารถยับยงั้
ภาวะวกิ ฤตนิ ไ้ี ด้

ด้วยการบอกคนอนื่ ๆ
ให้ตระหนกั รถู้ งึ

ภาวะตดิ เช้ือ
ในกระแสเลือด

31 รูเ้ ทา่ ทัน เซ็พสิส ป้องกัน รทู้ นั รักษาไว

รว่ มขับเคล่ือนด้วย

14 องค์กร

สาธารณสุข

สมาคมเวชบำ� บัดวิกฤตแห่งประเทศไทย
สมาคมโรคติดเชอื้ แหง่ ประเทศไทย
วทิ ยาลัยแพทยฉ์ ุกเฉินแหง่ ประเทศไทย
สมาคมอุรเวชช์แหง่ ประเทศไทย
กองการพยาบาล สำ� นกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ
สภาการพยาบาล
สถาบันการแพทย์ฉกุ เฉินแหง่ ชาติ
ชมรมโรคระบบหายใจและเวชบำ� บดั วกิ ฤตในเดก็ แหง่ ประเทศไทย
สำ� นกั งานหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ
สถาบันรับรองคณุ ภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแ์ ห่งประเทศไทย
ราชวทิ ยาลัยอายรุ แพทย์แห่งประเทศไทย
ราชวทิ ยาลยั กุมารแพทยแ์ ห่งประเทศไทย
กระทรวงสาธารณสขุ ประเทศไทย

รเู้ ทา่ ทัน เซ็พสิส ป้องกนั รทู้ นั รกั ษาไว 32

Thai Sepsis
Alliance ภาคเี ครอื ข่าย

สุขภาพเพ่ือดแู ลปอ้ งกันผปู้ ่วย
ติดเชื้อในกระแสเลือด

จากความร่วมมือของ 14 องคก์ รสุขภาพ รว่ มกันพฒั นาแนวทาง
เวชปฏบิ ัติการดูแลผู้ป่วย และมีการนำ� ไปใชจ้ ริงในโรงพยาบาล
กวา่ 150 แหง่ ทว่ั ประเทศ

33 รูเ้ ท่าทัน เซ็พสิส ปอ้ งกัน รู้ทนั รักษาไว

เซ็พสิส

ปอ้ งกัน รทู้ นั รกั ษาไว

รอดได้

กองบริหารการสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุข


Click to View FlipBook Version