พ้นื ฐพาน้ื นฐวานิศววศิ กวรกรรมรเมคเคร่ือรอ่ืงงจจาาหหนนา่่ายยสสนิินคคา้ อา้ อตั ตัโนโมนตั มิ ตั ิ
Fundamentals
Vending Machine
Engineering
Page 1 นายณัชพล มากกญุ ชร
เน้ือหา
โครงสรา้ งและอปุ กรณ์....................................................................................................................3
โครงสรา้ งและอปุ กรณ์....................................................................................................................4
Mechanic Part..................................................................................................................................5
Vending Machine System...............................................................................................................8
Flowchart Sale Process...................................................................................................................9
Flowchart Cash Payment Process ................................................................................................10
Flowchart Cooling Process (Software Control)...........................................................................11
Flowchart Cooling Process (Board Control) ...............................................................................12
หลกั การควบคมุ Vending Machine..............................................................................................13
หลกั การทางาน Coin Accepter และ Bill Accepter.....................................................................14
การควบคุมมอเตอร์ลฟิ ท์...............................................................................................................18
การควบคมุ มอเตอร์ Slot................................................................................................................19
Door Pick Up ประตรู ับสินคา้ .......................................................................................................20
Partition Anti-Theft หรือแผน่ ก้นั กนั ขโมย จะมี 2 ประเภท .......................................................21
Drop Sensor...................................................................................................................................22
ระบบควบคุมอุณหภูมิ ................................................................................................................... 24
Page 2 นายณชั พล มากกุญชร
โครงสร้างและอปุ กรณ์ Picture Detail
Control Part Mini PC/Android
No. - ทาหนา้ ท่ีประมวลผล แสดง UI บนหนา้ จอ Display
เพื่อติดต่อสื่อสารกบั ผูใ้ ช้ และสั่งการ Drive Board เพ่ือ
1 ไปควบคุมการทางานอปุ กรณ์ภายในเคร่ือง
Slot Driver Board
2
- ทาหน้าท่ีควบคุมการทางานของมอเตอร์จ่าย
3 สินคา้ ,ควบคมุ การทางานระบบทาความเยน็ ,ควบคมุ การ
4 ทางานฮีตเตอร์ อ่านค่าอุณหภมู ิและหลอดไฟ LED โดย
5 รบั คาสงั่ จาก Elevator Driver Board
Page 3 Elevator Driver Board
- ควบคมุ การทางานของลฟิ ท์ , Partition ,เปิ ด-ปิ ด
ประตูรับสินคา้ ,ตรวจเช็ค Limit Switch , LED ชอ่ งรบั
สินคา้ และรับคาสงั่ จาก Mini PC
Reset Board
- ทาหน้าท่ีรีเซ็ตการทางาน Drive Board , MDB
Converter, Modem Router และตรวจสอบการเปิ ด-ปิ ด
ประตขู องเคร่ือง โดยรับคาส่งั จาก Mini PC
Power Supply 24V
-ทาหนา้ ทแี่ ปลงแรงดนั ไฟฟ้า 220 VAC เป็น 24 VDC
เพื่อจา่ ยไฟให้กบั อปุ กรณ์ในตู้
นายณชั พล มากกญุ ชร
โครงสร้างและอปุ กรณ์ Picture Detail
Payment Part Coin Acceptor
- ทาหน้าที่รับเหรียญและถอนเงินโดยรับคาสั่ง
No.
จาก Mini PC ผ่านตัวแปลงการส่ือสาร MDB
1 เพอื่ ถอนเงิน
2 Bill Acceptor
3 - ทาหนา้ ทีร่ บั ธนบตั ร และส่งขอ้ มลู มูลคา่ ธนบตั ร
4 ไปยงั Mini PC เพอ่ื ประมวลผล
5
MDB Convertor
- ทาหนา้ ทีแ่ ปลงการส่ือจาก MDB เป็น RS232 เพื่อให้
เคร่ืองรบั ธนบตั รและเคร่ืองรบั เหรียญสามารถ
เชื่อมต่อกบั Mini Pc ได้
Scanner
- ทาหนา้ ทร่ี บั ชาระเงิน E-payment แบบ Barcode
EDC
- ทาหนา้ ทรี่ บั ชาระเงนิ ประเภทบตั รเดรดติ และเดบติ
การ์ด
Page 4 นายณัชพล มากกญุ ชร
Mechanic Part Picture Detail
No. - Control Room
- Display
- Payment Device
1
- Tray
2
Page 5 นายณัชพล มากกุญชร
5 - Partition
3 - Lift
Page 6 นายณชั พล มากกญุ ชร
4 - Door Pickup
7 - Cooling Unit
Page 7 นายณัชพล มากกุญชร
Vending Machine System
Page 8
นายณชั พล มากกญุ ชร
Flowchart Sale Process
Start
UI ขายสินคา้
ลูกคา้ ซ้ือสินคา้ และ
ชาระเงิน
อุปกรณ์ชาระเงินส่งขอ้ มลู ไปยงั PC/Android
PC/Android ส่งคาสง่ั จ่ายสินคา้ ไปยงั Control Board
ผิดปกติ
Control Board ตรวจเชค็ จดุ แสดง Error Code
Home Position
ปกติ
Control Board ส่งั งานระบบ Mechanic เพื่อจ่ายสินคา้
Control Board ส่งขอ้ มูลสถานะการทางานไปยงั PC/Android
Check สถานะการทางาน จา่ ยสินคา้ ไม่สาเร็จ
จ่ายสินคา้ สาเร็จ
ทอนเงิน
Page 9 นายณัชพล มากกุญชร
Flowchart Cash Payment Process
Page 10 นายณชั พล มากกญุ ชร
Flowchart Cooling Process (Software Control)
Start
Check Set Point
Comp. Stop
Delay 1 min
No Comp. Stop
Check Temp <Set
point
Yes
Comp. Start
Check Coil Temp<1 No
Yes No
Defrost.Start
Check Coil Temp>15
Yes
Defrost .Stop
Page 11 นายณชั พล มากกุญชร
Flowchart Cooling Process (Board Control) No Comp. Stop
Start No
No
Check Set Point
Comp. Stop
Delay 1 min
Check Temp <Set
point
Yes
Comp. Start
Defrost interval =
Param.Interval
Yes
Defrost.Start
Defrost Time=
Param.Time
Yes
Defrost .Stop
Page 12 นายณัชพล มากกญุ ชร
หลักการควบคมุ Vending Machine
การทางานของ Vending Machine จะใช้ Mini Pc หรือ Android ในการควบคุมกาทางาน โดยจะ
สื่อสารผ่านพอร์ทอนุกรม (Serial Port) มาตรฐานการส่งข้อมุลแบบ RS232 ใช้ Baud Rate 9600 และส่ง
ขอ้ มูลดว้ ย Protocol ที่กาหนดจากผผู้ ลติ จากน้นั จงึ นาขอ้ มลู ทีไ่ ดไ้ ปถอดรหสั และแสดงผลดว้ ยซอฟทแ์ วร์
Tx ขาทีใ่ ชส้ ่งขอ้ มูล Rx ขาที่ใชร้ ับขอ้ มูล
โปรโตคอล ( Protocol )
ขอ้ กาหนดหรือขอ้ ตกลงในการส่ือสารระหว่างผสู้ ่ง (Mini PC/Android) กบั ผรู้ บั (Vending
Machine) เพื่อควบคมุ การทางานของเคร่ือง
ตวั อย่าง
คาสง่ั Check Error ส่งจาก Mini PC
Send 02 03 01 00 00 03 03
คาส่ังที่ส่งจาก Mini PC
Reply 02 05 01 00 00 00 00 03 05
Page 13 นายณชั พล มากกญุ ชร
คาสั่งทส่ี ่งมาจาก Vending Machine แสดงสถานะว่าเครื่องปกติ
0S2e0n3d01 00 00 03 03 02 05 01 00 00 0R0 0e0p0l3y
05
Mini PC VM
การส่งขอ้ มลู เพอื่ สง่ั งานบอร์ดควบคุมทุกคร้งั ตอ้ งมกี าร Reply คาสง่ั กลบั มาทุกคร้ัง เพอ่ื เช็คการ
ทางานของบอร์ดควบคมุ ถา้ ไม่มกี าร Reply แสดงว่าบอร์ดควบคมุ เสียหายหรือขาดการเช่ือมต่อ
หลกั การทางาน Coin Accepter และ Bill Accepter
Convertor RS232 To MDB จะทาหนา้ ทรี่ บั ขอ้ มูลมาจากเครื่องรับธนบตั รและเคร่ืองรบั เหรียญ ที่
ส่ือสารขอ้ มูลดว้ ยมาตราฐาน MDB Protocol แปลงเป็นมาตรฐานการสื่อสาร RS232 เพอ่ื ให้สื่อสารกบั Mini
PC หรือ Android Box ได้
MDB Multi-Drop Bus เป็นมาตรฐานการสื่อสารของอปุ กรณช์ าระเงินของเครื่อง Vending Machine
ซ่ึงกาหนดเป็นมาตรฐานใชก้ นั ทว่ั โลก
Page 14 นายณัชพล มากกญุ ชร
Coin Accepter การตรวจจบั ชนิดของเหรียญ
ใชข้ ดลวดไฟฟ้าสร้าง Electromagnetic Field
เซน็ เซอร์
( สนามแม่เหล็กไฟฟ้า ส่งผ่านไปยงั ขดลวดที่ทา
ห น้ า ที่ รั บ Electromagnetic Field เ พ่ื อ แ ป ล ง เ ป็ น
สัญญาณญาณไฟฟ้าและนามาประมวลผล
เม่ือเหรี ยญไหลผ่านสนามแม่เหล็กไฟฟ้า
เหรียญจะดูดซับสนามแม่เหล็กไฟฟ้าไปบางส่วน ซ่ึง
เหรียญแต่ละชนิดจะใชว้ สั ดุและมีมวลที่ต่างกันจึงทา
ให้ค่าซึมซาบสนามแม่เหล็ก(Permeability) ต่างกัน จึง
ทาให้ขดลวดที่ทาหนา้ ทร่ี บั สนามแม่เหล็กไฟฟ้า ไดร้ ับ
สนามแม่เหล็กไฟฟ้าท่ีต่างกันไป ซ่ึงจะนาค่าที่อ่าน
ไดม้ าอา้ งองึ ว่าเป็นเหรียญชนิดใด
การตรวจจบั ปริมาณเหรียญ
ใช้คลื่นอลั ตร้าโซนิคในการวดั ปริมาณ
เหรียญ โดยแต่ละ Tube จะมีเซ็นเซอร์อลั ตร้าโซ
นิค 1 ตวั โดยหลกั การวดั จะส่งคล่ืนอลั ตร้าโซนิค
ไปสะท้อนกับเหรียญใน Tube โดยอ้างอิงจาก
เวลาที่คลื่นสะท้อนกลับมายงั ตัวรับคลื่น และ
คานวณออกมาเป็ นปริมาณ
Page 15 นายณัชพล มากกญุ ชร
Bill Accepter การตรวจจบั ชนดิ ของธนบัตร
Optic Sensor ใช้ Optic Sensor ในการตรวจสอบชนิด
ของธนบัตร โดยการยิงแสงไปท่ีธนบัตรและนา
แสงทีส่ ะทอ้ น มาประมวลผลเป็นสญั ญาณไฟฟ้า
Optic Sensor จะประกอบไปด้วย ตัวส่ง
แสง (Emitter) และตัวรับแสง (Receiver) ตวั รับ
แสงจะทาหน้าท่ีวดั ปริมาณแสงและแปลงเป็ น
สัญญาณไฟฟ้าเพ่ือให้หน่วยประมวลผล คานวณ
วา่ เป็นธนบตั รชนิดใด
ตวั อย่างสญั ญาณไฟฟ้าท่ีอ่านไดจ้ าก Optic Sensor วดั ดว้ ย Oscilloscope
Page 16 นายณชั พล มากกญุ ชร
Page 17
นายณชั พล มากกญุ ชร
การควบคมุ มอเตอร์ลฟิ ท์
มอเตอร์ทน่ี ิยมใชเ้ ป็นส่วนขบั เคลื่อนลฟิ ทจ์ ะเป็นมอเตอร์แบบ Encoder ซ่ึงจะสามารถวดั รอบของ
มอเตอร์ได้ เพ่อื นาไประบวุ ่าลิฟทอ์ ยใู่ นช้นั ใด
Motor Encoder ใชห้ ลกั การเหนี่ยวนาสนามแม่เหล็กท่ีเป็ นจานหมุน และใช้ Hall Sensor ตรวจจบั
การเปล่ียนแปลงสนามแม่เหล็ก Hall Sensor จะเช่ือมต่อกบั วงจร Encoder ซ่ึงทาหนา้ ที่แปลงสัญญาณอนา
ล็อคเป็ นสัญญาณดิจิตอลออกมาเป็ นเอาต์พุตที่มีลักษณะสัญญาณ Pulse Wave ให้หน่วยประมวลผล
(Microcontroller) มาคานวณว่าลิฟทอ์ ยู่ท่ีช้นั ใด และใช้ Micro Switch หรือ Magnate Switch ตรวจสอบ จดุ
Origin และ Maximum
Micro Switch
ส่วนประกอบ Motor Encoder Magnate Switch
การนบั จานวนลูกคลื่นน้นั จะนบั จากขอบขาข้นึ (Rising) หรือขอบขาลง(Falling) ของสัญญาณ Pulse
Wave และการเช็คทศิ ทางการหมนุ เช็คจากการเปรียบเทียบสัญญาณ A และ B ถา้ สญั ญาณ A เกดิ ข้นึ กอ่ น
จะมีทิศทางการหมนุ ตามเข็มนาฬิกา ถา้ สญั ญาณ B เกิดก่อนจะมีทศิ ทางหมุนทวนเขม็ นาฬกิ า
Rising Falling
ตวั อย่างสัญญาณ Pulse Wave
Page 18 นายณัชพล มากกญุ ชร
การควบคุมมอเตอร์ Slot
การควบคุมมอเตอร์จะต่อวงจรแบบเมทริกซ์ (Matrix Control) โดยการทางานจะจา่ ยไฟฟ้าตามแถว
และคอลมั น์ ทีต่ อ้ งการควบคุม เช่น ตอ้ งการควบคมุ มอเตอร์ M8 Drive Board จะตอ้ ง On V3+ เป็น Logic
“1” และ V2- เป็น Logic “0”
Logic “1”
Logic “0”
วงจรสมมลู ควบคมุ มอเตอร์แบบ Matrix
วงจรภายในมอเตอร์ Slot มอเตอร์จะถูกควบคุมโดย Drive Board เชื่อมต่อกับ
วงจรควบคุมมอเตอร์ Matrix เม่ือ Drive Board จ่ายไฟฟ้าให้
มอเตอร์ มอเตอร์จะมีการอ่านค่าสัญญาณแรงดันไฟฟ้า เมื่อ
มอเตอร์หมนุ ไปทจ่ี ุดเริ่มตน้ ( สมั ผสั กบั Limit Switch จุด Home)
จะเกิดสัญญาณ Oscillator เพ่ือนาไปควบคุมให้มอเตอร์ให้หยุด
หมุน หรือนบั จาHนoวmนeรอบมOอscเตilอlaรt์or Home
V Run
Stop Stop
Page 19 นายณชั พล มากกญุ ชร
Door Pick Up ประตูรับสินค้า ขณะเปิ ดประตู
แผ่นก้นั กนั ขโมย
ประตรู ับสินคา้ จะมี 3 ประเภท
1. ไม่มรี ะบบล็อค จะกลไกในการป้องกนั การขโมยสินคา้ จะถกู ปิ ด
ขณะปิ ดประตู
2. มีระบบล็อค ประตูรับสินคา้ แบบมีระบบล็อคไฟฟ้า จะใช้กลอนไฟฟ้าในการล็อคประตูภายใน
กลอนไฟฟ้าจะมีลิมิตสวิตช์เช็คสถานะของกลอนว่าล็อคหรือไม่ล็อคอยู่ดว้ ย และมีการใชล้ ิมิตสวิตช์เช็ค
สภาวะการ ปิ ด - เปิ ด ประตู เพ่ือเช็คว่าประตูถูกปิ ดจริงหรือไม่ โดยไมโครคอนโทรลเลอร์จะทาหนา้ ทเ่ี ช็ค
สภาวะของกลอนไฟฟ้าและลิมติ สวติ ชป์ ระตู
3. แบบเปิ ด-ปิ ด ประตอู ตั โนมตั ิ จะใชม้ อเตอร์ควบคมุ การเปิ ด-ปิ ด ประตู ลูกคา้ ไมต่ อ้ งเปิ ดประตูดว้ ย
ตนเอง ทางานควบคู่กบั ลิมิตสวิตช์ในการเช็คจุด เปิ ด – ปิ ด ประตู มอเตอร์ท่ีใชจ้ ะเป็ น Gear Motor , Linear
Motor ข้นึ อยกู่ บั การออกแบบของผผู้ ลิต
Gear Motor Linear Motor
Partition Anti-Theft
นายณชั พล มากกุญชร
Page 20
Partition Anti-Theft หรือแผ่นก้นั กันขโมย จะมี 2 ประเภท ขณะเปิ ดประตู
แผน่ ก้นั กนั ขโมย
1. แบบระบบกลไก จะทางานร่วมกบั ประตูรับสินคา้
จะถูกปิ ด
ขณะปิ ดประตู
2. แบบระบบไฟฟ้า จะใชม้ อเตอร์ในการ เปิ ด - ปิ ด Partition และมี Limit Switch ทาหนา้ ท่ีเช็ค
ตาแหน่ง เปิ ด - ปิ ด Partition โดยใชก้ ารเชค็ สญั ญาณไฟฟ้า Oscillator เหมือนกบั มอเตอร์ Slot
Page 21 นายณชั พล มากกุญชร
Drop Sensor
ทาหน้าที่ตรวจจับสินค้าว่าเครื่องทาการจ่ายสินคา้ สาเร็จหรือไม่สาเร็จ โดยใช้รังสี Infrared
ตรวจสอบสินคา้
Infrared คือพลงั งานรังสีชนิดหน่ึงที่ตามนุษยม์ องไม่เห็น แต่เรารู้สึกได้ว่าเป็ นความร้อน วตั ถุ
ท้งั หมดในจกั รวาลปล่อยรังสีออกมาในระดบั หน่ึง แต่แหล่งที่มาที่ชัดเจนท่ีสุด 2 แหล่งคือดวงอาทิตยแ์ ละ
กองไฟ IR เป็ นรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหน่ึงซ่ึงเป็ นความถ่ีต่อเน่ืองที่เกิดข้ึนเม่ืออะตอมดูดซับแลว้ ปล่อย
พลงั งาน จากความถ่ีสูงสุดไปต่าสุด รังสีแม่เหล็กไฟฟ้ารวมถึงรังสีแกมมา รังสีเอกซ์ รังสีอลั ตราไวโอเลต
แสงทมี่ องเหน็ รังสี IR ไมโครเวฟและคลน่ื วทิ ยุ ท้งั หมดน้ีประกอบกนั เป็นสเปกตรมั แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า
400 – 750 nm
ส่วนประกอบ Drop Sensor IR Transmitter
ทาหน้าทก่ี าเนิดแสง Infrared ส่งไป
IR Receiver ยงั IR Receiver
ทาหน้าท่ีตรวจสอบแสง Infrared
ที่ส่ งมาจาก IR Transmitter และ
ประมวลผลว่าพบวตั ถหุ รือไม่ เพ่ือ
ส่งขอ้ มลู ไปยงั Microcontroller
Page 22 นายณัชพล มากกญุ ชร
หลักการทางาน Drop Sensor
เมอื่ มวี ตั ถตุ ดั ผา่ นระหว่าง IR Receiver และ IR Transmitter IR Receiver บางส่วนจะไมไ่ ดร้ บั แสง
Infrared ทาให้ Drop Sensor ตรวจสอบวา่ มีวตั ถุ และจะส่งสัญญาณเอาตพ์ ตุ จาก IR Receiver ไปยงั
ไมโครคอนโทรลเลอร์ เพือ่ ประมวลการทางานของ Vending Machine ใหค้ ืนเงนิ ลกู คา้
กรณีทสี่ ินคา้ มีลกั ษณะโปร่งใส Infrared จะไมส่ ามารถถูกสะทอ้ นออกมาได้ จึงทาให้ตรวจสอบวตั ถุ
ไมพ่ บ เน่ืองจาก IR Receiver ตรวจจบั Infrared ไดท้ ้งั หมด จงึ ไมค่ วรนามาจาหน่ายใน Vending Machine ท่ี
ใช้ Drop Sensor
Drop Sensor ขณะไม่มวี ตั ถุ Output “0" Drop Sensor ขณะมวี ตั ถุ Output “1”
Drop Sensor ขณะมวี ตั ถุที่ทาจากแกว้ หรือพลาสตกิ ใส
Output “0”
Page 23 นายณชั พล มากกุญชร
ระบบควบคุมอุณหภูมิ
ส่วนประกอบระบบควบคมุ อุณหภมู ิประกอบดว้ ย 2 ส่วน
1. ระบบควบคุมไฟฟ้า ทาหน้าท่ีควบคุมอุปกรณ์เครื่องกลไฟฟ้าใน Cooling Unit ให้เกิด
กระบวนการแลกเปล่ียนความรอ้ นภายในระบบ ซ่ึงจะทางานตามเงื่อนไขท่ีต้งั ไว้ เช่น การทา
อณุ หภมู ิ การละลายน้าแขง็ โดยระบบควบคมุ ไฟฟ้าจะมี 2 แบบ
1.1 แบบรวมกบั ชุดบอร์ดคอนโทรล Slot (Drive Board) สามารถควบคุมผา่ นซอฟทแ์ วรไ์ ด้
ถา้ กรณี Drive Board เสีย จะทาให้ระบบทาความเยน็ ไมท่ างานไปดว้ ย
1.2. แบบแยกส่วนเฉพาะระบบทาความเยน็ (Temperature Controller) ไม่สามารถควบคุม
ผา่ นซอฟทแ์ วร์ได้ ตอ้ งต้งั คา่ ทอ่ี ปุ กรณเ์ ทา่ น้นั ทางานแยกจาก Drive Board
2. Cooling Unit ทาหนา้ ท่ีแลกเปลี่ยนความรอ้ นภายในตูอ้ อกมานอกตู้ มสี ่วนประกอบดงั น้ี
แบบแยกส่วนชดุ คอยลร์ ้อนและคอยลเ์ ยน็ แบบรวมท้งั คอยลร์ ้อนและคอยลเ์ ยน็ ในชุดเดยี ว
Page 24 นายณัชพล มากกุญชร
วงจรระบบทาความเยน็
2.1 Compressor เคร่ืองอดั ทาหนา้ ทอี่ ดั และดดู สารทาความเยน็ ในระบบ
2.2 Evaporator คอยลเ์ ยน็ ทาหนา้ ทีด่ ดู ความร้อนบริเวณรอบๆ ทาใหส้ ารทาความเยน็ เดือด
เปลย่ี นสถานะสารทาความเยน็ จากของเหลวเป็นแกส๊
2.3 Condenser คอยลร์ อ้ น ทาหนา้ ทร่ี บั สารทาความเยน็ ที่มีสถานะเป็นแก๊สท่มี ีความดนั สูงและ
อณุ หภมู ทิ ี่สูง มาระบายความรอ้ นใหก้ ลน่ั ตวั เป็นของเหลว
2.4 Fan พดั ลม ทาหนา้ ทร่ี ะบายควายร้อนจะมีท้งั พดั ลมคอยลเ์ ยน็ และพดั ลมคอยลร์ อ้ น
พดั ลมคอยลเ์ ยน็ พดั ลมคอยลร์ อ้ น
Page 25 นายณัชพล มากกุญชร
2.5 Filter Drier ฟิ ลเตอร์ไดร์เออร์ ทาหนา้ ทก่ี รองส่ิงสกปรกและความช้ืนในระบบ
2.6 Metering Device อุปกรณล์ ดความดนั ทาหนา้ ทลี่ ดความดนั สารทาความเยน็ ให้มคี วามดนั
ตา่ ใหส้ ามารถเดือดเป็นไอท่อี ณุ หภูมติ า่ ในคอยลเ์ ยน็ จะมี 2 แบบคอื Expansion valve และ
Capillary Tube
Capillary Tube Expansion Valve
2.7 Refrigerant สารทาความเยน็ ทาหน้าที่ดูดซับและนาพาความร้อนดว้ ยการเปลี่ยนสถานะ
จากของเหลวให้เป็นไอ จากน้นั สามารถเปลยี่ นกลบั มาเป็นของเหลวเพอ่ื เขา้ สู่กระบวนการ
ทาความเยน็ อีกคร้ังไดโ้ ดยไมเ่ สื่อมสถานะ ซ่ึงมีหลายชนิด การเลือกใช้ชนิดสารทาความ
เยน็ น้นั ข้ึนอยกู่ บั การออกแบบระบบทาความเยน็
Page 26 นายณัชพล มากกญุ ชร
การบารุงรักษา Vending Machine
Mechanic Part
Payment Device
Cooling Unit
การแก้ไขปญั หาเบอื้ งต้น
มอเตอร์ไมท่ างาน
ประตูรับสินคา้ ไม่เปิด
ระบบทาความเยน็ ไม่ทางาน
เคร่ืองรับธนบตั รและเคร่ืองรับเหรียญ ขาดการเชื่อมตอ่
Page 27 นายณชั พล มากกญุ ชร