The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2017-06-10 02:00:11

5_Bay52 Safety Switching_Rev1

5_Bay52 Safety Switching_Rev1

เอกสารเผยแพร ภาคบานอยอู าศัย
หมวดท่ี 5 : ระบบความปลอดภัยของระบบไฟฟา (Safety Switching)

หมวดท่ี 5 : ระบบความปลอดภัยของระบบไฟฟา
(Safety Switching)

ชดุ การจดั แสดงท่ี 52
ระบบความปลอดภยั ของระบบไฟฟา

(Safety Switching)

1. หลักการของเทคโนโลยี

SAFETY SWITCHING คือ อุปกรณหรือเคร่ืองมือพิเศษท่ีชวยเพิ่มความปลอดภัยในบาน ซ่ึง
วงจรไฟฟาปกติทั่วไปทําไมได หนาที่ของระบบและสวิทชเหลานี้ก็คือ ชวยตรวจสอบการร่ัวไหลของ
กระแสไฟฟา โดยจะทําการตัดกระแสไฟฟาอยางรวดเร็วในกรณีที่เกิดการร่ัวไหลหรือการลัดวงจรที่
อุปกรณไ ฟฟา จดุ ใดๆ ภายในบาน ซึง่ มปี ระโยชนในการปองกันอันตรายจากไฟดูด และปองกันอัคคีภัยที่
จะเกดิ ขน้ึ ไดอยา งทนั ทวงที

หลักการของเทคโนโลยีน้ีจะแสดงวิธีการควบคุมและการใชระบบ SWITCHING โดยเนนการ
แยกหรือการใชสวิชทเดี่ยวที่เปนอิสระเพื่อความยืดหยุนในการใชงาน ทําใหสามารถเลือกระบบการ
ควบคุมเพ่ือความปลอดภัยท่ีเหมาะสม การออกแบบระบบแผงไฟฟาควบคุมเนนการแยกโซนโดย
คํานึงถึงความปลอดภัย ซ่ึงการออกแบบระบบความปลอดภัยของระบบไฟฟาตอไปนี้ จะอธิบายใหเห็น
ถึงความเหมาะสมในการประยุกตใ ชง านของระบบ

ระบบความปลอดภยั ของระบบไฟฟา (Safety Switching) ครอบคลุมถึง ระบบและอุปกรณตางๆ
ดังนี้

•เครอื่ งตัดกระแสไฟฟา รว่ั ลงดินอัตโนมัติ
•เซอรก ิตเบรคเกอรปองกนั กระแสไฟฟา รวั่
•ชดุ ควบคุมวงจรไฟฟาแบบมีเครื่องตดั วงจรกระแสไฟฟา รวั่ ลงดนิ โดยอตั โนมัติ

* เครื่องตัดกระแสไฟฟา รัว่ ลงดินอัตโนมัติ และเซอรก ิตเบรคเกอรป อ งกันกระแสไฟฟารัว่
สามารถแบง ออกไดเปน 2 ประเภท คือ

ชดุ การจดั แสดงที่ 52 : ระบบความปลอดภัยของระบบไฟฟา (Safety Switching) หนา 1 จาก 18

เอกสารเผยแพร ภาคบา นอยอู าศัย
หมวดที่ 5 : ระบบความปลอดภัยของระบบไฟฟา (Safety Switching)

1. เครื่องตัดวงจรกระแสเหลือแบบมีอุปกรณปองกันกระแสเกิน (Residual Current Operated
Circuit Breaker with Integral Overcurrent Protection – RCBO) หมายถึงเคร่ืองตัดวงจร
กระแสเหลอื ทอี่ อกแบบมาใหท ําหนาที่ปอ งกนั โหลดเกนิ และ/หรือลัดวงจร

รปู ท่ี 1 แสดงตัวอยา งเคร่ืองตดั วงจรกระแสเหลือ RCBO

2. เครื่องตัดวงจรกระแสเหลือแบบไมมีอุปกรณปองกันกระแสเกิน (Residual Current
Operated Circuit Breaker without Integral Overcurrent Protection – RCCB) หมายถึง
เครื่องตัดวงจรกระแสเหลือที่ไมไดออกแบบมาใหทําหนาที่ปองกันโหลดเกิน และ/หรือ
ลัดวงจร จึงตอ งใชรวมกับฟวส หรือ เซอรกติ เบรคเกอรด ว ยทกุ คร้งั

รปู ที่ 2 แสดงตวั อยา งเครื่องตัดวงจรกระแสเหลือ RCCB หนา 2 จาก 18

ชุดการจัดแสดงท่ี 52 : ระบบความปลอดภัยของระบบไฟฟา (Safety Switching)

เอกสารเผยแพร ภาคบา นอยูอาศัย
หมวดที่ 5 : ระบบความปลอดภัยของระบบไฟฟา (Safety Switching)

โดยที่ กระแสเหลือ (Residual Current) คือ ผลรวมทางเวกเตอรของคากระแสไฟฟาขณะใดๆ
(Instantaneous) ที่ไหลผานวงจรประธาน (Main Circuit) ของ RCBO (แสดงคาเปนคารากกําลังสอง
เฉลี่ย) โดยอุปกรณจะตัดวงจรเมื่อกระแสเหลือถึงคาที่กําหนด (คามาตรฐานของกระแสเหลือท่ีจะ
กาํ หนดใหตัดวงจรไฟฟาโดยทั่วไป คือ 5 10 30 100 และ 500 mA) ภายใตภาวะทกี่ ําหนด ตัวอยา ง เชน
RCBO 30mA จะตัดวงจรเมื่อมีกระแสไฟร่ัวเทา กบั 30 mA ภายใน 0.04 วินาที เปน ตน

* (ที่มา : มอก.909-2548 – มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม เครื่องตัดวงจรกระแสเหลือแบบมีอุปกรณ
ปอ งกนั กระแสเกินสําหรับใชในทอี่ ยอู าศยั และใชใ นลกั ษณะทค่ี ลายกัน)

เครอื่ งตัดกระแสไฟฟา รวั่ ลงดินอตั โนมัติ

เครื่องตัดกระแสไฟฟารั่วลงดินอัตโนมัติ ทําหนาที่ตัดวงจรไฟฟา เม่ือเกิดไฟฟาร่ัว ไฟฟาดูด
ไฟฟาลัดวงจร หรือมีการใชไฟฟาเกินขนาด โดยมีหลายลักษณะใหเลือกตามการใชงาน เชน เครื่องตัด
กระแสไฟฟาร่ัวลงดินอัตโนมัติแบบความไวตัดกระแสคงที่ แบบปรับความไวตัดกระแสได และเซอรกิต
เบรคเกอรปอ งกนั กระแสไฟฟา ร่วั เปน ตน

หลักการทํางานของเคร่ืองตัดกระแสไฟฟารั่วลงดินอัตโนมัติ คือใชการตรวจจับความไมสมดุล
ระหวางกระแสขาเขาและขาออก อันเน่ืองมาจากการมีกระแสไฟฟาร่ัวลงดิน (สภาวะลัดวงจรหรือ
กระแสไฟฟารั่ว เชน กระแสไฟฟาไหลผานคน หรืออุปกรณไฟฟาลงดิน) ทําใหอุปกรณไฟฟาที่ทําหนาท่ี
ตรวจจับความผิดปกติ ซึง่ ก็คอื หมอแปลงกระแส(Current Transformer : CT) เกดิ กระแสเหน่ียวนําไปส่ัง
การทํางานของระบบควบคุมการตัดวงจร (Tripping Device) ใหปลดหนาสัมผัสของอุปกรณตัดตอวงจร
เปนการสั่งตัดกระแสไฟฟาทั้งหมดท่ีเขาวงจรภายในเสี้ยววินาที นอกจากนี้หากตองการทดสอบการ
ทํางานของอุปกรณวาอยูในสภาพพรอมทํางานเม่ือเกิดเหตุฉุกเฉินหรือไม สามารถทดสอบโดยการกด
ปุม Test เพื่อเปนการทดสอบการรับสัญญาณและใหกลไกตางๆ ทํางานตามการจําลองที่สภาวะ
กระแสไฟฟา รัว่ ไดอ ีกดวย

สาํ หรบั แผนภาพการแสดงวงจรการทํางานของเครื่องตัดกระแสไฟฟาร่ัวลงดินอัตโนมัติ สามารถ
แสดงไดด ังนี้

ชดุ การจัดแสดงท่ี 52 : ระบบความปลอดภัยของระบบไฟฟา (Safety Switching) หนา 3 จาก 18

เอกสารเผยแพร ภาคบานอยอู าศัย
หมวดที่ 5 : ระบบความปลอดภัยของระบบไฟฟา (Safety Switching)

รูปที่ 3 แผนภาพแสดงวงจรการทาํ งานของเครอื่ งตดั กระแสไฟฟารวั่ ลงดินอัตโนมัติ

เคร่อื งตัดกระแสไฟฟารวั่ ลงดินอตั โนมัติ แบบความไวตัดกระแสคงท่ี (Fixed Sensitivity)

ทํางานโดยใชวงจรตรวจความแตกตางของกระแสไฟฟาเขาและออก เพื่อตรวจสอบการรั่วไหล
ใชติดต้ังแทนสวิทชเบรคเกอรเพ่ือปองกันอุปกรณไฟฟาเฉพาะจุด เชน เคร่ืองปรับอากาศ ตูเย็น เครื่อง
ซักผา เครื่องทําน้ําอุน โดยตัดวงจรทั้งหมด (สาย Line และ Neutral) ที่จายเขาอุปกรณไฟฟา มีความไว
ในการตัดวงจรเมื่อมีกระแสไฟฟาร่ัวลงดินคงท่ี 30 มิลลิแอมแปร โดยมีระยะเวลาในการตัดวงจรไมเกิน
0.05 วนิ าที

รูปที่ 4 เครื่องตดั กระแสไฟฟารว่ั ลงดินอัตโนมัติ - แบบความไวตดั กระแสคงที่

ชุดการจัดแสดงท่ี 52 : ระบบความปลอดภัยของระบบไฟฟา (Safety Switching) หนา 4 จาก 18

เอกสารเผยแพร ภาคบา นอยอู าศยั
หมวดที่ 5 : ระบบความปลอดภยั ของระบบไฟฟา (Safety Switching)

เครื่องตดั กระแสไฟฟา รวั่ ลงดินอัตโนมตั ิ แบบปรบั ความไวตดั กระแสได
(Adjustable Sensitivity)

ทํางานโดยใชชิพไมโครคอนโทรลเลอรควบคุมการใชงานเพื่อตัดวงจรไฟฟาท้ัง 2 สาย (สาย
Line และ Neutral) ที่เขา Load Centre เคร่ืองสามารถเลือกปรับระดับความไวในการตัดวงจรเมื่อมี
กระแสไฟฟารั่วลงดินโดยอัตโนมัติ หรือใหผูใชปรับต้ังความไวเองไดที่ 5, 10, 20 หรือ 30 มิลลิแอมแปร
โดยมรี ะยะเวลาในการตดั วงจรไมเกนิ 0.05 วนิ าที

รูปที่ 5 เครอ่ื งตดั กระแสไฟฟา รวั่ ลงดินอตั โนมัติ - แบบปรบั ความไวตดั กระแสได

เซอรก ติ เบรคเกอรป อ งกันกระแสไฟฟารั่ว

เปนเซอรกิตเบรคเกอรที่เพ่ิมฟงกชันการตรวจจับและตัดวงจรโดยอัตโนมัติ เม่ือมีกระแสไฟฟา
ร่ัวลงดิน โดยสามารถติดตั้งในตู Consumer Unit หรือ Load Centre แทนเซอรกิตเบรคเกอรทั่วไป เพ่ือ
ตัดไฟเฉพาะวงจรยอยที่เกิดกระแสไฟฟาร่ัวลงดิน เชน วงจรยอยของหองครัว หรือ หองนํ้าท่ีอุปกรณ
ไฟฟาที่เสี่ยงตอการเกิดไฟร่ัวและเปนอันตรายตอคนสูง เซอรกิตเบรคเกอรปองกันกระแสไฟฟาร่ัวจะ
ทํางานตัดวงจรแบบขั้วเดียว (เฉพาะสาย Line) โดยแตละตัวถูกกําหนดระดับการตรวจจับกระแสร่ัวไหล
ทคี่ งท่ี เชน 10,16 หรอื 30 มิลลแิ อมแปร

ตวั อยา งเซอรกติ เบรคเกอรป องกนั กระแสไฟฟา รัว่ มีดงั ตอไปน้ี

ชุดการจดั แสดงที่ 52 : ระบบความปลอดภัยของระบบไฟฟา (Safety Switching) หนา 5 จาก 18

เอกสารเผยแพร ภาคบา นอยอู าศัย
หมวดที่ 5 : ระบบความปลอดภัยของระบบไฟฟา (Safety Switching)

รปู ที่ 6 เซอรก ติ เบรคเกอรปองกนั กระแสไฟฟา รว่ั แบบตรวจจบั กระแสร่วั ไหล 5 mA

รปู ท่ี 7 เซอรกติ เบรคเกอรปอ งกันกระแสไฟฟาร่ัว แบบตรวจจับกระแสรวั่ ไหล 10 mA

ชดุ การจัดแสดงท่ี 52 : ระบบความปลอดภัยของระบบไฟฟา (Safety Switching) หนา 6 จาก 18

เอกสารเผยแพร ภาคบา นอยอู าศัย
หมวดท่ี 5 : ระบบความปลอดภัยของระบบไฟฟา (Safety Switching)

รูปท่ี 8 เซอรกติ เบรคเกอรป องกันกระแสไฟฟารวั่ แบบตรวจจบั กระแสรว่ั ไหล 30 mA

รูปท่ี 9 ชุดเซอรกิตเบรคเกอรป องกนั กระแสไฟฟา ร่ัว ท่ีตดิ ตั้งประกอบเปน ชดุ ควบคมุ วงจรไฟฟา

ชดุ การจัดแสดงท่ี 52 : ระบบความปลอดภยั ของระบบไฟฟา (Safety Switching) หนา 7 จาก 18

เอกสารเผยแพร ภาคบา นอยูอ าศยั
หมวดที่ 5 : ระบบความปลอดภัยของระบบไฟฟา (Safety Switching)

ชดุ ควบคุมวงจรไฟฟา แบบมีเครอ่ื งตดั วงจรกระแสไฟฟา รั่วลงดนิ โดยอัตโนมตั ิ

ปจจุบัน ตูเมนสวิทชท่ีใชตัดตอวงจรไฟฟาของสายเมนที่ใชกับบานอยูอาศัย จะใชตูควบคุมท่ี
เรียกวา ชุดควบคุมวงจรไฟฟา (Consumer Unit) โดยเปนชุดควบคุมวงจรไฟฟาแบบมีเครื่องตัดวงจร
กระแสไฟฟารั่วลงดินโดยอัตโนมัติพรอมกับเซอรกิตเบรคเกอรยอย ที่สามารถนําไปติดตั้งและใชงานได
ทันที มีขนาดใหเลอื กตามจํานวนชองของวงจรยอ ย เชน 4, 6, 8, 10, หรอื 14 ชอง เปน ตน

รูปที่ 10 แผนผงั แสดงการตอ สายจากชดุ ควบคมุ วงจรไฟฟา หนา 8 จาก 18

ชุดการจดั แสดงที่ 52 : ระบบความปลอดภัยของระบบไฟฟา (Safety Switching)

เอกสารเผยแพร ภาคบานอยอู าศัย
หมวดท่ี 5 : ระบบความปลอดภยั ของระบบไฟฟา (Safety Switching)

2. การประยุกตใชง านเทคโนโลยี

¾ สภาพทเ่ี หมาะสมในการใชง าน

การประยุกตใชงานเครื่องตัดกระแสไฟฟาร่ัวลงดินอัตโนมัติใหไดผลดียิ่งขึ้น มีความ
จําเปนที่จะตองมีการตอระบบสายดิน (Grounding or Earthing System) ท่ีเหมาะสม กลาวคือ
มีการเดินระบบสายดิน (Protective Earthing Conductor หรือ Equipment Grounding
Conductor) ที่ตอเขากับหลักดิน (Ground Rod หรือ Earth Electrode) และปลายดานหนึ่งของ
สายดินตอเขากับจุดท่ีเปนสายศูนย (Neutral) ที่เมนสวิทชของบานอยูอาศัย โดยขนาดและชนิด
ของสายดินจะตองเปนไปตามมาตรฐานและกฎการเดินสายและติดต้ังอุปกรณไฟฟาของการ
ไฟฟานครหลวง

¾ กลมุ เปา หมายการประยุกตใชเทคโนโลยี

ผูออกแบบ ผูรับเหมา และประชาชนท่ัวไปควรใหความสําคัญอยางสูงสุดกับการ
ออกแบบ ติดต้ัง และใชงานอุปกรณปองกันไฟฟาลัดวงจร (ไฟฟาชอต) หรือ ไฟฟารั่ว (ไฟฟา
ดูด) เน่ืองจากการออกแบบ ติดต้ัง และใชงานท่ีไมเหมาะสมนํามาซึ่งการสูญเสียของชีวิตและ
ทรัพยส ินไดโดยงา ย

นอกจากนี้ การติดต้ังระบบสายดิน ยังเปนการปองกันไมใหมีผูถูกไฟฟาดูด กรณีมี
กระแสไฟฟาร่ัวจากอุปกรณไฟฟา เน่ืองจากกระแสไฟฟาร่ัวจากเครื่องใชไฟฟาจะไหลลงดินทาง
สายดิน โดยไมผานรางกายผูสัมผัสเคร่ืองใชไฟฟาน้ัน เปนผลทําใหอุปกรณปองกันไฟฟา
ลดั วงจร และ/หรอื ไฟฟาร่ัวจะตัดกระแสไฟฟาออกทันที

เคร่ืองใชไฟฟาบางประเภท เชน คอมพิวเตอร อุปกรณอิเล็กทรอนิกส อุปกรณส่ือสาร
อาจทํางานไดไมสมบรู ณห รือชาํ รดุ ไดง ายหากไมมีสายดิน

ชุดการจัดแสดงท่ี 52 : ระบบความปลอดภยั ของระบบไฟฟา (Safety Switching) หนา 9 จาก 18

เอกสารเผยแพร ภาคบานอยูอาศยั
หมวดท่ี 5 : ระบบความปลอดภัยของระบบไฟฟา (Safety Switching)

3. ตวั อยา งขอ มูลดานเทคนคิ ของเทคโนโลยี

• เครอ่ื งตัดกระแสไฟฟารว่ั ทีใ่ ชปองกันไฟดูดตองมีคุณสมบัติและการใชงานอยางไร

1. พิกัดขนาดกระแสไฟฟาร่ัวสําหรับวงจรยอยโดยท่ัวไปตองไมเกิน 30 mA และ
ตัดไฟไดภายในระยะเวลา 0.04 วินาที เม่ือมีไฟร่ัวขนาด 5 เทาของพิกัด
(=150mA)

2. ควรติดต้ังใชง านเฉพาะจุด เชน วงจรเตารับในหองครัว หองนํ้า หองเด็กๆ หรือ
วงจรเตารับ/สายไฟท่ีตอไปใชง านนอกอาคารทง้ั ชว่ั คราวและถาวร

3. ถาจะติดต้ังรวมที่เมนสวิตชจะตองแยกวงจรที่มีคาไฟรั่วตามธรรมชาติมาก
ออกไป เชน อปุ กรณปอ งกันฟาผา , เครื่องปรับอากาศ, อุปกรณที่มีโอกาสเปยก
ชนื้

4. เมื่อตอ งการใหเ ครื่องตัดไฟรัว่ สามารถปองกันทุกวงจรท่ีเมนสวิตช (ใชไดเฉพาะ
ระบบท่ีมีสายดิน เปนมาตรการเสริมปองกันอัคคีภัย และไฟฟาดูด) ใหใชขนาด
ต้ังแต 100 mA เปนตนไป โดยอาจเปน 300 หรือ 500 mA ก็ได ข้ึนอยูกับ
ปริมาณของกระแสไฟรั่วตามธรรมชาติ สําหรับขนาด 30 mA นั้นก็ยังคงใช
รวมกันในวงจรยอยซึ่งอาจใชหลายตัวก็ได และหากมีปญหาการทํางานพรอม
กันใหเลือกชนดิ ที่มกี ารหนวงเวลา (Type S) สาํ หรับเคร่อื งตดั ไฟรั่วทเี่ มนสวติ ช

• ขอแนะนาํ เพือ่ ความปลอดภัย

ระบบปจ จบุ นั ขอ แนะนําเพอ่ื ความปลอดภยั
ตองมีระบบสายดิน
ถา ไมมรี ะบบสายดิน
หรอื เคร่อื งตดั กระแสไฟฟา รวั่ อตั โนมัติ ตอ งมรี ะบบสายดิน
ถา มีเครื่องตดั กระแสไฟฟาร่ัวอตั โนมัตอิ ยแู ลว ควรมีเครื่องตดั กระแสไฟฟา รั่วอัตโนมัติ

ถามีระบบสายดิน

ตารางท่ี 1 ขอ แนะนําการพิจารณาตดิ ตั้งระบบความปลอดภัยทางไฟฟา

ชุดการจัดแสดงที่ 52 : ระบบความปลอดภยั ของระบบไฟฟา (Safety Switching) หนา 10 จาก 18

เอกสารเผยแพร ภาคบานอยูอ าศยั
หมวดท่ี 5 : ระบบความปลอดภยั ของระบบไฟฟา (Safety Switching)

•ตัวอยางคุณลกั ษณะของเครือ่ งตดั กระแสไฟฟารว่ั อัตโนมัติ (RCBO)

ชดุ การจัดแสดงที่ 52 : ระบบความปลอดภยั ของระบบไฟฟา (Safety Switching) หนา 11 จาก 18

เอกสารเผยแพร ภาคบานอยูอาศัย
หมวดท่ี 5 : ระบบความปลอดภยั ของระบบไฟฟา (Safety Switching)

ชุดการจดั แสดงท่ี 52 : ระบบความปลอดภยั ของระบบไฟฟา (Safety Switching) หนา 12 จาก 18

เอกสารเผยแพร ภาคบา นอยูอ าศยั
หมวดท่ี 5 : ระบบความปลอดภัยของระบบไฟฟา (Safety Switching)

• เคร่อื งใชไฟฟา ชนดิ ใดทจี่ าํ เปน /ไมจ าํ เปน ตอ งมีสายดนิ

เครื่องใชไฟฟาที่จําเปนตองมีสายดิน ไดแก เคร่ืองใชไฟฟาที่มักมีไฟรั่วไดงาย มีสวน
ภายนอกท่ีเปนโลหะหรือเกี่ยวของกับนํ้า หรือ ความรอน เชน ตูเย็น เตารีด เคร่ืองซักผา หมอ
หุงขาว เครื่องปรับอากาศ กะทะไฟฟา ตูแช เตาไฟฟา เตาไมโครเวฟ กระติกนํ้ารอน เคร่ืองทํา
นํ้ารอน/อุน เคร่ืองปงขนมปง เปนตน เครื่องใชไฟฟาประเภทนี้ เรียกวา เปน เครื่องใชไฟฟา
ประเภท 1 โดยจะมสี ัญญลกั ษณ กาํ กบั ทีอ่ ปุ กรณไ ฟฟา

เครื่องใชไฟฟาท่ีไมจําเปนตองมีสายดิน ไดแก เคร่ืองใชไฟฟาท่ีมีการหุมดวย
ฉนวนไฟฟาที่มีความหนาเปน 2 เทาของเคร่ืองใชไฟฟาท่ีตองมีสายดิน จึงมักเรียกวาเปน
เครื่องใชไฟฟาประเภท 2 หรือประเภทฉนวน 2 ชั้น โดยมีสัญญลักษณเปนรูปส่ีเหลี่ยมจัตุรัส
ซอ นกนั 2 ชน้ั ปรากฎบริเวณหนาปทมของเครอ่ื ง ดังมีสญั ญลักษณตอ ไปนี้

สัญญลักษณ หรอื สญั ญลกั ษณ

ตัวอยางของเคร่ืองใชไฟฟาประเภทน้ี ไดแก วิทยุ โทรทัศน พัดลม เปนตน (อยางไรก็
ตาม หากใชไขควงลองไฟทดสอบ แตยังมีไฟร่ัวก็แสดงวา ผูผลิตนั้นผลิตอุปกรณไฟฟาไมได
มาตรฐานและจาํ เปนตอ งมีสายดนิ )

นอกจากน้ยี ังมีเคร่ืองใชไฟฟาอีกประเภทหนึ่งที่ไมตองมีสายดิน ไดแก เคร่ืองใชไฟฟาที่
ใชแรงดันไมเกิน 50 โวลต เชน เคร่ืองโกนหนวดไฟฟา โทรศัพท เปนตน เคร่ืองใชไฟฟา

ประเภทน้เี รยี กวา เครอ่ื งใชไฟฟา ประเภท 3 โดยมสี ัญญลักษณ คือ

ชุดการจดั แสดงที่ 52 : ระบบความปลอดภัยของระบบไฟฟา (Safety Switching) หนา 13 จาก 18

เอกสารเผยแพร ภาคบานอยูอาศัย
หมวดที่ 5 : ระบบความปลอดภยั ของระบบไฟฟา (Safety Switching)

• ขอ ควรพิจารณาเก่ียวกับการติดตงั้ สายดิน

1. จุดตอลงดินของระบบไฟฟา (จุดตอลงดินของเสนศูนยหรือนิวทรัล) ตองอยูดานไฟเขา
ของเครอ่ื งตัดวงจรตัวแรกของตเู มนสวิตช

2. ภายในอาคารหลงั เดยี วกนั ไมควรมจี ดุ ตอลงดินมากกวา 1 จุด
3. สายดินและสายเสนศูนย (นิวทรัล) สามารถตอรวมกันไดเพียงแหงเดียวที่จุดตอลงดิน

ภายในตูเมนสวิตช หามตอรวมกันในท่ีอื่นๆ เชน ในแผงสวิตชยอยจะตองมีขั้วสายดิน
แยกจากขัว้ ตอ สายศูนย และหามตอถึงกันโดยมีฉนวนคั่นระหวางข้ัวตอสายเสนศูนยกับ
ตวั ตูซ ึง่ ตอ กับขว้ั ตอสายดิน
4. ไมควรตอโครงโลหะของเคร่ืองใชไฟฟาลงดินโดยตรง แตถาไดดําเนินการไปแลวให
แกไขโดยมีการตอลงดินที่เมนสวิตชอยางถูกตองแลวเดินสายดินจากเมนสวิตชมาตอ
รวมกับสายดินทใี่ ชอ ยูเ ดิม
5. ไมควรใชเซอรกิตเบรคเกอรชนิด 120/240 V กับระบบไฟ 220V เพราะพิกัด IC จะ
ลดลงประมาณครึ่งหนึ่ง
6. การติดต้ังเครื่องตัดไฟร่ัว จะเสริมการปองกันใหสมบูรณแบบยิ่งขึ้น เชน กรณีที่มักจะมี
น้ําทวมขัง หรือ กรณีสายดินขาด เปนตน และจุดตอลงดินตองอยูดานไฟเขาของเครื่อง
ตัดไฟรว่ั เสมอ
7. ถาตเู มนสวิตชไมม ขี ั้วตอสายดินและข้ัวตอสายเสนศูนยแยกออกจากกัน เครื่องตัดไฟรั่ว
จะตอใชไ ดเฉพาะวงจรยอยเทานน้ั จะใชต ัวเดยี วปองกันทง้ั ระบบไมได
8. วงจรสายดนิ ทถี่ กู ตอ งในสถาวะปกตจิ ะตอ งไมม กี ระแสไฟฟา ไหล
9. ถาเดนิ สายไฟในทอโลหะ จะตอ งเดนิ สายดนิ ในทอโลหะน้ันดว ย
10. ดวงโคมไฟฟาและอุปกรณติดตั้งท่ีเปนโลหะควรตอลงดิน มิฉะนั้นตองอยูเกินระยะท่ี
บุคคลท่ัวไปสมั ผัสไมถงึ (สงู 2.40 เมตร หรือหา ง 1.50 เมตร ในแนวราบ)
11. ขนาดและชนิดของอุปกรณระบบสายดิน ตองเปนไปตามมาตรฐานกฎการเดินสายและ
ติดตง้ั อุปกรณไฟฟาของการไฟฟา นครหลวง

(ทมี่ า : เวบไซดก ารไฟฟานครหลวง www.mea.or.th)

ชุดการจดั แสดงท่ี 52 : ระบบความปลอดภยั ของระบบไฟฟา (Safety Switching) หนา 14 จาก 18

เอกสารเผยแพร ภาคบานอยอู าศัย
หมวดท่ี 5 : ระบบความปลอดภัยของระบบไฟฟา (Safety Switching)

• ผังแสดงการตอลงดนิ และการตอ สายดนิ ของอปุ กรณไ ฟฟา

ผงั แสดงการตอลงดนิ และการตอ สายดินของอปุ กรณไ ฟฟา
(ที่มา : การไฟฟานครหลวง)

ชุดการจัดแสดงที่ 52 : ระบบความปลอดภยั ของระบบไฟฟา (Safety Switching) หนา 15 จาก 18

เอกสารเผยแพร ภาคบา นอยูอาศัย
หมวดท่ี 5 : ระบบความปลอดภยั ของระบบไฟฟา (Safety Switching)

• มาตรฐานของอปุ กรณท ีเ่ กย่ี วของกบั ระบบสายดนิ

1. หลักดิน (Earth Electrode หรือ Ground Rod) จะตองทําดวยโลหะที่ไมเปน
สนมิ หรอื ไมผุกรอ น เชน แทง ทองแดง หรือ แทง เหล็กชุบหรือหุมดวยทองแดงมี
ขนาดไมต า่ํ กวา 5/8 น้ิว และยาว 2.40 เมตร

2. หากหลักดินเปนเหล็กชุบ หรือ หุมดวยทองแดงตองมีความหนาทองแดงไมต่ํา
กวา 0.25 มม. และตองหุมอยางแนบสนิทเปนเนื้อเดียวกันโดยไมลอกหรือหลุด
ออกจากเหล็ก และไมมีสวนของเน้ือเหล็กโผลใหเห็น ซึ่งตองผานการทดสอบ
ตามมาตรฐาน UL-467 หามใชอ ลูมเิ นียม หรือโลหะผสมอลูมเิ นยี มเปนหลกั ดนิ

3. การตอสายดินเขากับหลักดินวิธีท่ีดีที่สุด คือ ใชหัวตอชนิดเผาใหหลอมละลาย
(Exothermic Welding) ซ่ึงจะเช่ือมละลายสายตอหลักดินและหลักดินเขาเปน
เนอื้ เดยี วกัน หรือ อาจใชหวั ตอ ชนดิ ท่ียึดดว ยแรงกล เชน หัวตอชนดิ นอต (แบบ
แคลมป) หรือหัวตอ แบบลิ่ม (Wedge)

4. ขนาดของสายตอหลักดินและสายดินตองทนกระแสลัดวงจรไดตามตาราง
ตอไปนี้

ตารางที่ 2 ขนาดตา่ํ สดุ ของสายตอหลกั ดิน ตามขนาดสายเมนเขาอาคาร

ชุดการจัดแสดงที่ 52 : ระบบความปลอดภยั ของระบบไฟฟา (Safety Switching) หนา 16 จาก 18

เอกสารเผยแพร ภาคบานอยอู าศยั
หมวดท่ี 5 : ระบบความปลอดภัยของระบบไฟฟา (Safety Switching)

ตารางท่ี 3 ขนาดตํา่ สุดของสายดิน ตามขนาดพกิ ัดของเครอื่ งปอ งกันกระแสเกนิ
5. สขี องฉนวนของสายไฟฟา มีการกาํ หนดเปน มาตรฐานดังตอ ไปน้ี

ตารางท่ี 4 สขี องฉนวนสายไฟฟา ตามมาตรฐานตางๆ

ชดุ การจัดแสดงท่ี 52 : ระบบความปลอดภยั ของระบบไฟฟา (Safety Switching) หนา 17 จาก 18

เอกสารเผยแพร ภาคบา นอยูอาศัย
หมวดที่ 5 : ระบบความปลอดภัยของระบบไฟฟา (Safety Switching)

แหลง ขอ มูลอา งอิง

• มอก.909-2548 – มาตรฐานผลติ ภัณฑอ ตุ สาหกรรม เคร่อื งตัดวงจรกระแสเหลือแบบมี
อุปกรณป องกันกระแสเกินสาํ หรบั ใชในท่อี ยูอ าศัยและใชใ นลกั ษณะที่คลา ยกัน

• การไฟฟานครหลวง (www.mea.or.th)

ชดุ การจดั แสดงท่ี 52 : ระบบความปลอดภยั ของระบบไฟฟา (Safety Switching) หนา 18 จาก 18


Click to View FlipBook Version