The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นางสาวสุกฤตา เพชรตะโก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-09-13 04:01:48

นางสาวสุกฤตา เพชรตะโก

นางสาวสุกฤตา เพชรตะโก

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาสังคมศกึ ษา ส32101 โรงเรียนสตรรี าชินทู ศิ ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปท่ี 5 ครูเดชา วงศคำพระ 2564 1

หนว ยการเรยี นรูท่ี 1

แผนทีแ่ ละเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร

เร่ืองที่ 1 ความรูทว่ั ไปเก่ยี วกับภมู ศิ าสตร

1. ภมู ศิ าสตร (Geography) ซงึ่ มาจากรากศัพทภาษากรกี Geo + Graphos
Geo คอื ...................ภ..ู.ม..ิ.ศ...า..ส...ต...ร.์.....................Graphos คือ ศาสตรห รอื วชิ าท่ีวาดว ยการศกึ ษา บรรยายหรอื พรรณนา

ดงั น้ัน ภมู ศิ าสตร คือ..ว.ิ.ช...า..ท.ี.่เ..ก.ี่.ย...ว..ก.ั..บ..ค...ว..า...ม..ส.ั..ม..พ..ั.น...ธ.์.ร..ะ..ห...ว.่.า..ง..ส.ิ.่.ง..แ..ว..ด...ล.้..อ..ม...ท..า...ง..ธ..ร..ร..ม...ช..า..ต..ิ.ก.ั..บ..ส..ั.ง..ค...ม..ใ...น..ด..ิ.น...แ..ด...น..ต..่.า..ง..ๆ...................

2. ภมู ศิ าสตร (Geography) (สพฐ) หมายถงึ ภาพปฏิสมั พันธของธรรมชาติ มนุษยและวฒั นธรรมรปู แบบตาง ๆ

3. บุคคลแรกทน่ี ำเอาคำวา “ภมู ศิ าสตร” มาใช คือ นักภมู ศิ าสตรช าวกรกี ชือ่ อรี าโทสธีเนส (Eratosthenes)

4. ลักษณะวชิ าภมู ศิ าสตร เปน ศาสตรในแขนงหน่ึงของสงั คมศาสตรซ งึ่ เปน วิชาพลวตั ดังนัน้ เนอ้ื หาหรอื ขอบขา ย

จึงเปลยี่ นแปลงตลอดเวลาและขยายกวางขวางข้นึ จนผูคนไมแนใ จวิชาภมู ศิ าสตรศ กึ ษาเรื่องราวเกีย่ วกบั อะไร

กนั แน จะจัดเปนวทิ ยาศาสตรห รอื สงั คมศาสตรด ี

5. สาขาวชิ าภูมศิ าสตร แบง ได 3 สาขา ดงั นี้

สาขาวชิ าภมู ิศาสตร การศึกษา ตวั อยาง
5.1 ภูมิศาสตรก ายภาพ
(Physical Geography) ศึกษาเกย่ี วกับเร่อื งราวของภมู ทิ ศั นทเ่ี กดิ ขน้ึ เชน
เองตามธรรมชาติ
....อ.ุท..ก..ว.ิ.ท..ย.า.............................

5.2 ภูมศิ าสตรมนษุ ย ศกึ ษาเกีย่ วกับภมู ิทศั นทางวฒั นธรรม ........
(Human Geography)
……เ…ป็…น…ส…า…ข…า…เก…ี่ย…ว…ก…ับ…ล…ัก…ษ…ณ……ะ…พื้…น…ผิ…ว…
5.3 ภมู ิศาสตรด านเทคนคิ และปฏบิ ตั กิ าร เปนสาขาทชี่ วยเสรมิ การศกึ ษากับ …
(Geographic Technique) ภมู ศิ าสตรส าขาอ่นื ๆ ……แ…ล…ะ…ก…ร…ะ…บ…ว…น…ก…าร…เ…กิ…ด…รู…ป…ร่…า…ง ………
ใหมีผลและมปี ระสทิ ธภิ าพมากข้นึ เชน

...ป..ร.ะ.ช..า..ก.ร...ป..ร.ะ.เ.ท..ศ...เ.ม.ื.อ..ง.ห..ล..ว.ง.......
...ส.ถ..า..นที่

………………………………………………………………

……………………………………………………………
เชน

......ก..า.ร..อ.อ..ก..ภ..า.ค..ส..น..า.ม...ก..า.ร...........
…..…..…..…สก.ั.…มาร…ภท…าำ…ษง…ณา์…น…กข…าอร…งว…ริีจโ…ัยม…ต…กเ…าซร…นส…ัซม…ิงม…น…า…


………………………………………………………………..
………………………………………………………………..
………………………………………………………………..

6. ความสำคญั ของการศกึ ษาวชิ าภมู ศิ าสตร

26 .เอกสารประกอบการสอนรายวชิ าสังคมศกึ ษา ส32101 โรงเรียนสตรรี าชนิ ูทิศ ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ 5 ครูเดชา วงศคำพระ 2564

เปนพน้ื ฐาน สามารถชว ยใหนักเรยี นวิเคราะหเหตุผลประกอบกบั การสงั เกต พิจารณาสิ่งทเ่ี ปลย่ี นแปลงทางดา น
กายภาพบนพน้ื พภิ พไดเปนอยางดี นำไปสกู ารปรบั ตวั ใหเขากบั สภาพแวดลอมทีด่ ี

เรื่องที่ 2 เครื่องมือทางภูมิศาสตร

1. เครอื่ งมอื ทางภมู ิศาสตร คือ .....ว.ั.ส...ด..ุ..อ..ุ.ป...ก...ร..ณ..์..ใ...น...ร.ู.ป...แ...บ...บ...ต..่.า...ง..ๆ...ท.ี.่.น..ำ...ม...า...ใ..ช..้.เ..ป.็..น...ส.ื่.อ. .เ.พ.ื..่.อ..ก...า...ร..ศ.ึ..ก...ษ...า..ก...า..ร...ส..ำ...ร..ว...จ...................

.......................... .......................................................................................... ..........................................................................................

2. เครือ่ งมอื ทางภมู ศิ าสตรมี 2 ประเภท คอื
2.1 .....เ..ค...ร.ื่.อ...ง..ม.ื..อ...ท...า..ง..ภ..ู.ม..ิ.ศ...า..ส...ต...ร.์.ป...ร...ะ..เ.ภ...ท...ใ...ห.้..ข.้.อ...ม..ู.ล............ ..........................................................................................
2.2 ....เ.ค..ร.ื.่อ..ง..ม..ื.อ..ท...า..ง..ภ.ู.ม.ิ..ศ..า..ส..ต...ร.์.ป..ร..ะ..เ.ภ...ท..ใ...ช.้.ห..า..ข..้.อ..ม.ู.ล..................... ..........................................................................................

.......................................................................................... .......................................................................................... ....................

เรอื่ งที่ 3 แผนท่ี (Map)

แผนที่ (Map) หมายถึง ...ร.ู.ป..ภ...า..พ..อ...ย.่.า..ง..ง.่.า..ย..ซ.ึ.่.ง..จ..ำ..ล..อ..ง..บ...ร.ิ.เ.ว..ณ...บ...ร.ิ.เ.ว..ณ...ห...นึ.่.ง..แ..ล..ะ..ม.ี..ก..า..ร..แ..ส...ด..ง..ค...ว..า..ม..ส.ั.ม...พ.ั..น.ธ.์.ร..ะ.ห...ว.่.า..ง..อ..ง..ค.์..ป..ร..ะ..ก..อ..บ...ต.่.า..ง..ๆ.............

.................................... ..........................................................................................

..........................................................................................ชนดิ ของแผนท่ี
แผนทมี่ ีการแบงไดหลายลักษณะในทน่ี ยี้ กตัวอยา งเพยี งสว นหนงึ่

1.1 ชนดิ ของแผนท่แี บง ตามลักษณะการใชง าน
1) แผนทอี่ างองิ (General reference map) เชน ......ที.่.ร..า..บ....ที.่.ร..า..บ...ส.ู.ง...เ.น.ิ..น..เ.ข...า...แ..ม.่.น..้.ำ...เ.ก...า..ะ...............................
2) แผนทีเ่ ฉพาะเรือ่ ง (Thematic map) สรางขึน้ เพือ่ แสดงรายละเอยี ดเฉพาะเรอ่ื งใดเรอ่ื งหน่งึ เปนการเฉพาะ
เชน ..................แ..ผ...น...ท.ี.่.ร.ั.ฐ...ก.ิ.จ....แ...ผ...น...ท.ี.่ป....ร..ะ..ช...า..ก...ร...แ...ผ...น...ท.ี.่.ภ.ู..ม.ิ..อ..า.ก...า..ศ.....แ..ผ...น...ท.ี.่.ห...ล...ว..ง............................................................
3) แผนที่เลม (Atlas map) เปนแผนท่ี ท.ี่.ร..ว..ม...แ..ผ..น..ท.ี.่.ต.่.า..ง..ๆ..ท.ั.้.ง..ล.ั.ก..ษ...ณ...ะ..ท..า..ง..ก..า..ย..ภ...า..พ....ค.่.า..เ.ฉ...ลี.่.ย..ฝ..น....ค.่.า..เ..ฉ..ล.ี่.ย..อ..ุ.ณ...ห..ท...า..ง.เ..ศ..ร..ษ..ฐ...ก.ิ.จ...

1.2 ชนดิ ของแผนที่แบงตามมาตราสวน สำหรับนักการทหาร
1) แผนที่มาตราสว นขนาดใหญ (Large scale map) มขี นาดใหญก วา 1 : 75,000
(ตัวเลขนอยกวา 75,000) มลี กั ษณะ ครอบคลุมพ้ืนที่จรงิ เลก็ ๆ แตใ หร ายละเอียดมาก เชน
2) แผนทม่ี าตราสวนขนาดกลาง (Medium scale map) มขี นาด 1 : 75,000 – 1: 600,000
ครอบคลุมพ้นื ทจ่ี รงิ ไดกวางใหญขึน้ แตใหร ายละเอยี ดนอยลง นิยมใชเขยี นแผนที่ จงั หวัด ภาคหรอื ประเทศ
3) แผนทีม่ าตราสวนขนาดเลก็ (Small scale map) มขี นาดเลก็ กวา 1 : 600,000
(ตวั เลขมากกวา 600,000) ครอบคลมุ พ้ืนทจ่ี ริงกวางใหญขน้ึ แตใ หร ายละเอียดนอ ยลงมาก
นิยมใชเ ขยี นแผนท่ี โลกและแผนท่ีทวีป

แบงตามมาตราสวนโดยนกั ภมู ศิ าสตร
1) แผนทมี่ าตราสวนขนาดใหญ (Large scale map) มีขนาดใหญกวา 1 : 250,000
2) แผนท่มี าตราสวนขนาดกลาง (Medium scale map) มีขนาดระหวาง 1 : 250,000 – 1 : 1,000,000
3) แผนที่มาตราสว นขนาดเลก็ (Small scale map) มีขนาดเล็กกวา 1 : 1 000 000

เอกสารประกอบการสอนรายวชิ าสงั คมศกึ ษา ส32101 โรงเรียนสตรีราชินทู ศิ ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 5 ครูเดชา วงศคำพระ 2564 3

1.3 ชนดิ ของแผนทแ่ี บง ตามชนิดการใช
1) แผนที่โฉนดท่ดี ิน (Cadastral map)
2) แผนที่การบนิ (Aeronautical Charts)
3) แผนที่รฐั กิจหรือการเมือง (Political map) ใชแ สดงขอบเขตของการปกครอง
4) แผนทส่ี ถิต/ิ แผนท่แี สดงปรมิ าณ
4.1) Dot Maps แสดงดว ยจุด ปรมิ าณจดุ ทแี่ สดงบนแผนที่แสดงถงึ ความหนาแนน
เชน ..............แ..ผ..น...ที.่.แ..ส...ด..ง..ค..ว..า..ม...ห..น..า..แ...น.่.น..ข...อ..ง..ป..ร..ะ..ช..า..ก..ร.................เปน ตน
4.2) Isoplete Maps แสดงดวยเสน เทา คอื ....เ.ป.็.น...แ..ผ..น...ที.่.ท.ี.่.ม.ี.เ.ส.้.น...อ..ย.่.า..ง..ต.่..อ..เ.น.ื.่อ...ง..เ.ช.ื่.อ..ม...จ.ุ.ด..ม.ี..ม.ู.ล..ค..่.า..เ.ท.่.า..ก.ั..น.......
เชน แผนท่ีแสดงอณุ หภูมิเทา แผนท่แี สดงเสน ช้นั ความสูง เปน ตน
4.3) Choroplete Maps แ..ส..ด...ง..ค..ว..า..ม...แ..ต..ก...ต.่.า..ง..ข..อ..ง..ข.้.อ..ม..ู.ล..ด.้..ว..ย..ส.ี.ห...ร.ือ...ค..ว..า..ม...อ.่.อ..น..เ..ข.้.ม..ข..อ...ง.ส.ี
เชน แผนท่ปี รมิ าณการผลติ ขาวแตล ะจงั หวัด เปนตน
5) แผนท่ีทใ่ี ชใ นกจิ การพิเศษ (Special – Purpose Map) เปนแผนทท่ี วั่ ไปทีเ่ พ่ิมรูปภาพหรือจุดที่
ตอ งการเขา ไป เชน แผนทก่ี ารทองเท่ียว 12 เมืองตอ งหา ม (พลาด)

การอา นแผนท่ี คือ การคน หารายละเอียดและองคป ระกอบบนแผนท่ี
1. องคประกอบของแผนที่ ประกอบดวย

1.1 องคประกอบในขอบระวางแผนที่ (Format of maps sheet)
1.2 องคประกอบนอกขอบระวาง (Map face information)
องคประกอบภายนอกขอบระวางแผนท่ี

พื้นท่ใี นขอบระวาง พ้ืนที่ในขอบระวาง

26 .เอกสารประกอบการสอนรายวิชาสงั คมศกึ ษา ส32101 โรงเรียนสตรีราชนิ ูทศิ ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปท่ี 5 ครเู ดชา วงศคำพระ 2564

พืน้ ทีน่ อกขอบระวาง พื้นที่นอกขอบระวาง

1. ชอ่ื ชดุ ระวางแผนทแ่ี ละมาตราสวน (Series Name and Map Scale) จะปรากฏอยมู ุมซายดานบนของแผนท่ี

2. ชือ่ แผนระวาง  (Sheet Name) เพอื่ ใหท ราบวา แผนท่คี รอบคลุมอำเภอใด จะปรากฏอย ู 2  แหง
กึง่ กลางระวางตอนบน  และทางดา นซา ยของขอบระวางตอนลาง

3. หมายเลขแผนระวาง  (Sheet Number)  เพอื่ ความสะดวกในการ  อา งอิงหรือคน หาระวางตอ
ๆไปทีอ่ ยใู กลเ คยี งจะแสดงไวท ีข่ อบระวางมมุ ขวาตอนบน  และมุมซายตอนลาง

4. หมายเลขประจำชดุ   (Series Number)
เพ่ือแสดงถึงการจัดทำแผนท่ีวา เปน ทชี่ ดุ ใดปรากฏอยูมมุ บนขวาและลางซา ยของแผนท่ี
ซ่ึงประกอบดวยตวั อักษรและตวั เลข L7018

L แทนภมู ิภาคและตัวเขที่ครอบคลมุ ในทวีปเอเชีย
7 แทนมาตรสวนระหวา ง 1 : 70,000 – 1 : 35,000
0 แทนภูมภิ าคยอย ไดแ ก ไทย ลาว กมั พูชา เวียดนาม มาเลเซยี และจนี
18 แทนตวั เลขลำดบั ครง้ั ในการทำแผนท่ใี นภมภิ าคนี้

5. การจัดพิมพ (Edition number) บอกใหท ราบถึงพมิ พห รอื ใด 1 คอื พิมพครัง้ ที่ 1 RTSD

คอื พมิ พโดยกรมแผนทีท่ หาร

6. มาตราสว นแผนที่  (Map Scale) เพื่อใหท ราบอัตราสว นระหวา งระยะในแผนทก่ี ับระยะในภมู ปิ ระเทศทตี่ รงกนั

จะมหี นวยวัดท่ีตา ง ๆกนั เชน ไมล เมตร หลา ไมลทะเล โดยมสี ามลักษณะ คือ มาตราสวนบรรทัด
มาตราสว นคำพูด และมาตราสวนเศษสว น แสดงไวทีก่ ึง่ กลางระวางตอนลาง   และมมุ ซา ยตอนบน   

7. ศัพทานกุ รม  (Grossary) เพื่อบอกผูใชไ ดท ราบความหมายของคำทับศพั ท แสดงอยูขอบขวาตอนลาง

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาสังคมศกึ ษา ส32101 โรงเรยี นสตรีราชินูทศิ ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที่ 5 ครเู ดชา วงศคำพระ 2564 5

8. สารบาญตดิ ตอ   (Index)  เปนรายละเอยี ดมากขึ้นบอกความสงู อยา งครา ว ๆ และระวางติดตอ
9. คำอธิบายสญั ลักษณ (Legend) เพ่อื บอกรายละเอยี ดท่ีอธิบายความหมายของสญั ลักษณ (Symbol)

ที่ใชแสดงในแผนท่ี เชน ประเภทของเสนถนนซึ่งจะปรากฏทมี่ มุ ลางดา นซา ย
เปนสง่ิ สำคัญมากท่ีสดุ ทน่ี ักอานแผนท่ีควรตองเขา ใจ

10. บันทึกตาง ๆ (Note) คอื หลกั ฐานขอ มูลตาง ๆ  ท่ีใชในการทำแผนท ี่   เชน เสนกรดิ เสน โครงแผนที่
บนั ทกึ เก่ียวกับหลักฐานทางด่ิงและทางราบ บันทกึ เก่ียวกบั ความนาเชื่อถือ บันทกึ เกีย่ วกับการผลิต
บันทึกเก่ียวกบั เสนช้ันความสูง

26 .เอกสารประกอบการสอนรายวชิ าสงั คมศึกษา ส32101 โรงเรยี นสตรีราชินูทิศ ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 5 ครูเดชา วงศค ำพระ 2564

11. แผนภาพเดคลิเนชนั่ (Declinations Diagram)  ปรากฏท่ขี อบระวางตอนลางแสดงความสัมพันธระหวา ง

ทิศเหนอื   3  ทิศ คือ

ข้วั แมเหลก็ โลกมี 2 ตำแหนง

1. สนามแมเหล็กขวั้ โลกเหนือ อยทู ี่ ละตจิ ูด 70 องศาเหนือ ลองจจิ ดู
100 องศาตะวันตก เกาะพรินซอ อฟเวลส ประเทศแคนาดา

2. สนามแมเ หล็กขวั้ โลกใต อยูที่ ละตจิ ูด 88 องศาเหนือ ลองจจิ ูด
143 องศาตะวนั ตก ดินแดนวิกตอเรียแลนด ทวปี แอนตารก ติกา

    ทิศเหนอื จรงิ (True North)   แนวทิศท่ีลากท่ีใดจะช้ีไปยังข้วั โลกเหนือใชส ัญลักษณ  คอื ดาว
    ทศิ เหนือกรดิ   (Grid North)   แนวทศิ เหนือตามแนวเสนกรดิ ในแผนท่ีจะเปน เสน ตรง แตค วามเปน

จริงบรเิ วณขั้วโลกเสน เมริเดยี นจะตบี เขา หากันใชส ญั ลักษณ  คอื กริด หรือ GN
ทิศเหนอื แมเ หลก็ ( Magnetic North)  แนวทศิ ที่ลากที่ใดจะชีไ้ ปยงั ขั้วแมเ หลก็ โลกใชสญั ลกั ษณ

คอื คร่ึงลูกศร
10.2 องคป ระกบภายในขอบระวางแผนที่

10.2.1) สัญลักษณ (Symbol) คือ เครอื่ งหมายหรอื ส่งิ ท่ีใชแ ทนรายละเอยี ดตาง ๆ
ทป่ี รากฏอยบู นพ้ืนผวิ โลก เพือ่ ถา ยทอดลงบนแผน ท่ี

10.2.2) สี เชน
สีนำ้ เงนิ หรือสฟี าแสดง รายละเอียด.............บ...ร.ิ.เ.ว..ณ...ท.ี.่เ..ป.็.น..น..้.ำ.......................................................
สเี ขียวแสดง รายละเอยี ด................บ..ร.ิ.เ.ว..ณ...พ.ื.้.น..ท.ี.่.ป.่.า..ไ..ม.้....................................................................
สีนำ้ ตาลแสดง รายละเอยี ด...........ท.ี.่ส.ู..ง.แ...ล..ะ..เ.ท.ื.อ...ก..เ.ข..า......................................................................
สีดำแสดง รายละเอียด..............ส..ถ...า.น...ท.ี.่ท.ี.่.ม..น.ุ..ษ..ย.์.ส...ร.้.า..ง.ข.ึ.้.น.................................................................
สีแดงแสดง รายละเอยี ด............ถ...น..น..แ...ล..ะ..เ.ส.้.น...ท..า..ง..ค..ม...น..า..ค..ม..............................................................

10.2.3) ชือ่ ทางภมู ิศาสตร ใชใ นการบง บอกใหทราบสถานทห่ี รือรายละเอียดตา ง ๆ
มที ัง้ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ

10.2.4) ระบบอา งองิ ในการกำหนดตำแหนง ซงึ่ มี 2 ระบบคอื ระบบพกิ ดั ภมู ศิ าสตรและระบบพกิ ัด
กรดิ แบบ UTM

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาสังคมศกึ ษา ส32101 โรงเรยี นสตรรี าชนิ ทู ิศ ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที่ 5 ครเู ดชา วงศคำพระ 2564 7

11. ความรเู กี่ยวกบั ละตจิ ดู และลองจจิ ดู (เสนสมมติ)

11.1 ละติจดู (Latitude) คอื ...............เ.ส.้.น...ร..อ..ย..ต.ั..ด..ร..ะ..ห..ว.่.า..ง..ผ.ิ.ว..โ..ล..ก............................ทลี่ ากจากตะวันตกมายงั ตะวนั ออก

มีจำนวน ......5........ เสน

เริ่มตน ทเี่ สน 0 - 90 องศาเหนอื 0 – 90 องศาใต แบง ซีกโลกเปน .........เ.ส.้.น...ข..น..า..น..............................................

ละตจิ ูดท่ี 0 องศา เรียกวา .......เ.ส.้..น..ศ.ู.น...ย.์.ส.ู.ต...ร.................................................................

ละตจิ ดู ท่ี 23 1/2 องศาเหนือ เรยี กวา ....เ..ส.้.น..ท...ร..อ..ป.ิ.ก...อ..อ..ฟ...แ..ค..น...เ.ซ..อ...ร์................................................
ละตจิ ูดที่ 23 1/2 องศาใต เรยี กวา .....เ.ส.้.น..ท...ร..อ..ป.ิ.ก...อ..อ..ฟ...แ..ค..ป...ป...ริ.ค...อ..น.............................................
ละติจูดท่ี 66 1/2 องศาเหนือ เรยี กวา ........เ.ส.้..น..อ..า..ร.์.ค..ต..ิ.ก..เ.ซ...อ..ร.์.เ.ค.ิ.ล....................................................
ละติจดู ท่ี 66 1/2 องศาใต เรยี กวา ......เ.ส.้..น..แ..อ..น...ต..า..ร.์.ก..ต..ิ.ก..เ.ซ...อ..ร.์.เ.ค.ิ.ล...............................................

ละติจดู มผี ลตอ อณุ หภมู ขิ องอากาศจงึ สามารถแบงเขตภมู อิ ากาศแบบคราว ๆ
การหาตำแหนงของละติจดู บนพนื้ โลก

1) การหาละตจิ ูดจากการวัดมมุ สงู ของดาวเหนอื (North Star) คอื
วดั มุมจากขอบฟา ไปยังดาวเหนอื เปนมุมเงยเทา ไรเทากบั เรายนื ที่ละตจิ ูดตามทว่ี ัดได เชน ณ กรุงเทพฯ
เราวัดมมุ สูงจากขอบฟา
ของดาวเหนอื ได 13 ํ 47 นั้นคือละจดู ของกรุงเทพเทา กับ 13 ํ 47 N

ดาวเหนือจะปรากฏอยดู า นขอบฟา ดา นเหนือในปลายหางกลมุ ดาวหมเี ลก็
เวลาสังเกตใหส ังเกตจากกลมุ ดาวหมีใหญ( คนไทยเห็นเปนดาวจระเข)

-โดยการลากเสนจากดวงท่ี 1 ไปดวงที่ 2 และเลยออกไป 5 เทา จะพบดาวที่สวา งที่สุด คอื ดาวเหนือ

แตเ หน็ ไดเฉพาะซกี โลกเหนือเทานนั้ ตามแนวละติจด ขั้วโลกเหนือเห็น 90 ศนยสตรเหน็ ท่ี 0 

11.2 ลองจิจูด (Longitude) หรอื เสน เมรเิ ดยี น หรือเสน สมมติในแนวตัง้

26 .เอกสารประกอบการสอนรายวชิ าสังคมศึกษา ส32101 โรงเรียนสตรีราชนิ ูทศิ ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 5 ครเู ดชา วงศคำพระ 2564

มีจำนวน 360 เสน 180  W 180  E
เรม่ิ ตนที่เสน 0 - 180 องศาตะวันออก 0 – 180 องศาตะวันตก
แบงซีกโลกเปน ตะวันออก – ตะวันตก

ลองจิจูดเสนแรกท่ี 0 ํ หรอื ไพรเ มริเดยี น Primeridian ลากผา น .............................................................................
เสน เมริเดยี นตะวนั ออก 180 เสน เสนเมรเิ ดียนตะวันตก 180 เสน เสนที่ 0 และ 360 ซอนทับกนั
ลองจิจดู หรอื เสน เมริเดียนใชเปน เสน ท.่ี .........................................................................................ดงั น้ี
เมริเดียนมีผลตอเวลาของโลกอยา งไร
1) เวลาปานกลางกรีนิช (Greenwich Mean Time : GMT) หรือเวลามาตรฐานสากลโดยถอื ตาม

.......................................................................................... ..........................................................................................

ดนิ แดนทอ่ี ยทู างทศิ ตะวนั ออกของไพรเ มริเดียน (Primeridian) จะมีเวลาเร็วกวาเวลาทเี่ มืองกรีนชิ
ทุก 15 ํ จะมเี วลาตา งกัน 1 ชัว่ โมง มาจาก

โลกหมนุ รอบตวั เองใชเวลา 24 ชม. หมนุ ไดร ะยะ 360 องศา

ถา โลกหมนุ รอบตวั เองเวลา 1 ชม. หมนุ ไดระยะ 360 x 1 = 15 องศา
24

โลกหมนุ รอบตวั เองระยะเมริเดยี น 15 องศา ใชเ วลา 1 ชม. หรอื 60 นาที

ถาโลกหมุนรอบตวั เองระยะเมริเดียน 1 องศา ใชเวลา 60 x 1 = 4 นาที
15

โลกหมนุ รอบตวั เองระยะเมรเิ ดยี น 1 องศาหรือ 60 ลปิ ดา ใชเวลา 4 นาที หรือ 240 วนิ าที
ถา โลกหมนุ รอบตัวเองระยะเมรเิ ดยี น 1 ลิปดา ใชเ วลา 240 x 1 = 4 วนิ าที
60

สรุปไดวา
15 องศา เวลาตา งกัน .....1......... ชว่ั โมง

1 องศา เวลาตางกัน ......4......... นาที

1 ลปิ ดา เวลาตางกัน ......4......... วินาที

ดินแดนทอ่ี ยูทางทิศตะวนั ตกของเมรเิ ดียน 0 องศา(Primeridian)จะมเี วลา……ช้…า…กวา ทีก่ รีนิช(เรว็ /ชา )

ดินแดนทอ่ี ยทู างทิศตะวนั ออกของเมรเิ ดียน 0 องศาหรอื (Primeridian)จะมเี วลา..เ.ร.็.ว....กวาทก่ี รีนชิ

2) เวลาทอ งถน่ิ (Local Time) หมายถงึ เวลาเทย่ี งวนั ที่แทจ รงิ ของบรเิ วณใดบรเิ วณหน่ึง
(เวลาเที่ยงวนั พระอาทิตยต อ งต้งั ฉากกบั บริเวณนน้ั พอดี)

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาสงั คมศกึ ษา ส32101 โรงเรยี นสตรรี าชินทู ิศ ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปท ่ี 5 ครเู ดชา วงศคำพระ 2564 9

โดยสรุปเปน กฎวา ระยะลองจิจูดหา งกนั 1 องศา มีเวลาตางกนั 4 นาที
ตัวอยา งท่ี 1 ภาคตะวนั ของสุดของไทยทีจ่ งั หวดั อุบลราชธานอี ยลู องจิจดู 105 ํ ตะวนั ออก

สว นตะวันตกสุดอยูท่จี ังหวัดแมฮ อ งสอนอยลู องจจิ ูด 97 ํ ตะวันออกมเี วลาทองถิน่
ตา งกันกี่นาที
วิธคี ดิ ระหวางตะวนั ออกสดุ -ตะวันตกสุดมีระยะ .............................. = ........ องศา
1 องศามเี วลาตา งกัน 4 นาที
...... องศาจะมเี วลาตางกนั ........................................................................=.................นาที
3) เวลามาตรฐานของประเทศ (Standard Time) คอื เวลาอยา งเปนทางการของประเทศน้นั ๆ
กำหนดข้ึนใชร ว มกันท้งั ประเทศ เพ่ือปอ งกนั มใิ หเ กิดความยุงยากสบั สนในเวลา โดยยดึ เอาลองจจิ ดู
หรือ เมรเิ ดียนเสนใดเสน หน่ึงทีล่ ากผา นประเทศของตนเปนเกณฑ การกำหนดเขตเวลา
ของโลก (Time Zone) ออกเปน 24 เขต
สำหรบั ประเทศไทยกำหนดเวลามาตรฐานของประเทศยดึ ตามลองจจิ ดู ท่ี ……………………………
ทง้ั นี้เพ่ือคนไทยมีเวลามาตรฐานตรงกนั ทงั้ ประเทศจึง มีการเทยี บเวลาวนั ละ 2 คร้งั
คือเวลา 08.00 น.และ 18.00 น. ของทกุ วนั (จากการเคารพธงชาตโิ ดยวทิ ยกุ รมประชาสมั พันธ)

ตัวอยา งท่ี 1 ประเทศไทยกำหนดใหลองจิจูดที่ 105 องศาตะวันออก(ผา นอำเภอเมือง จังหวัด
อุบลราชธาน)ี เปน เวลามาตรฐานของประเทศไทยท่ัวทง้ั ประเทศจะมเี วลา ตางจากเมอื งกรีนชิ ประเทศองั กฤษเทาไร

26 .เอกสารประกอบการสอนรายวชิ าสังคมศึกษา ส32101 โรงเรียนสตรรี าชินูทิศ ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปที่ 5 ครเู ดชา วงศค ำพระ 2564

วธิ คี ดิ เมอื งกรีนิชอยลู องจจิ ูดท่ี 0 ํ มีลองจจิ ดู ตา งจากไทย 105 – 0 = 105 องศา

15 องศามเี วลาตางกัน 1 ชั่วโมง
105 องศาจะมีเวลาตา งกนั ………………. = …………………………… ชวั่ โมง

………
4) เสนแบงวนั สากลหรือเสน (International Date Line) คอื โดยยึดเมรเิ ดียนที่ …1…80…อ…ง…ศา…….

(หากนับจากเมรเิ ดยี นท่ี 0 - 180 ํ ตะวนั ออก และ 180 ตํ ะวันตกซึ่งซอ นทับกนั เปน เสนเดียวกนั )

ขามจากตะวนั ตกมาตะวนั ออกบวกเพม่ิ 1 วนั ขา มตะวนั ออกมาตะวนั ตกลดลง 1 วัน

การฝก คดิ หาวนั เวลาจากลองจจิ ดู

ตัวอยางที่ 1 ในตำบล ก เปน เวลาเที่ยงวัน แตท ่ีเมอื งกรนี ชิ เปนเวลา 07.00 น. อยากทราบวาท่ีตำบล ก

อยลู องจจิ ูดทีเ่ ทา ไร เมืองกรี ตาํ บล ก
วิธีคิด

ลองจิจูด ตองอยูตะวันออกและมเี วลาเร็

ทีเ่ มอื งกรีนชิ เวลา .................... น.

ทตี่ ำบล ก เวลา ..................... น.

2 เมอื งมเี วลาตางกัน ....................... = .......... ชว่ั โมง

เวลา 1 ชั่วโมงมลี องจจิ ูดตางกัน 15 องศา

ถาเวลา 5 ชวั่ โมงจะมลี องจจิ ดู ตางกัน ........... = ........... องศา

.......

ตอบ ณ ตำบล ก อยูท ี่ ............. องศาตะวันออก (เนื่องจากมีเวลาเร็วกวาเมอื งกรีนชิ )

ตัวอยา งท่ี 2 ท่ีสงขลามเี วลาตรงกับวันจนั ทรเ วลา 09.00 น. อยลู องจิจดู 105 องศาตะวันออก

อยากทราบวาท่ีนิวยอรกซึ่งอยูลองจิจูด 75 องศาตะวนั ตกจะเปน วันเวลาเทา ไร

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาสังคมศกึ ษา ส32101 โรงเรียนสตรรี าชนิ ทู ศิ ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ 5 ครูเดชา วงศค ำพระ 2564 11

วธิ คี ิด นวิ ยอร เมอื งกรนี ิ สงขล

ทีร่ ะยะจากสงขลาถงึ นวิ ยอรกมรี ะยะหาง ........................ = .......... องศา

ระยะหา ง 15 องศา มีเวลาตา งกัน 1 ช่วั โมง

ถาระยะหา ง 180 องศา จะมเี วลาตางกัน ............... = …………. ชั่วโมง

........

สงขลาอยูตะวันออก นวิ ยอรกอยตู ะวนั ตก ฉะนน้ั นิวยอรก มเี วลาชา กวา ………………… = ….. ช่วั โมง

คา ติดลบแสดงวา ตองลดวันลง 1 วนั 24.00 – ………. = ………….. นาก า ของวนั …………………

ตัวอยางท่ี 3 ประเทศไทยตงั้ อยลู องจิจูด 105 องศาตะวนั ออก กรีนิชเปน เวลา 19.00 น. ของวนั อังคาร

ประเทศไทยเปนเวลาเทา ไร เมืองกรีนิช ไทย

ระยะหา ง 15 องศา เวลาตางกัน 1 ชั่วโมง

ถา ระยะหางสองเมอื ง 105 เวลาจะตา งกนั 105x1 = 7 ช่ัวโมง

15

ไทยอยตู ะวนั ออก กรนี ชิ อยตู ะวนั ตก ฉะนน้ั ไทยมเี วลาเร็วกวา 19.00 + 7 = 26 นากา

เวลาทีเ่ กนิ 24 ชว่ั โมงคือมีวันเพิม่ 1 วัน 26.00 – 24.00 = 02.00 นากา ของวนั พธุ

ตวั อยา งท่ี 4 เวลามาตรฐานของประเทศไทยกำหนดตามเวลามาตรฐานของประเทศ ถาอุบลราชธานเี ปน เวลา
06.00 น. ทเ่ี ชียงรายหากตง้ั อยูที่ลองจจิ ดู 97 องศา 45 ลิปดาตะวันออก จะมเี วลาทองถ่นิ จริง ๆ เปน เวลาเทา ไร

เชยี งราย อบุ ลฯ

ระยะหางจากอุบลราชธานถี งึ เชยี งราย .........................................................................................
ลดการสับสนใหแยกคดิ หนวยองศาและลิปดา 104 6ํ 0 – 97 4ํ 5 = 7 ํ 15 

7 ํ มีเวลาตา งกัน (7 x 4 = 28 นาที) 15 มีเวลาตา งกนั (15 x 4 =60 วนิ าทีหรือ 1 นาท)ี
ฉะน้ัน 2 เมืองมเี วลาตางกนั ......................................................= ................................นากา

12. การอา นพิกัดทางภมู ิศาสตร      
ในแผนทท่ี ี่เขียนข้นึ อยา งถกู ตอ ง   จะตองแสดงคา ละติจดู และลองจจิ ดู  ของตำบลสถานท่ีตา งๆไวดวย  

26 .เอกสารประกอบการสอนรายวิชาสังคมศึกษา ส32101 โรงเรยี นสตรรี าชินูทิศ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 ครเู ดชา วงศคำพระ 2564

ซง่ึ เรียกวา  พิกัดภมู ิศาสตร
หนวยวดั : 1 องศา = ………60….. ลปิ ดา

1 ลิปดา = ……6…0 …. ฟลปิ ดา
ดงั น้ันถา : 1 ลิปดา แบงเปนชอง 60 ชอง ทำใหแ ตชองละมีคา 1 ฟล ิปดา

1 ลปิ ดา แบงเปน ชอง 6 ชอง ทำใหแตชอ งละมีคา 10 ฟล ิปดา
หลักในการอา นพกิ ัดภมู ศิ าสตร

1. ใหอ านคา ละติจูดกอน (องศา,ลปิ ดา,ฟล ิปดา จะไดซ ีกโลกเหนือหรือใต)
2. ตามดวยลองจิจดู (องศา,ลิปดา,ฟล ปิ ดา จะไดซีกโลกตะวันออกหรือตะวันตก)
ตวั อยา งการอานคา พกิ ดั ภมู ศิ าสตรอ ยางหยาบ ๆ

ตวั อยา งท่ี 1 ตำบล ก. ตง้ั อยูท่จี ดุ ตดั ของเสน ขนานละตจิ ดู 10 ° เหนือ  กับเสน เมรเิ ดียน 10 ° ตะวันตก   
ฉะน้นั ตำบล ก. มพี กิ ดั ภูมศิ าสตรเปน  ละตจิ ูดที่ …1…0…. ° เหนอื  ลองจิจูด …1…0….°ตะวันตก

ตัวอยางที่ 2 ตำบล ข. มไิ ดตง้ั อยูตรงจดุ จัดพอดี   จงึ ตองใชวิธีประมาณเอา    ซ่งึ กป็ ระมาณไดวา   
ตำบล ข. มพี ิกัดภมู ิศาสตรเ ปน ละติจูดท่ี  …5……. ° ใต   ลองจจิ ูด 1…5… ° ตะวนั ออก

ตวั อยางการอานคา พิกัดภมู ิศาสตรใ หล ะเอียดขึ้น

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาสังคมศึกษา ส32101 โรงเรียนสตรีราชินูทศิ ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี 5 ครูเดชา วงศคำพระ 2564 13

ตัวอยางที่ 1 ณ จดุ A
ฉะน้ัน ณ จดุ A จงึ มพี ิกัดภูมศิ าสตรเปน ละตจิ ดู 13 ° 09 00 เหนือ  ลองจิจูด 100° 58 00 ตะวนั ออก

ตวั อยา งท่ี 2 ณ จดุ B
ฉะนน้ั ณ จุด B จึงมีพิกดั ภูมิศาสตรเ ปน ละตจิ ดู 13 ° 11 35 เหนอื  ลองจิจูด 100° 58 30 ตะวันออก

ตัวอยา งที่ 3 ณ จุด C
ฉะนนั้ ณ จดุ C จงึ มพี ิกัดภมู ิศาสตรเปน ละตจิ ูด 13 ° 13 20 เหนือ ลองจิจูด 100° 54 50 ตะวันออก

การอา นพิกัดภมู ิศาสตรแ ผนท่ี 1 : 50,000 มีละเอียดคอนขางสงู

แผนท่ี 1 : 50,000 ทุกระวางจะกำหนดละติจดู และลองจจิ ูดตอระวางไมเกิน 15 ลิปดา

26 .เอกสารประกอบการสอนรายวิชาสังคมศึกษา ส32101 โรงเรยี นสตรีราชนิ ูทิศ ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที่ 5 ครเู ดชา วงศค ำพระ 2564

เน่ืองจากขอ จำกดั ของขนาดกระดาษทำใหเวลานำแผนที่ 1 : 50,000 มาใชจ ึงตอ งตัดเฉพาะบางสวนมาใช

N

WE จากภาพเปน มุมซา ยของแผนที่

14 47 N

14 46 N

ตวั อยางที่ 1 ณ จุด A 10201 E 10202 E 10203 E 10204 E 10205 E

ฉะนั้น ณ จุด A จงึ มีพกิ ดั ภมู ศิ าสตรเปน 14 ° 46 05 เหนือ    ลองจจิ ดู 102° 04 00 ตะวันออก

ตัวอยา งที่ 2 ณ จุด B

ฉะน้ัน ณ จุด B จึงมพี ิกัดภูมศิ าสตรเ ปน .............1..4..•.4..7...’0...6..’.’..............เหนือ    ลองจิจดู ............1..0..2..•..0..5..’.0..0..’.’........ตะวนั ออก

แผนท่ี 1 : 50,000 ทุกระวางจะกำหนดละตจิ ดู และลองจิจูดตอระวางไมเกนิ 15 ลิปดา

เอกสารประกอบการสอนรายวชิ าสงั คมศกึ ษา ส32101 โรงเรยี นสตรรี าชินูทิศ ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ 5 ครูเดชา วงศค ำพระ 2564 15

10211 E 10212 E N จากภาพเปน มุมขวาของแผนท่ี

WE 10214 E

10213 E

14 59 N

14 58 N

ตวั อยา งที่ 1 ณ บา นหนองระเวยี งอยูพ ิกดั
ฉะนนั้ ณ จดุ A จงึ มีพกิ ัดภูมิศาสตรเปน 14 ° 58 40 เหนอื    ลองจจิ ดู 102° 13 20 ตะวนั ออก

ตัวอยา งท่ี 2 ณ บา นมะเริงใหญอยพู กิ ดั
ฉะนน้ั ณ จดุ B จงึ มีพิกัดภูมิศาสตรเ ปน 14 ° 59 20 เหนอื    ลองจจิ ดู 102° 12 00 ตะวันออก

13. การหาเวลาในแผนที่ 1: 50,000
แผนท่ี 1 : 50,000 ทุกระวางจะกำหนดละตจิ ูดและลองจิจูดตอระวางไมเกิน 15 ลิปดา

26 .เอกสารประกอบการสอนรายวิชาสังคมศกึ ษา ส32101 โรงเรยี นสตรีราชินทู ิศ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปท ่ี 5 ครเู ดชา วงศคำพระ 2564

(เน่อื งจากโควดิ ครูไมไ ดสอนเอง อา นและสงั เกตดวยตนเองนะคะ ศึกษาพอใหรูเ พื่อขอ สอบเรยี นตอ มข.)
ตัวอยา งท่ี 1 จากแผนที่ 1:50,000 หากบา นตากแดดเวลา 07.00 น.ท่บี านหนองแกจะมีเวลาเทาไร

บา นตากแดดกบั บานหนองแกมีระยะหา ง 3 ลิปดา
ระยะหาง 1 ลิปดามเี วลาตางกัน 4 วินาที

ถา ระยะหาง 3 ลิปดาจะมีเวลาตางกัน 3x4 = 12 วินาที
วิธีคิด บา นหนองแกอยทู างตะวันตก บานตากแดดอยทู างตะวันออก เวลาที่บา นบา นหนองแกจะชา กวา

ระยะระหวา งบา นหนองแกกบั บานตากแดด มีระยะ 3 ลิปดา

1 ลิปดา มีเวลาตา งกนั 4 วินาที
3 ลิปดา จะมเี วลาตางกนั 4 x 3 = 12 วนิ าที

1
บา นตากแดดมเี วลา 07.00 น. หรือ 06.59.60 น.
จากบา นตากแดดถึงบา นหนองแกจึงมเี วลา 06.59.60 - 00.00.12 = 06.59.48 นาก า

(6 นากา 59 นาที 48 วินาท)ี

ตวั อยางที่ 2 จากแผนที่ 1 : 50,000 หากทีบ่ า นเขาดินเปน เวลา 09.35 น.
ท่ีบานโคกสะอาดจะมเี วลาเทาใด

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาสังคมศึกษา ส32101 โรงเรยี นสตรรี าชนิ ทู ศิ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 5 ครูเดชา วงศค ำพระ 2564 17

วธิ คี ดิ ที่บานเขาดินอยทู างทิศตะวันตกสวนบา นโคกสะอาดอยูท างทิศตะวนั ออก เวลาทบ่ี า นโคกสะอาดจะ เรว็ กวา บานเขาดนิ

ระยะหา งระหวา งบา นเขาดนิ ถงึ บานโคกสะอาด 4 ลิปดา
1 ลิปดา มเี วลาตางกัน 4 วินาที

4 ลปิ ดา จะมีเวลาตา งกนั 4 x 4 = 16 วนิ าที
1

ท่บี า นเขาดินมเี วลา 09.35.00 น.
จากบา น เขาดินถงึ บานโคกสะอาดจงึ มีเวลา 09.35.00 + 00.00.16 = 09.35.16 นากา

14. มาตราสวน (Map Scale)
มาตราสวนของแผนที่ คือ อตั ราสวนของระยะทางในแผนที่ (Map Distance :MD)กบั ระยะทางใน

ภมู ิประเทศจริง (Ground Distance : GD)

Scale = MD
GD

มาตราสว นมี 3 ชนิด
1) มาตราสว นแบบกราฟก (Graphic Scale) คอื มาตราสว นเสน บรรทดั หรือรูปภาพ
2) มาตราสว นคำพูด (Verbal Scale) คอื คำพูดงา ย ๆ เชน 1 เซนติเมตรตอ 500 เมตร
3) มาตราสว นเศษสวน (Fractional Scale) เชน 1:50,000
การหาระยะทางในแผนที่
ตัวอยา งท่ี 1 หมูบ าน 2 แหง อยูหา งกนั 8 กโิ ลเมตร
ใหหาระยะทางระหวางหมูบา นดงั กลาวในแผนท่ที ีม่ ีมาตราสวน 1 : 25,000 (ใหแสดงวิธหี าคำตอบ)

Scale = MD/GD

ตัวอยา งที่ 2 ในแผนท่ีภูมิประเทศมาตรสว น 1 : 500,000 วดั ความยาวของแมน ำ้ ปง ได 4 เซนติเมตร
และแมน้ำเจา พระยาได 2 เซนติเมตร ความยาวของแมน ้ำทัง้ สองรวมกนั เปน เทา ใดในพ้ืนทีจ่ รงิ (ใหแสดงวธิ หี าคำตอบ)

Scale = MD/GD

26 .เอกสารประกอบการสอนรายวชิ าสังคมศกึ ษา ส32101 โรงเรียนสตรีราชนิ ูทิศ ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ 5 ครเู ดชา วงศค ำพระ 2564

ตวั อยางที่ 3 แผนท่รี ะวางหนง่ึ ไมท ราบมาตราสว นแตวัดระยะทางในแผนท่ยี าว 30

เซนตเิ มตรเมือ่ นำไปเทยี บกบั ระยะทางในภมู ิประเทศจรงิ ได 15 กโิ ลเมตร ใหหาวาแผนทร่ี ะวางนมี้ ีมาตราสว นเทาไร

(ใหแสดงวธิ ีหาคำตอบ)

Scale = MD/GD

ตัวอยางที่ 4 จากแผนท่ี 1 : 50,000 จงหาระยะทางจรงิ ในภมู ิประเทศจากวัดหนองสมัครตามทางหลวง
33ถงึ สีแ่ ยกทางหลวงสายเอเชีย 12 มรี ะยะทางกโิ ลเมตร

วิธีคิด วัดระยะทางจากส่ีแยกทางหลวงสายเอเชีย 12 วิ่งตามทางหลวง 33 ถึงวัดหนองสมคั รได 15 เซนติเมตร

Scale = MD/GD

ตัวอยางสาํ เร็ 1 = 15 (cm)

จแลว 50,000 GD

ใหส งั เกตวธิ ี GD = 15 x 50,000 = 750,000 cm (ระยะทางในภมู ิประเทศนิยมบอกเปน กิโลเมตร)

การหาคาํ ตอ GD = 750,000 = 7.5 กโิ ลเมตร

100,000

15. การคำนวณหาพืน้ ทใี่ นแผนท่ี 1:50,000

ขอควรรู

1. ในแผนท่ี 1:50,000 ในแตละชองยาว 2 cm กวา ง 2 cm หรอื เทา กบั 1 ตารางกิโลเมตร

เอกสารประกอบการสอนรายวชิ าสงั คมศึกษา ส32101 โรงเรียนสตรีราชินทู ิศ ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 5 ครเู ดชา วงศคำพระ 2564 19

2. พื้นท่ี 1 ตารางกิโลเมตรเทา 625 ไร
ตัวอยางที่ 1 ในพ้ืนท่แี รงเงาจะมเี นอื้ ทีก่ ่ตี ารางกิโลเมตร และมเี น้ือทก่ี ไี่ ร

1 ชอ ง เทา กับ 1 ตารางกโิ ลเมตร ฉะน้นั 4 ชอ ง เทา กบั ......4........... ตารางกโิ ลเมตร

1 ตารางกิโลเมตร มพี ืน้ ท่ี 625 ไร พืน้ ทแ่ี รงเงามี ..4.. ตารางกโิ ลเมตร จึงมีพ้ืนท่ี .4.. x 625 = ....2..5..0..0... ไร

ตวั อยางท่ี 2 ในแผนที่ภูมปิ ระเทศมาตราสวน 1 : 50,000 วัดขนาดของสวนกลว ยไมไดกวา ง 2.5 เซนตเิ มตร ยาว 6

เซนตเิ มตร สวนกลวยไมน ้มี ีขนาดจรงิ ในภมู ิประเทศกี่ตารางกโิ ลเมตร

ใหแ ปลงเปน พน้ื ทจี่ รงิ กอน 6 cm

ตัวอยางสําเร็ 2.5 cm (2.5 x 50,000 = 125,000 cm)
จแลว

ใหสงั เกตวิธี

การหาคําตอ (6 x 50,000 = 300,000 cm)

สตู รการหาพ้นื ที่ รปู สเ่ี หลยี่ มพ้นื ผา กวาง x ยาว

125,000 x 300,000 = __3_._7_5____ตารางเซนติเมตร

หรอื 1.25 x 3 = 3.75 ตารางกโิ ลเมตร

16. การบอกความสงู และทรวดทรงในแผนที่
การบอกระดับความสงู ของภูมิประเทศนยิ มใชเกณฑว ดั จาก “ระดบั นำ้ ทะเลปานกลาง” หรอื รทก.(Mean

Sea Level : MSL) สำหรับประเทศไทย สถานตี รวจวดั คือ เกาะหลัก อำเภอเมอื ง จังหวดั ประจวบคีรีขนั ธ
การจดั ทำแผนท่ีแสดงระดับความสงู ของภมู ิประเทศ มี 4 วธิ ี ดงั น้ี

26 .เอกสารประกอบการสอนรายวชิ าสงั คมศึกษา ส32101 โรงเรียนสตรรี าชินูทศิ ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 5 ครูเดชา วงศค ำพระ 2564

1. การใชเ สนชัน้ ความสงู (Contour line)
2. การใชสี (Colour)
3. การใชเสน ลายขวานสับหรอื เสน ลาดเขา (Hachure line)
4. การแรเงา (Shading)
16.1 การใชเสน ลายขวานสบั หรือเสนลาดเขา (Hachure line)

การอานความหมายของแผนท่ลี ายขวานสับ

พ้ืนทส่ี งู ชัน จะแสดงดว ยเสนขดี ทสี่ น้ั หนาและชดิ กัน
พ้ืนทลี่ าดเท จะแสดงดว ยเสน ขีดทยี่ าว บาง และหางกัน

16.2 การแรงเงา (Shading)

การอานความหมายของแผนที่ทใ่ี ชก ารแรเงามดี ังน้ี

1) บริเวณใดมีความสูงชนั มาก เสนแรเงาจะหนา หรือสีดำเขม
2) บรเิ วณใดมคี วามสงู ชนั นอย เสน แรเงาจะบางและออ นลงเร่อื ยๆ

16.3 การใชส ี (Colour) การใชส แี สดงระดบั ความสงู ของภมู ปิ ระเทศในแผนท่ี มดี ังน้ี

พนื้ ดิน พน้ื น้ำ
สีเขยี ว ทร่ี าบหรอื ทร่ี าบต่ำ สฟี า ออน เขตไหลทวปี หรอื ทอ งทะเลตื้น
เหลือง เนินเขา หรอื ทรี่ าบสูง สีฟาแก ทะเลลึก
สีนำ้ ตาล ภเู ขาสงู หรือเทอื กเขาสงู สนี ำ้ เงิน ทะเลหรอื มหาสมุทรทีม่ คี วามลกึ
สีขาว ภเขาสงท่มี ีหิมะปกคลม สนี ำ้ เงินแก ทะเลหรอื มหาสมทุ รทีม่ ีความลกึ มาก

16.4 การใชเ สน ชน้ั ความสงู (Contour line) เสน ช้ันความสูง คอื เสน สมมติทลี่ ากผานพื้นทต่ี า ง ๆ
ทมี่ คี วามสงู เทากัน โดยมตี ัวเลขบอกคา ของเสน ชัน้ ความสงู ไว (เปนฟุตหรือเมตร)
ทำใหผูใชแ ผนท่ีทราบวา ถา เสนนล้ี ากผานพื้นทใี่ ด พ้นื ทีน่ น้ั จะมีความสงู เทาใด

¢®0µooµ¦µµ µo ¼ µ£¸ ¼¼¦

เอกสารประกอบการสอนรายวชิ าสงั คมศึกษา ส32101 โรงเรียนสตรีราชนิ ทู ศิ ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปท ่ี 5 ครูเดชา วงศคำพระ 2564 21

สวนประกอบของเสนช้ันความสูง
1. เสนช้ันความสงู หลกั (Index Contour) เปน เสน ชน้ั ความสูง

ทมี่ ีตัวเลขบอกคาความสูงประจำเสน และมเี สนหนากวา เสน อ่นื ๆ
มตี วั เลขจำนวนเต็ม เชน 100,200,300,400 เปน ตน

2. เสน ชน้ั ความสงู รอง (Intermediate Contour)
เปนเสน ชน้ั ท่อี ยูร ะหวางเสนชน้ั หลักมี 4 เสนมีคา ความสูงตางกัน
เสนละ 20 เมตร แตไ มมีจำนวนตัวเลขบอกคา ความสงู ไว

3. เสนชั้นความสูงแทรก (Supplementary หรือ Auxiliary Contour) บริเวณท่มี คี า ความสูงไมม าก
ในแผนท่ีจะแสดงเปน เสนประ ไวร ะหวา งเสนช้ันรองหรอื เสนชน้ั หลกั

4. เสนชั้นความสงู ของแอง (Depression Contour) เสน ชนั้ ความสงู ของแอง จะแสดงเปน ขีดสน้ั ๆ
ลากมาตง้ั ฉากกับเสน ช้ันหลัก หรือรอง ในทิศทางทีแ่ นวลาดสศู ูนยก ลางของแอง

5. เสนช้ันความสงู ประมาณ (Approximate Contour)
เสนช้นั ความสูงท่ีผูเขยี นแผนที่สมมตขิ นึ้ ในกรณีท่ีไมทราบความสงู ท่ีแทจรงิ แสดงเปน

เสน ประตอจากเสน ช้ันความสูงหลกั หรือเสนชนั้ ความสูงรอง

ลกั ษณะของเสน ช้ันความสูงโดยท่ัวไปมีลกั ษณะดังนี้
1. มลี กั ษณะเปนเสน โคงเรยี บและบรรจบตวั เองเสมอ
2. บรเิ วณท่เี ปนหุบเขาหรอื ลำธาร จะมลี ักษณะคลายอกั ษร U หรอื V หนั ปลายฐานไปสทู ส่ี งู
3. บริเวณที่เปนสนั เขา จะมลี กั ษณะคลายอักษร U หรอื V หันปลายฐานไปสูท่ตี ำ่
4. บรเิ วณทีเ่ ปนท่ชี นั จะมีลกั ษณะเปน เสน ชดิ ติดกัน และบรเิ วณที่เปนลาดจะมีลักษณะหา ง
5. ภูมปิ ระเทศท่ีลาดเสมอ เสน ชั้นความสูงจะหางสม่ำเสมอกนั และบริเวณทล่ี าดไมสมำ่ เสมอ

เสน ช้ันความสงู จะหา งไมส ม่ำเสมอ
6. เสน ช้ันความสูงจะไมตดั กนั หรือจรดกนั นอกจากบริเวณที่เปนชะโงกหรอื หนาผาชัน
7. บริเวณที่เสน ชน้ั ความสูงเสนสดุ ทา ยบรรจบกันแสดงวา เปนยอดเขาหรอื ยอดเนิน
8. การเคล่อื นขนานไปกบั เสน ชั้นความสงู เปน การเคล่ือนไปบนพนื้ ระดับเดยี วกัน ถาเคลื่อน

17. การสรางภาพตัดขวาง (Profile) เปนการอานแผนทเี่ สน ชนั้ ความสูง จากแผนทม่ี าตราสว น 1: 50,000
วธิ ที ี่ 1

1. ตดั กระดาษแผนเลก็ มคี วามยาวเล็กนอ ย
2. เลอื กบรเิ วณในการอา นความสูงในแผนท่ี

26 .เอกสารประกอบการสอนรายวิชาสงั คมศึกษา ส32101 โรงเรยี นสตรีราชินูทิศ ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ 5 ครูเดชา วงศค ำพระ 2564

3. วางกระดาษลงบนพนื้ ทีต่ อ งการอา นเขยี นจดุ และ
ความสงู ทพ่ี บจากแผนท่ี

4. นำกระดาษท่ีไดส รา งกราฟ

วธิ ที ่ี 2 นำกระดาษมาสรางมาตราสว นกราฟโดยกำหนดแกนตง้ั เปนความสงู เปนเมตร
และนำมาทาบบริเวณทตี่ อ งการอา น

หลกั ในการสรางภาพตดั ขวาง
1. ขีดเสนตดั ในแผนทีท่ ีต่ อ งการอาน จาก A - B (มักตดั บรเิ วณยอดเขา)
2. สรางแกนต้ังตามความสูงตอ งการละเอยี ดกำหนดตัวเลขนอ ย ๆ ไมละเอียดมากกำหนดตัวเลข เชน 100
3. ลากเสน จากจดุ ตัวตามขอ 1 ลงมาตรงกับแกนต้งั และลากเสนตอ กนั จะไดภ าพตดั ขวาง

18. การหาความลาดเท (Slope)ในแผนทม่ี าตราสวน 1: 50,000
ความลาดเท คือ ความเอียงของพน้ื ผิวโลกที่ทำใหเ กดิ ขนาดมมุ กบั พน้ื ระดับ

Slope = ระยะในแนวดงิ่ (Vertical Distance)
ระยะในแนวราบ (Horizontal Distance)

ระยะทางในแนวดง่ิ คอื เสน ชั้นความสงู จุดตำ่ สุด - จดุ สูงสุด (สง่ิ ท่ีตอ งการทราบ)
ระยะทางในแนวราบ คือ ระยะทางท่ตี องการหา (หนวย cm) x หนว ยของมาตราสว นเปน เมตร
ซง่ึ 1 : 50,000 จงึ เทากับ 500 เมตร

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาสงั คมศกึ ษา ส32101 โรงเรียนสตรีราชินูทิศ ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 5 ครูเดชา วงศคำพระ 2564 23

18.1 การหาความลาดเท (Slope) ทบี่ อกเปน รอยละ (%)

Slope = ระยะในแนวด่งิ (Vertical Distance) x 100
ระยะในแนวราบ (Horizontal Distance)

18.2 การหาความลาดเท (Slope) ทบี่ อกเปน องศา

Slope = ระยะในแนวดงิ่ (Vertical Distance) x 57.3
ระยะในแนวราบ (Horizontal Distance)

18.3 การหาความลาดเท (Slope) ที่บอกเปนมิลเลียมหรอื มลิ

Slope = ระยะในแนวดง่ิ (Vertical Distance) x 1,000
ระยะในแนวราบ (Horizontal Distance)

ตวั อยางที่ 1 จงหาความลาดเทของพน้ื ท่ีที่กำหนดให
ณ จุด A ถึงยอดเขาเขียวซึง่ วดั ระยะ
ทางในแผนทไ่ี ด 4.5 เซนตเิ มตร

ตวั อยา งสาํ เร็

จแลว ระยะทางในแนวดิ่ง 660 – 1292 = - 632 เมตร (คา ติดลบคือการมองจากลา งขึน้ บน)
ใหสงั เกตวธิ ี ระยะทางในแนวนอน 4.5 x 500 = 2,250 เมตร
การหาคําตอ = 632 = 1
Slope

2,250 3.56

หมายความวา ทกุ ๆ ระยะในแนวนอนเปลีย่ น 3.56 เมตรความสงู จะเพ่ิมขึ้น 1 เมตร

บอกความลาดเทเปน รอยละ = 632 x 100 = 28.08

2,250

บอกความลาดเทเปนองศา = 632 x 57.3 = 16.09

2,250

บอกความลาดเทเปน มิลเลียม = 632 x 1,000 = 280.8

2,250

ตัวอยา งท่ี 2 จงหาความลาดเทของพืน้ ที่จาก ก. – ข. ระยะหาง 3.5 Cm เปน รอยละ เปน องศาและเปนมิลเลียม

26 .เอกสารประกอบการสอนรายวิชาสังคมศึกษา ส32101 โรงเรยี นสตรรี าชินทู ิศ ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 5 ครเู ดชา วงศค ำพระ 2564

ระยะทางในแนวดงิ่ คือ 709 – 380 = 329 เมตร

ระยะทางในแนวราบ คือ ระยะ ก-ข 3.5 x 500 = 1750

บอกความลาดเทเปนรอยละ = 329 x 100 = 18.8

1750

บอกความลาดเทเปน องศา = 329 x 57.3 = 10.77

1750

บอกความลาดเทเปนมิลเลยี ม = 329 x 1,000 = 188

1750

19. การบอกทิศ

การบอกทิศนน้ั สามารถบอกไดเปน แบบตาง ๆ หลายแบบแลวแตลักษณะของการใชว า ตอ งการความละเอียด

มากแคไ หน การบอกทศิ แบบตาง ๆ มดี ังน้ี

19.1 การบอกทศิ ธรรมดา ซง่ึ แบงเปน 4 ทิศ 8 ทิศ หรือ 16

19.2 การแบง แบบชาวเรือ แบงออกเปน 32 ทิศโดยแยกยอยจากการบอกทิศธรรมดา

19.3 การบอกทศิ แบบแบร่ิง (Bearings) การบอกทิศทางเปน คา มมุ ในแนวราบ ซึง่ วดั จากแนวทิศเหนอื

หรือทศิ ใต ไปยงั แนวเปาหมายทางตะวนั ออกและตะวันตก คามุมแบรงิ่ มคี า ไมเกิน 90

หลกั ในการอา น ยดึ ทศิ หลัก(เหนอื /ใต) คา มุมท่ีวดั ออกจากทศิ หลกั ตามดว ยทิศรอง(ออก/ตก)

ตัวอยางท่ี 1 N
แนว OA มีมุมแบรง่ิ = N 48 E
แนว OB มีมมุ แบริ่ง = S 60 E DA
แนว OC มมี มุ แบรง่ิ = S 50 W
48
65
W O 30 E

C 50 B

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาสงั คมศึกษา ส32101 โรงเรียนสตรรี าชินทู ิศ ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปที่ 5 ครูเดชา วงศค ำพระ 2564 25

แนว OD มมี ุมแบริง่ = N 25 W

S

19.4 การบอกทิศแบบอาซมิ ุท (azimuth) คือการบอกทศิ หรือมมุ ราบที่วัดจากแนวทิศไปตามเขม็ นากา
มมุ ทวี่ ดั ไดจ ึงมี 360 องศา

ตัวอยางท่ี 2 D NA
แนว OA มีมุมอาซิมุท = 48 ํ
แนว OB มีมมุ อาซมิ ุท = 120 ํ 48 E
แนว OC มีมุมอาซมิ ุท = 230 ํ 65
แนว OD มีมมุ อาซิมทุ = 335 ํ
W O 30

50

B
C

S

การอานคา มุมอาซิมุททำได 2 แบบ
1) อาซมิ ุทไป คอื มมุ ทางระดับท่วี ัดเวยี นไปตามทางเดนิ ของเขม็ นากาจากเสน หลักทิศเหนือ
(ตามตวั อยา งขอ ท่ี 19.4)
2) อาซิมุทกลบั คอื มมุ ทางระดับทีว่ ัดเวียนไปตามทางเดินของเข็มนากาจากเสนหลกั ทศิ เหนอื
ณ ตำบลสังเกตการณม ายงั ตำบลของผูส งั เกตการณ การแปลงคามมุ อาซมิ ทุ เปน มมุ อาซมิ ุทกลับ

อาซิมทุ ไปเทากับหรือนอยกวา 180 องศา ใหเ อา 180 องศาไปบวกอาซิมทุ ไปเทากับอาซมิ ุทกลับ
อาซิมุทไปมากกวา 180 องศา ใหเอา 180 องศาไปลบอาซิมทุ ไปเทา กบั อาซิมุทกลับ

ตัวอยา งท่ี 3 อานมมุ อาซมิ ทุ จากแผนท่ี 1:50,000 จากวัดลุม ถงึ วดั โพธส์ิ าวหาญมีมมุ อาซิมทุ ไปและกลบั เทา ไร

อาซิมทุ ไปประมาณ 260 ํ

อาซมิ ุทกลบั 260 – 180 = 80 ํ

ขอนต้ี องใชไ มค รึ่งวงกลมวดั มมุ นะครับ

26 .เอกสารประกอบการสอนรายวิชาสังคมศึกษา ส32101 โรงเรยี นสตรีราชินูทศิ ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5 ครูเดชา วงศคำพระ 2564

ตวั อยางที่ 4 การแปลงคา มุมอาซิมุทเปน แบริง่ การแปลงแบริง่ เปน อาซิมุท (วธิ อี านงายสุดตองวาดภาพประกอบ)

การเปล่ียนแบริ่งเปนอาซิมุท

อาซมิ ทุ แบริ่ง

60 องศา N 60 ํ E

130 องศา S 50 ํ E

205 องศา S 25 ํ W

290 องศา N 70 ํ W

แบริง่ อาซิมุท

N 40 องศา E 40 ํ

S 30 องศา E 150 ํ

S 65 องศา W 245 ํ

ตวั อยา งที่ 5 การอา นคา อาซิมทุ ไป และอาซิมุทกลบั N
WE
N
B
WE
S
C
ขอ นต้ี องใชไมคร่ึงวงกลมวัดนะครับ
N
S

W 67 65 E
A

S

วดั อาซมิ ทุ ไปจาก A ไป B = 65 ํ
วดั อาซมิ ทุ กลบั จาก B ไป A = 65 + 180 = 245 ํ
วดั อาซมิ ุทไปจาก A ไป C = 270 + (90 – 67) = 293 ํ
วดั อาซมิ ทุ กลบั จาก C ไป A = 293 – 180 = 113 ํ

เอกสารประกอบการสอนรายวชิ าสงั คมศึกษา ส32101 โรงเรียนสตรีราชินูทิศ ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปท ่ี 5 ครูเดชา วงศค ำพระ 2564 27

เรอื่ งท่ี 4 เทคโนโลยีภมู สิ ารสนเทศ (Geometics)

1. เทคโนโลยภี ูมสิ ารสนเทศ (Geometics) คอื การนำเทคโนโลยเี ขา มาใชใ นการจดั เกบ็ ประมวลผล วเิ คราะห

ขอมูลทางภมู ิศาสตร เพ่อื ใหสามารถนำไปใชใ นงานดานตาง ๆ อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ

2. เกิดจากการพัฒนาระบบ 3S มาผสมผสานกันประกอบดว ย
2.1 การสำรวจระยะไกล (Remote Sensing : RS)
2.2 ระบบสารสนเทศทางภมู ิศาสตร (Geographic Information System : GIS)
2.3 ระบบกำหนดตำแหนงบนโลก (Global Position System : GPS)

การสำรวจระยะไกล Remote Sensing : RS
หมายถงึ การบนั ทึกหรือการไดม าซงึ่ ขอ มูลขา วสารเกี่ยวกบั วตั ถุ พ้ืนท่เี ปา หมายดว ยอปุ กรณบ นั ทกึ ขอ มูล
โดยปราศจากการสัมผัสกบั วัตถุนน้ั ๆ ซง่ึ อาศยั การสะทอ นของคลนื่ แมเหล็กไฟฟา
ระบบการทำงานการสำรวจระยะไกล

1) การบันทกึ ขอ มูลแบบพาสซฟี Passive บนั ทกึ ขอมูลโดยใชพลังงานจากแสงอาทิตย จึงบนั ทึกไดเฉพาะ
กลางวนั ไมส ามารถบนั ทึกขอมลู ในชวง ฝนตก เมฆปกคลมุ และกลางคนื

2) การบันทึกขอ มลู แบบแอทีฟ Active อาศยั แหลง พลังงานเกิดจากการสรา งขน้ึ ในตวั ของเครื่องมอื สำรวจ
โดยการสงสญั ญาณคล่นื แมเ หล็กไฟฟา เลเซอร และโซนารออกไปกระทบวตั ถุและสะทอ นกลับมายัง
เครอ่ื งรบั สญั ญาณ สามารถถายไดท ั้งกลางวันและกลางคนื สามารถทะลุเมฆ หมอกและฝนได

1. ภาพถายทางอากาศ  (Aerial Photograph)
หมายถึง ภาพถายทีไ่ ดจ ากการใชก ลอ งถายภาพทางอากาศ หรือบันทึกปริมาณการสะทอ นรงั สคี วามรอน
(Passive) จากดวงอาทิตย มขี นาด 9x9 นิ้ว หรอื 23x23 เซนตเิ มตร
หนวยงานทจ่ี ดั ทำภาพถา ยทางอากาศ คือ กรมแผนทที่ หารกระทรวงกระลาโหมและ GISDA
ชนิดของภายถา ยทางอากาศ
1) ภาพถา ยทางดิง่ (Vertical Photograph) ภาพมลี ักษณะคลา ยคลงึ กับรายละเอยี ดบนแผนท่ี
2) ภาพถา ยเฉียง (Oblique Photograph) เปนภาพถายทแี่ กนกลอ งถา ยภาพเอียงมากหรือนอยแบงเปน
2 ชนดิ

26 .เอกสารประกอบการสอนรายวชิ าสงั คมศึกษา ส32101 โรงเรียนสตรรี าชินูทศิ ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 5 ครูเดชา วงศค ำพระ 2564

2.1) ภาพถา ยเฉียงสงู (High Oblique) คอื ภาพที่มภี าพพน้ื ขอบฟาติดอยดู ว ย
2.2) ภาพถายเฉียงตำ่ (Low Oblique) คอื ภาพท่ไี มเ หน็ ภาพพื้นขอบฟา

ภาพถายทางอากาศในแนวดิ่ง ภาพถา ยทางอากาศเฉียงสูง ภาพถา ยทางอากาศเฉียงต่ำ

วธิ กี ารถา ยภาพทางอากาศ

1) เครื่องบินตอ งบินในแนวตรงและรกั ษาความเร็วสมำ่ เสมอ ถายภาพใหมกี ารเหลือ่ มลำ้ (Overlap)

รอยละ 60

2) เครอ่ื งบนิ ตองรักษาระดับความสงู (Flight Height) ตามทก่ี ำหนดไวต ลอดคงที่

3) ถายในชวงระหวาง 10.00 น. ตอนเชา และ 14.00

น.ในตอนบายเพราะไดร ับแสงสวา งมากทส่ี ดุ และมเี งานอ ยทีส่ ุด
ชนิดของฟลม ท่ีถาย

1) ฟลมขาวดำแพนโครมาตกิ จะไดภาพดำ เทาและขาว เปนฟล ม ท่ีมคี าใชจ า ยถูกสุด นยิ มนำมาใชร ังวดั ที่ดิน

2) ฟล มขาวดำอนิ ฟราเวด นยิ มใชศึกษาเร่ืองของพืชพรรณธรรมชาติไดด ี
3) ฟลมสีธรรมชาติ นยิ มใชก บั งานที่ตองการความละเอียดสูง เชน รงั วดั หรอื งานผลติ แผนท่ี

4) ฟล ม สอี ินฟราเรด หรอื ฟลมสเี ท็จ เชน สพี ืชพรรณจะเปนโทนสแี ดง นิยมใชทางทหาร การสำรวจปาไม

ฟลมขาวดำแพนโครมาตกิ ฟล มขาวดำอินฟราเวด ฟล มสธี รรมชาติ ฟล ม สอี นิ ฟราเรด

วธิ ีการศกึ ษาภาพถายทางอากาศ ทำได 2 วธิ ี
1) การศกึ ษาดว ยตาเปลา เชน
2) ศึกษาดว ยกลอ งสามมติ ิ (Mirror Stereoscope และ Poket Stereoscope) ใชในการศกึ ษา

เอกสารประกอบการสอนรายวชิ าสงั คมศึกษา ส32101 โรงเรียนสตรรี าชินูทศิ ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ 5 ครเู ดชา วงศคำพระ 2564 29

ความสงู ต่ำของพืน้ ท่ี

ประโยชนข องภาพถา ยทางอากาศ (เนนเฉพาะพื้นทีท่ ไี่ มก วา งใหญนกั )
1) การสำรวจและติดตามการเปลย่ี นแปลงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ ม
2) การสำรวจและติดตามการเปลี่ยนแปลงพ้ืนท่กี ารเกษตร  การใชท่ีดนิ
3) การสำรวจทำแผนท/่ี การรางวัดทด่ี นิ

ขอจำกัดของภาพถายทางอากาศ
1) ไมส ามารถถา ยในเวลากลางคืน ฝนตก เมฆบัง

2. ภาพถายจากดาวเทียม  (Satellite Image) หมายถึง ภาพทีไ่ ดจ ากการสงดาวเทยี มที่มกี ารติดตงั้ เคร่อื งถา ยภาพ

โดยอาศัยการสะทอนรงั สีความรอ น (Passive) และคลืน่ แมเ หล็กไฟฟา ที่ (Active)
ขอ มูลทไ่ี ดจ ากดาวเทียมจะเปน สัญญาณตวั เลขทไี่ ดร บั   ซ่ึงตองนำไปแปลความอีกครง้ั

ชนดิ ของดาวเทยี ม
1) ดาวเทียมสำรวจแผน ดนิ หรอื สำรวจทรพั ยากร เชน LANDSAT, SPOT, ERS, RADARSAT,
(ไทยโชติ-Thaichote), TERRa, IKONOS
2) ดาวเทียมสมทุ รศาสตร เชน SEASAT, MOS, RADARSAT แตป จจุบนั ไมค อ ยนิยม
3) ดาวเทียมอตุ นุ ิยมวิทยา เปนดาวเทียมทีน่ ำขอมูลมาใชใ นการพยากรณอ ากาศ เชน GMS, NOAA,
METEOSAT, TIROS GOES-W, GOES-E
4) ดาวเทยี มสอื่ สาร เปนดาวเทียมทีม่ ีวงโคจรเทา กับอตั ราการหมุนรอบตวั เองของโลก จงึ นิยมเรียกวา
ดาวเทียมคางฟา เชน ดาวเทียมซากุระ ดาวเทียมยูริ ดาวเทียมเวสตาร ดาวเทียมแอนคิ
ดาวเทยี มไทยคม เอคโค1 อนิ เทลแซล 8
5) ดาวเทยี มเพอื่ กำหนดตำแหนง บนพน้ื โลก เชน NAVSTAR, GLONASS, GALILEO, IRNSS, COMPAS,
QZSS
6) ดาวเทียมเพอื่ กจิ การทหาร

การแปลความหมายจากภาพถายดาวเทยี ม มี 2 กรณี คอื
1) ขอ มลู ตวั เลข กรณีขอ มลู ที่ไดเปน ตัวเลขจะตองใชเ คร่อื งคอมพวิ เตอรท ่ีมโี ปรแกรมเฉพาะในการแปล

ความหมาย ใหเปนภาพหรอื ขอ มลู อน่ื ๆ

2) ขอมลู เปนภาพพิมพ ใชวิธีการแปลผลดว ยตาเปลา โดยศกึ ษาจากส(ี เปนสีผสมขนึ้ ใหมไ มต รงกบั สี
จริงในธรรมชาติ) ศกึ ษาจากรูปแบบเนอื้ ภาพ ศกึ ษาขนาดรปู ราง เปน ตน

ขอ จำกดั คอื ไมสามารถถายทะลุถ้ำใตดินได คา ใชจายในการดำเนนิ การแพง
ประโยชนภาพถายทางดาวเทียม

1) การทำแผนทท่ี ่ขี อ มลู เปลย่ี นแปลงชา เชน แผนทีธ่ รณีวิทยา แผนท่ีทีด่ ิน
2) เปรยี บเทยี บพน้ื ทป่ี า ไมอดีตและปจจุบนั

26 .เอกสารประกอบการสอนรายวิชาสงั คมศกึ ษา ส32101 โรงเรียนสตรรี าชนิ ูทศิ ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปที่ 5 ครูเดชา วงศคำพระ 2564

3) การพยากรณอากาศ

ดาวเทียม รปู แบบการเกบ็ ขอมู วตั ถุประสงค
ล สำรวจแผน ดิน, ทรพั ยากรธรรมชาติ
LANDSAT (ปจ จบุ ันใช LANDSAT 5 และ 7)
IKONOS Passive (Land Satellites)
QUICKBIRD Passive
SPOT Passive สำรวจพ้นื นำ้ มหาสมทุ ร
THEOS (THAICHOTE) ดวงแรกสำรวจทรัพยากรของไทย Passive (Ocean Satellites)
RADARSAT Passive อุตนุ ิยมวิทยา, พยากรณอ ากาศ
ERS Active (Meteorological Satellites)
MOS Active
SEASAT Passive
Active
NOAA
TIROS Passive
METEOSAT Passive
GOES-W, GOES-E Active
GMS Active
Active

ระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร หรือ Geographic Information Systems (GIS)
คอื ระบบรวบรวม จดั เกบ็ และวเิ คราะหข อมูลทางภมู ิศาสตร โดยใชก ระบวนการทำงานของคอมพิวเตอร

ซงึ่ ชวยใหสามารถคนหาและเรยี กคืนกลบั ขอ มูลตาง ๆ เพือ่ นำมาใชไดอยา งรวดเร็ว

องคป ระกอบระบบสารสนเทศทางภูมศิ าสตร

1) ระบบฮารดแวร (Hardwares ) ไดแก ระบบสมองกลและอุปกรณชว ย ( Computers & Peripherals )
    2) ระบบซอฟทแ วร (Softwares ) ไดแก กลุมโปรแกรมทีเ่ ชน   ARCINFO, PARAMAP, INTERGRAPH
    3) ระบบขอมลู (Data)     ขอ มูลเชงิ พนื้ ที่ และขอ มลู เชิงบรรยาย
    4) บุคลากร(Peopleware) ไดแก บุคคลท่ีมคี วามรทู างดานภูมศิ าสตรมาอยางดี สามารถวิเคราะห และ

ออกแบบแผนทแ่ี ละแผนภูมทิ ่เี ปนผลลัพธข องการวิเคราะหเ พือ่ แสดงผลไดอยา งถกู ตอ ง
  5)  กระบวนการวิเคราะห การใชง าน GIS ใชร ะบบปฏบิ ตั กิ ารคอมพิวเตอร

หลักการทำงานสารสนเทศทางภมู ิศาสตร
1) การนำเขาขอมูล (Data input)

2) การจัดการขอมูล (Data management)

2.1) ขอมลู เชิงพ้ืนท่ี (Spatial Data) เปน ขอ มูลท่รี ะบุตำแหนงพิกัดทตี่ ้งั ขอมลู ประเภทนีเ้ ปนส่ิง

ท่จี ำเปนอยางยงิ่ เพราะ GIS เปนระบบขอ มลู ทตี่ องการอา งองิ ทางภูมศิ าสตร (Geo-

Referenced) ขอ มลู เหลา นไี้ ดแ ก แผนท่ตี า ง ๆ

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาสงั คมศกึ ษา ส32101 โรงเรยี นสตรรี าชินทู ศิ ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 5 ครูเดชา วงศค ำพระ 2564 31

2.2) ขอ มูลทีไ่ มอยใู นเชิงพนื้ ท่ี (Non-Spatial Data) เปนขอ มูลท่เี กี่ยวกบั คณุ ลักษณะตาง ๆ แตย งั คง
จะตองเกี่ยวของกับพนื้ ทน่ี ั้น ๆ (Associated Attributes) ขอ มูลเหลาน้ีไดแก ขอมลู ประชากร

3) การวิเคราะหข อ มูล (Data analysis)
4) การแสดงผล (Data display) คือ การแสดงผลขอ มลู ตอ ผใู ชใ นรปู แบบตวั เลข ภาพ กราฟ

ตาราง คำบรรยาย

ประโยชนข องสารสนเทศทางภมู ิศาสตร (Geographic Information System : GIS)

เนนการวเิ คราะหการใชระบบชวยวิเคราะห (หาระยะทาง หาพื้นที่ ฯลฯ) และการสรางแบบจำลอง

1. การจัดการส่งิ แวดลอม (Environmental Management) เชน การเปลย่ี นแปลงคุณภาพของ
สิ่งแวดลอ มทเ่ี กิดจากกจิ กรรมของมนษุ ย ความเขมขน ของสารมลพิษในอากาศยานชมุ ชนเมอื ง เปน ตน

2. การจัดการทรพั ยากรและการเกษตร (Resources Management / Agriculture) เชน
การจัดการระบบชลประทาน การพฒั นาและการจัดการท่ดี ินเพือ่ การเกษตร เปน ตน

3. การวางแผนและการจดั การภัยธรรมชาติ เชน การประเมินหาพ้นื ท่ีเสี่ยงภยั
หรอื พ้นื ที่ทไ่ี ดร บั ผลกระทบจากภัยพบิ ตั ิเพ่อื การวางแผน การจดั การชว ยเหลอื บรรเทา เปนตน

4. ผังเมอื ง (Urban GIS) เชน การวางผังเมือง การวิเคราะหดานอาชญากรรม ท่ีดนิ และภาษีท่ดี ิน
ระบบระบายน้ำเสยี โครงการพฒั นาทอี่ ยูอาศัย เปนตน

5. การจัดการสาธารณูปโภค (Facilities Management) เชน การจดั การดานไฟฟา
การจดั การระบบประปา การจดั การระบบทอสง กาซ การจดั การระบบการจราจร การคมนาคม เปนตน

6. การตลาด (Marketing Analysis) เชน วเิ คราะหดา นการตลาดเพ่อื หาทำเลที่เหมาะสมในการขยายสาขา
เปน ตน

7. ผลิตแผนท่ีเฉพาะเรือ่ ง เชน การจดั ทำแผนทีเ่ สนทางแหลงทองเทีย่ วและโบราณคดี เปนตน
ระบบกำหนดตำแหนงบนโลก (Global Position System : GPS)

คือ เทคโนโลยที ี่ใชใ นการกำหนดตำแหนง บนพน้ื ผิวโลก โดยอาศยั ดาวเทยี ม
ปจ จบุ นั น้มี ีการผสมผสานระบบดาวเทยี มหลาย ๆ อยา ง เรียก GNSS (Global Navigation Satellite System)
องคป ระกอบของระบบดาวเทียม GPS สามารถแบง ออกไดเปน 3 องคประกอบ ไดแ ก
1) สวนศูนยควบคุมกลาง (Control Station Segment) ตงั้ อยทู ่ฐี านทพั อากาศเมอื ง Colorado Spring
สหรฐั อเมรกิ า และศนู ยควบคมุ กลางประกอบดวย
2) สว นอวกาศ (Space Segment) จะประกอบดวย

 ดาวเทียมทัง้ หมด 24 ดวง แตละดวงโคจรรอบโลกเปนเวลา 12 ชวั่ โมง

26 .เอกสารประกอบการสอนรายวิชาสังคมศกึ ษา ส32101 โรงเรียนสตรีราชินทู ิศ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 5 ครเู ดชา วงศค ำพระ 2564

 มคี วามสงู ของวงโคจรอยปู ระมาณ 20,200 กโิ ลเมตรจากพ้นื โลก
 ดาวเทียมแตละดวงจะมีนากาอะตอม (Atomic Clock ) ติดตั้งอยูถ งึ 4 เครอ่ื ง ซงึ่ จะให

เวลาทถ่ี กู ตอ งมาก
 มรี ะนาบของวงโคจร 6 ระนาบ แตละระนาบมีดาวเทยี ม 4 ดวง และเอยี งทำมุมกบั เสน

ศนู ยส ตู ร (Equator) เปน มมุ 55 องศา
3) สว นผูใ ชง าน (User Segment) ประกอบดวย 2 สว นใหญๆ คือ สว นท่เี กยี่ วของกับทางทหาร (Military)
และทางพลเรือน (Civilian) ซ่ึงทางพลเรอื นจะไดร บั สัญญาณฟรี
ประโยชนข องระบบ GPS

การหาพกิ ัดทางภูมศิ าสตรแ ละนำไปประยุกตใช เชน การสำรวจรางวดั ที่ดิน กจิ การทหาร การติดตามรถ
การตดิ ตามสตั วเลยี้ ง


Click to View FlipBook Version