The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by datapidthong, 2022-01-21 00:09:16

รายงานประจำปี 2562

รายงานประจำปี 2562

Keywords: รายงานประจำปี 2562

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๒
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

คณะกรรมการ
มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชด�ำ ริ

ทา่ นผหู้ ญิงบุตรี วรี ะไวทยะ
ประธานกรรมการ

ทา่ นผ้หู ญงิ จรงุ จติ ต์ ทขี ะระ รศ.ดร.จริ ายุ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ดร.วิรไท สนั ตปิ ระภพ
รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ

นายมนูญ สรรค์คุณากร รศ.สุธรรม อยใู่ นธรรม ม.ร.ว.ดศิ นัดดา ดิศกุล
กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขาธิการ

2

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๒
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

คณะกรรมการ
สถาบนั ส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระ
สืบสานแนวพระราชดำ�ริ

ม.ร.ว.ดิศนดั ดา ดิศกลุ ประธานกรรมการ

ดร.สุเมธ ตันตเิ วชกุล กรรมการ

รศ.ดร.จริ ายุ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา กรรมการ

ทา่ นผู้หญงิ จรงุ จติ ต์ ทขี ะระ กรรมการ

ปลดั สำ�นักนายกรฐั มนตรี กรรมการ

ปลัดกระทรวงมหาดไทย กรรมการ

ปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ ์ กรรมการ

ปลดั กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม กรรมการ

ผบู้ ัญชาการทหารบก กรรมการ

เลขาธิการคณะกรรมการพิเศษ กรรมการ

เพ่ือประสานงานโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดำ�ริ (กปร.)

ประธานกรรมการสถาบนั พฒั นาองคก์ รชุมชน (องค์การมหาชน) กรรมการ

ดร.วริ ไท สนั ตปิ ระภพ กรรมการ

นายกสมาคมองค์การบริหารส่วนจงั หวัดแหง่ ประเทศไทย กรรมการ

นายกสมาคมสนั นบิ าตเทศบาลแห่งประเทศไทย กรรมการ

นายกสมาคมองค์การบรหิ ารส่วนตำ�บลแหง่ ประเทศไทย กรรมการ

นายกสมาคมก�ำ นัน ผู้ใหญบ่ า้ นแหง่ ประเทศไทย กรรมการ

ผู้อ�ำ นวยการสถาบันส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำ�ร ิ กรรมการและเลขานกุ าร



3

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ
4

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๒
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

สารประธานกรรมการ
มลู นิธิปดิ ทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำ�ริ

ปพี ทุ ธศักราช ๒๕๖๓ มลู นธิ ิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชด�ำ ริ และสถาบนั สง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมปดิ ทองหลังพระ
สืบสานแนวพระราชดำ�ริ ได้ดำ�เนินงานมาเป็นปีท่ี ๑๐ ตลอดเวลาที่ผ่านมานั้น นับว่ามีผลการดำ�เนินงานก้าวหน้าเป็นที่น่าพอใจ
คือ ประชาชนในพ้นื ทตี่ ้นแบบทกุ แห่งใน ๙ จังหวัด มีเศรษฐกจิ สังคม และส่ิงแวดลอ้ มทด่ี ีขน้ึ หลังจากที่ไดน้ อ้ มนำ�แนวพระราชดำ�ริ
ของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ไปปรบั ใชใ้ นการแกไ้ ขปญั หาและพฒั นาชมุ ชน

มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ และสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมฯ ได้เริ่มพัฒนาต้นแบบการแก้ปัญหาและพัฒนาชนบทตาม
แนวพระราชดำ�ริเป็นแห่งแรกที่จังหวัดน่าน จากน้ันก็ได้ขยายงานไปยังจังหวัดอุดรธานี เพชรบุรี กาฬสินธุ์ อุทัยธานี ขอนแก่น
และพื้นที่ชายแดนใต้ ในจังหวัดยะลา ปัตตานี นราธิวาส ทั้งได้ขยายงานไปยังภาคเหนือในจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย พะเยา
และแม่ฮ่องสอน เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนในพ้ืนท่ีเหล่าน้ัน นอกจากน้ี ยังได้ร่วมมือกับกระทรวงมหาดไทย
ในแผนพฒั นาพื้นท่ีประยุกต์ตามพระราชด�ำ ริ (พชร.) เพ่อื ถา่ ยทอดความรู้และนำ�แนวพระราชดำ�รไิ ปพฒั นาแหล่งน�้ำ ให้แกป่ ระชาชน
ในอกี ๒๔ จังหวัดดว้ ย

ความก้าวหน้าของโครงการและกิจกรรมในทุกพ้ืนท่ีอันเป็นผลจากความตั้งใจและความร่วมมือของประชาชนในพ้ืนที่และ
ส่วนราชการที่เก่ียวข้องน้ัน ได้แสดงให้เห็นเป็นที่ประจักษ์ว่า แนวพระราชดำ�ริ โดยเฉพาะทฤษฎีใหม่และทฤษฎีใหม่ข้ันก้าวหน้า
เป็นมรดกอันสำ�คัญย่ิงของประเทศชาติ ที่สามารถนำ�พาประชาชนให้พ้นจากความยากลำ�บากไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน
และมคี วามสุขได้อยา่ งย่ังยืน

มูลนิธปิ ดิ ทองหลังพระฯ จะยงั คงมุ่งสืบสานแนวพระราชด�ำ ริในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั รัชกาลท่ี ๙ ตอ่ ไป และจะสืบสาน
แนวพระราชดำ�รพิ ระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดีศรีสนิ ทรมหาวชริ าลงกรณ มหศิ รภมู พิ ลราชวรางกูร กติ สิ ริ ิสมบรู ณอดุลยเดช
สยามนิ ทราธิเบศรราชวโรดม บรมนาถบพิตร พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยไม่ย่อทอ้

ขอขอบใจทุกคนทุกฝ่ายท่ีมีส่วนร่วมในการดำ�เนินงานของมูลนิธิฯ ด้วยดีตลอดมา เพื่อความก้าวหน้าม่ันคงของสังคมไทย
อนั เป็นจดุ ม่งุ หมายสูงสดุ

(ท่านผ้หู ญิงบุตรี วรี ะไวทยะ)
ประธานกรรมการ

มูลนิธิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ

5

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ
6

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๒
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

สารประธานกรรมการ
สถาบันส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำ�ริ

สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ เป็นหน่วยปฏิบัติของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ
ซ่ึงแม้ว่าจะเพิ่งเข้าสู่การดำ�เนินงานในปีที่ ๑๐ แต่เมื่อมองย้อนหลังไป ก็จะพบว่าปิดทองหลังพระฯ มีการขยายพื้นท่ีดำ�เนินงาน
อยา่ งรวดเรว็ จากจังหวัดแรกในปี ๒๕๕๓ จนมาเปน็ ๑๓ จังหวัดในปจั จบุ ัน

ตลอดระยะเวลาดังกลา่ ว สถาบนั ฯ ร่วมกับประชาชนในพื้นที่ ภาคราชการและเอกชน นำ�แนวพระราชด�ำ รไิ ปปรบั ใช้เพื่อแก้ไข
และพฒั นาชวี ิตของประชาชนในภูมิสงั คมที่แตกตา่ งกนั ไป และจากจุดเริ่มตน้ จนถงึ วันน้ี โครงการต้นแบบทัง้ หมด สามารถเพม่ิ พนื้ ที่
ทมี่ นี �้ำ พอเพยี ง ๒๗๕,๗๑๔ ไร่ สรา้ งโอกาสในการขยายงานอาชพี แกป่ ระชาชน ๘๐,๒๔๗ ครวั เรอื น และสรา้ งรายไดส้ ะสมภาคการเกษตร
รวมกนั ประมาณ ๒,๖๗๖ ล้านบาท จากงบประมาณลงทนุ ๑,๒๖๔ ลา้ นบาท

ในขณะเดียวกัน ปิดทองหลังพระฯ ชักชวนท้องถ่ินต่างๆ นอกพื้นท่ีต้นแบบให้ร่วมมือกันซ่อมแซมแหล่งน้ำ�ขนาดเล็ก ๑,๔๐๐
โครงการ สามารถทำ�ให้เกษตรกรเขา้ ถึงแหลง่ น�้ำ ๔๘,๙๓๐ ครวั เรอื น มพี ้นื ทีท่ �ำ เกษตรเพมิ่ ข้ึน ๑๘๑,๑๖๗ ไร่ สามารถสรา้ งรายได้
จากการปลกู พชื ๒-๓ รอบต่อปี การผลติ เฉลยี่ ๘,๔๐๑ บาทตอ่ ไร่ รวมเปน็ รายไดท้ ่ีเกิดขนึ้ ๑,๕๒๑ ล้านบาท

ประชาชนในพ้ืนท่ีต้นแบบเริ่มก้าวจากความอยู่รอดเข้าสู่ระดับความพอเพียงตามทฤษฎีใหม่ มีการจัดต้ังกลุ่มรูปแบบต่างๆ
เพื่อร่วมกันบริหารธุรกิจของชุมชนเพื่อประโยชน์ของชุมชน โดยรวมกันเป็น ๖๗ กลุ่ม ท่ีมีความเข้มแข็งมากข้ึนตามลำ�ดับ
จนมเี งินทุนหมุนเวยี น ๑๒.๑๒ ล้านบาท

ปิดทองหลังพระฯ ตระหนักถึงหัวใจของการพัฒนาตามแนวพระราชดำ�ริ ซึ่งก็คือการพัฒนาคน ดังนั้น นอกเหนือจากการ
ด�ำ เนินงานทางเศรษฐกจิ แล้ว ยังพฒั นากจิ กรรมฝกึ อบรมด้านตา่ งๆ เช่น การพัฒนาแหลง่ น�้ำ ความเข้าใจทฤษฎใี หม่ และแนวทาง
การพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำ�ริ เป็นต้น ซ่ึงได้ให้การอบรมแก่ราชการท้องถิ่น และผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่างๆ
ไปแลว้ ๘,๙๒๓ คน จนมีการน�ำ ไปปฏบิ ตั ิและพฒั นาในท่ีต่างๆ ชว่ ยเหลอื เกษตรกรได้ ๙,๕๙๐ คน

มคี วามรว่ มมอื กบั กรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ ในการน�ำ งานวจิ ยั ของปดิ ทองหลงั พระฯ เรอื่ งการรวมกลมุ่ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพตามทฤษฎี
ใหม่ไปใช้ในการพฒั นาสหกรณ์ในโครงการพระราชดำ�ริต่างๆ กวา่ ร้อยแหง่ ทว่ั ประเทศ

นอกจากน้ี ปิดทองหลังพระฯ ยงั รว่ มมอื กบั มูลนิธริ ากแก้ว เชอื่ มโยงสถาบันอดุ มศึกษาต่างๆ จัดท�ำ หลักสูตรการเรยี นการสอน
ทีป่ ระยกุ ต์ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งใน ๔ มหาวิทยาลัย ๑๗ วชิ า

ในด้านสภาพแวดล้อมนน้ั ปิดทองหลงั พระฯ ร่วมมือกับมูลนธิ แิ มฟ่ ้าหลวงฯ ท่นี �ำ ความชำ�นาญด้านการปลกู ปา่ เศรษฐกิจเข้ามา
สง่ เสรมิ แกป่ ระชาชน จนสามารถลดพนื้ ทปี่ ลกู ขา้ วโพดเชงิ เดย่ี วและเพมิ่ พนื้ ทป่ี า่ ไดถ้ งึ ๒๐๙,๙๗๐ ไร่ ในขณะทกี่ ารด�ำ เนนิ งานในจงั หวดั
อุทัยธานี ทำ�ใหม้ ีการรกุ พนื้ ทีป่ ่ามรดกโลกหว้ ยขาแขง้ ลดลง กับสร้างพื้นทปี่ า่ เศรษฐกจิ ได้มากกว่า ๖,๐๐๐ ไร่

ส�ำ หรับพืน้ ท่จี งั หวัดชายแดนใต้ กไ็ ดเ้ รม่ิ ท�ำ มาได้ ๒ ปี ซึ่งมีความยากล�ำ บากทงั้ ด้านเศรษฐกจิ และความมน่ั คงมาอย่างยาวนาน
นนั้ ปิดทองหลงั พระฯ ไดน้ ำ�ความรดู้ า้ นการปรบั ปรุงคุณภาพทเุ รยี นไปสู่ประชาชนในพน้ื ท่ี พฒั นาระบบน�ำ้ ในนารา้ งจนกลบั มาท�ำ นา
ได้อย่างสมบูรณ์ และสง่ เสริมการยกระดับงานหตั ถกรรม

ส่วนพื้นท่ีชายแดนเหนือนั้น ก็ได้เร่ิมทำ�มา ๒ ปี เป็นทางผ่านของยาเสพติดเข้าสู่ประเทศจนกลายเป็นอุปสรรคสำ�คัญต่อ
การพัฒนาคนของชาติ ในปี ๒๕๖๑ ปิดทองหลังพระฯ จึงรว่ มกบั มูลนธิ ิแมฟ่ า้ หลวงฯ ราชการและองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ ต่างๆ
นำ�แนวพระราชด�ำ รไิ ปใชใ้ นการยกระดบั คุณภาพชวี ิตประชาชนใหร้ อดพ้นจากความยากล�ำ บาก เปน็ ทางเลือกใหมใ่ นการดำ�เนินชวี ติ
ท่ีดกี ว่าเดมิ โดยดำ�เนินการในจงั หวัดเชียงใหม่ เชยี งราย พะเยา และแม่ฮอ่ งสอน

ในฐานะประธานกรรมการสถาบนั ส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ผมขอแสดงความขอบคุณอยา่ งสูงต่อประชาชน
ในพ้นื ท่ี ตลอดจนสว่ นราชการต่างๆ ท่ีร่วมคดิ รว่ มทำ� กับปิดทองหลงั พระฯ มาโดยตลอด

ความสำ�เร็จและก้าวหนา้ ต่างๆ ดังกลา่ วน้นั ล้วนแต่สะทอ้ นพระราชดำ�รสั ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ล
อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ดงั ใจความวา่ “ความสามคั คปี รองดองเปน็ อนั หนงึ่ อนั เดยี วกนั กบั ความรกั ใครเ่ ผอ่ื แผช่ ว่ ยเหลอื กนั
ฉันญาติพ่ีน้อง สองประการน้ี คือคุณลักษณะสำ�คัญของไทย ท่ีช่วยให้ชาติบ้านเมืองอยู่รอดเป็นอิสระ” ผมจึงหวังว่าเราจะสามารถ
รักษาความร่วมมือ ร่วมใจนี้ไว้ เพื่อความเจริญก้าวหน้าของประชาชน และประเทศชาติ และร่วมกัน สืบสาน รักษา ต่อยอด
อย่างเต็มความสามารถต่อไป

(หม่อมราชวงศด์ ิศนัดดา ดิศกุล)
ประธานกรรมการ

สถาบันส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมปดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ
7

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ
8

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

สารปลัดส�ำ นักนายกรฐั มนตรี

ในนามสำ�นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี ขอแสดงความยินดีต่อความก้าวหน้าของการพัฒนาตามแนวพระราชดำ�ริ
ของมูลนธิ ิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำ�ริ และสถาบันสง่ เสริมและพัฒนาปดิ ทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ ที่ได้
ก้าวมาสูป่ ีท่ีสิบในปนี ้ี

นบั จากการจดั ตงั้ มลู นธิ ฯิ และสถาบนั ฯ โดยมตคิ ณะรฐั มนตรี เมอ่ื วนั ที่ ๒๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๒ เปน็ ตน้ มา มลู นธิ ฯิ และสถาบนั ฯ
ไดร้ ่วมมือกับสำ�นกั งานปลัดสำ�นกั นายกรัฐมนตรี ภาคราชการ ภาคเอกชนและประชาชน เพ่ือบูรณาการพัฒนาชนบท โดยน้อมนำ�
แนวพระราชด�ำ รมิ าเป็นเขม็ ทศิ ของการทำ�งาน โดยความกา้ วหน้าของงานในพ้นื ทีต่ า่ งๆ ยอ่ มแสดงชัดแล้วว่า การรว่ มมอื กนั ท�ำ งาน
โดยยดึ ประโยชน์ของประชาชนในพืน้ ที่ เป็นเปา้ หมาย เปน็ ปจั จยั สำ�คัญของความสำ�เร็จทัง้ ปวง

สำ�นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรีหวังว่า งานในอนาคตของมูลนิธิฯ และสถาบันฯ จะก้าวหน้าย่ิงขึ้นจนเป็นแบบอย่างของ
การพัฒนาชนบท เพื่อประโยชน์ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
ในภาพรวมต่อไป

(นายธีรภทั ร ประยรู สิทธิ)
ปลดั ส�ำ นกั นายกรฐั มนตรี

9

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๒
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

วิสยั ทัศน์

เปน็ องค์กรขับเคลอ่ื น พนั ธกจิ
การพัฒนาที่ยัง่ ยนื ของประเทศไทย
“การจัดการความรู้
ขยายผลแนวพระราชดำ�ริ และการส่งเสริมการพัฒนา
ให้เกิดประโยชนท์ ีย่ ่ังยนื
ตามแนวพระราชดำ�ริ
แก่ประชาชน อยา่ งเปน็ ระบบ กวา้ งขวาง
จนเปน็ แนวทางการพฒั นาหลกั

ของประเทศ”

ค่านิยมองค์กร ยทุ ธศาสตร์

๑. การพัฒนาพ้ืนทีต่ น้ แบบ
ศรทั ธา แนวพระราชด�ำ ริ ๒. การจดั ตั้งสถาบนั อบรม
เชื่อมน่ั ในองคก์ ร ๓. การสง่ เสรมิ การรับรู้
กา้ วหน้า ร่วมกันทุกภาคสว่ น และเขา้ ใจแนวพระราชดำ�ริ
ย่งั ยนื โดยประชาท�ำ เอง ๔. การส่อื สารสาธารณะและภาคีสมั พันธ์
๕. การบริหารจดั การ

10

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๒
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

การดำ�เนนิ งานในพื้นท่ีต้นแบบ

เร่ิมด�ำ เนินการพื้นที่ต้นแบบจังหวัดนา่ น

๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒

เรม่ิ ด�ำ เนนิ การพน้ื ทตี่ น้ แบบจงั หวดั อดุ รธานี

11

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

เริ่มดำ�เนินการพน้ื ทีต่ ้นแบบจังหวัดเพชรบุรี

๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒

เรม่ิ ด�ำ เนินการพ้นื ทต่ี ้นแบบจังหวดั อทุ ัยธานี

12

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๒
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

เรม่ิ ดำ�เนนิ การพื้นท่ตี น้ แบบจังหวัดกาฬสินธุ์

๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒

เริ่มดำ�เนินการพ้นื ที่ตน้ แบบจงั หวัดขอนแกน่

13

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๒
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

เริ่มด�ำ เนินการพืน้ ทีต่ น้ แบบ ๓ จังหวดั ชายแดนใต้

๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒

เร่ิมดำ�เนนิ การพืน้ ท่สี ่วนขยายภาคเหนือ

14

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

๑ ทศวรรษ ปิดทองหลังพระฯ

ต้ังแต่ปีงบประมาณ ๒๕๕๓-๒๕๖๒ ตลอด ๑ ทศวรรษท่ีผ่านมา มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ
ม่งุ มน่ั ปฏบิ ัติงานให้บรรลผุ ลตามนโยบายท่กี ำ�หนดไว้ คอื

๑. มงุ่ เนน้ ให้ชุมชนพึง่ พาตนเองได้ คำ�นงึ ถงึ ประโยชน์ ตรงกับปญั หาและความตอ้ งการของชมุ ชน
๒. ให้ความสำ�คัญกบั การบรู ณาการความรว่ มมือกบั หนว่ ยงานภาคตี ่างๆ ทง้ั ภาครฐั และเอกชนทเี่ กย่ี วขอ้ ง
๓. พฒั นาแบบองคร์ วมทย่ี ดึ พน้ื ทเ่ี ปน็ หลกั (Area based) ด�ำ เนนิ การแบบครบวงจร ตง้ั แต่ ตน้ น�ำ้ กลางน�ำ้ ปลายน�ำ้
๔. สำ�รวจขอ้ มูลอยา่ งเปน็ ระบบ เพอื่ เข้าใจภมู ิสงั คม ท้ังกอ่ น ระหว่าง และหลงั การพัฒนา
๕. ให้ความรู้และฝกึ ทักษะก่อนปฏิบตั ิจริง

15

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๒
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

พื้นท่ตี น้ แบบ ๙ จังหวดั ๙๘ หมบู่ ้าน

น่าน
อุดรธานี

กาฬสินธ์ุ ขอนแก่น

อุทยั ธานี พ้ืนที่ต้นแบบระยะท่ี ๒

เพชรบรุ ี ปัตตานี
ยะลา นราธิวาส
พื้นท่ตี น้ แบบระยะท่ี ๑
กล่มุ บรหิ ารจดั การทรัพยากรธรรมชาติ
ครวั เรือนท่เี ขา้ ร่วมโครงการ ๔,๖๒๖ ครัวเรอื น (กลุ่มป่าชมุ ชนและกองทนุ ป่า กลุม่ ผู้ใชน้ ้ำ�
ร้อยละ ๕๗ ของครวั เรอื นท้ังหมด ๘,๐๔๑ ครัวเรอื น การอนุรักษพ์ ันธปุ์ ลาหรอื พันธส์ุ ัตว์น�้ำ ฯลฯ) ๕๕ กลุม่
ลดพื้นท่ปี ลูกขา้ วโพดเลย้ี งสัตว์ ๒๘,๙๐๔ ไร่
พืน้ ทีร่ ับน้ำ�เพอ่ื การเกษตร คดิ เป็นร้อยละ ๔๓
เฉพาะพื้นที่ต้นแบบ ๓๖,๐๖๓ ไร่ (รวมขยายผล)
ครวั เรอื นไดร้ บั ประโยชน์ เฉพาะพนื้ ทต่ี น้ แบบ ๔,๖๒๖ ครวั เรอื น พ้นื ท่ีปา่ เพมิ่ ขนึ้ ๑๐๖,๕๘๐ไร่
ท�ำ ให้มีพนื้ ท่ปี า่ ท้งั หมด ๒๐๙,๙๗๐ ไร่
รายไดภ้ าคการเกษตร
เพ่มิ ข้ึนจาก ๑๐๙.๕ ล้านบาท พนื้ ที่เสียหายจากไฟปา่ ลดลงร้อยละ ๙๙
เฉพาะพ้นื ทีต่ ้นแบบ เป็น ๑,๕๓๒ ล้านบาท จากการควบคมุ การเผาพ้ืนที่ไร่ ท�ำ แนวกันไฟ
เฉลย่ี ๕๗๗,๖๗๓ บาทครวั เรือน การลาดตระเวน เฝ้าระวังและดับไฟปา่ ตลอดฤดแู ล้ง
รวมท้งั ฟื้นฟูแหล่งตน้ น้�ำ ล�ำ ธาร
การรวมกลมุ่ พึ่งพากนั เองของชุมชน ๖๗ กลุม่ /กองทนุ โดยการสรา้ งฝายชะลอนำ้� ๖,๒๕๙ แห่ง ฯลฯ
ยกระดบั เป็นวิสาหกจิ ชุมชนและสหกรณ์ ๑๐ กลุ่ม
รวมมูลค่าในกองทุน ๑๒,๑๒๔,๑๗๗ บาท
สมาชกิ ๑,๖๓๔ ครวั เรือน

16

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

ระดับการพัฒนาของพื้นที่ต้นแบบ

ระยะที่ ๑ ระยะที่ ๒ ระยะท่ี ๓

๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘

นา่ น

อดุ รธานี

เพชรบุรี

อุทยั ธานี

กาฬสินธ์ุ

ขอนแกน่

จังหวัดชายแดนใต้

การพัฒนาขัน้ ที่ ๑ ครัวเรือนพง่ึ ตนเอง (อยรู่ อด)
การพฒั นาขนั้ ที่ ๒ ชุมชนรวมกลุ่มพึ่งตนเอง (พอเพียง)
การพฒั นาขน้ั ที่ ๓ ชุมชนออกสู่ภายนอก (ย่ังยนื )
แนวทางท่คี วรดำ�เนนิ การในระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๔-๒๕๖๘)

17

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๒
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

การขยายผลงานพัฒนา

ขยายผลในจงั หวัดพ้นื ทีต่ ้นแบบ (น่าน อดุ รธาน)ี
ร่วมกับจงั หวัดและองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ

พฒั นาแหลง่ นำ�้ และกิจกรรมตอ่ เนื่อง ครวั เรอื นไดร้ บั ประโยชน์ ครอบคลมุ พืน้ ท่ี รายไดท้ เี่ กดิ ขนึ้
รวม ๑,๔๐๐ โครงการ ๔๘,๙๓๐ ครวั เรอื น ๑๘๑,๑๖๗ ไร่ ๑,๕๒๑,๙๘๓,๙๖๗ บาท

ขยายผลการพัฒนาร่วมกับจังหวัด

น ครนายก กระบี่ รอ้ ยเอ็ด

• โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ�ช่วย • โครงการแผนพัฒนาชนบทเชิง • โครงการเครือข่ายหลุมพอเพียงอินทรีย์
เหลอื เกษตรกรระบบไรน่ าตามแนวคดิ พนื้ ทป่ี ระยกุ ตต์ ามพระราชด�ำ ริ อ�ำ เภอ วถิ ีไทย ภายใต้มาตรฐาน Earth Safe
เศรษฐกจิ พอเพียง ล่มุ น้ำ� ย่อยคลอง เกาะลนั ตา และอำ�เภอเหนือคลอง เพอื่
ห้วยถ่าน อำ�เภอบ้านนา จังหวัด แก้ปัญหาทรัพยากรชายฝ่ังจังหวัด
นครนายก กระบี่

18

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๒
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

บูรณาการการท�ำ งาน

บันทึกความเข้าใจ (MOU) ระหวา่ ง ๕ หนว่ ยงาน (ส�ำ นักงานปลดั ส�ำ นักนายกรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม และมูลนิธิปิดทองหลงั พระฯ) เพอื่ ขบั เคลอ่ื นการพฒั นาชนบทเชงิ พื้นท่ปี ระยุกต์ฯ

• กระทรวงมหาดไทย
ประยกุ ต์ใชใ้ น ๑๐ จังหวดั ปรากฏวา่ สามารถพัฒนาระบบน�ำ้
และสรา้ งงานสรา้ งอาชีพตอ่ ยอดได้ ๕๑ โครงการ

•  กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการพฒั นาแหล่งนำ้�ขนาดเลก็ อันเนอื่ งมาจากพระราชด�ำ ริ ใน ๙ จงั หวดั ๒๐๘ โครงการ

•  กรมส่งเสริมสหกรณ์
น�ำ แนวทางการรวมกล่มุ ตามแนวพระราชด�ำ ริ ๗ ขั้นตอน
ยกระดบั สหกรณ์ในโครงการพระราชด�ำ ริ ๑๒๙ แหง่
•  กรมประมง
สง่ เสรมิ งานประมงตามแนวพระราชด�ำ ริดว้ ยการวจิ ัย และพัฒนาบคุ ลากรดา้ นการประมง
เพ่อื ใหเ้ กดิ การพัฒนาดา้ นการประมงท่ียง่ั ยืน

19

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

การพัฒนาระบบการผลิตและการตลาดในจังหวัดชายแดนภาคใต้

ปี ๒๕๖๑ โครงการทเุ รยี นคุณภาพ พน้ื ทีจ่ ังหวดั ยะลา

เกษตรกรเข้ารว่ มโครงการ ๑๘ ราย รับซอื้ ผลผลิตได้ ๓๔,๘๙๑.๑ กก. เพม่ิ รายไดจ้ าก ๒,๓๕๐ บาท/ตน้
ทเุ รียน ๓๓๕ ต้น มูลค่ารวม ๒,๓๓๗,๔๑๓ บาท เปน็ ๗,๓๓๒ บาท/ตน้ หรือ ๓.๘ เทา่
เฉล่ีย ๑๒๙,๘๕๖ บาท/ราย

ปี ๒๕๖๒ โครงการทเุ รียนคุณภาพ พน้ื ทีจ่ ังหวัดยะลา ปัตตานีและนราธวิ าส

เกษตรกรเข้าร่วมโครงการ ๖๖๔ ราย ผลิตทเุ รยี นคณุ ภาพ (เกรด A B และ C) รายได้รวม ๗๙.๕๗ ลา้ นบาท
สง่ ออกประเทศจนี รวม ๑,๑๒๔ ตัน

การพัฒนาทางเลือกในพื้นที่ชายแดนภาคเหนือขยายผลโครงการร้อยใจรักษ์

แม่ฮ่องสอน เชียงราย
พะเยา

เชยี งใหม่

ปี ๒๕๖๒ พนื้ ที่ ๔ จงั หวัด มีผ้นู �ำ ทอ้ งที่ ทอ้ งถ่นิ และสว่ นราชการ โครงการแก้ปัญหาเรง่ ด่วน
(เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน และพะเยา) ผ่านกิจกรรมการเรยี นรู้ประสบการณใ์ นพืน้ ที่จรงิ ๓๓ โครงการ

๑๙ อ�ำ เภอ ๑๑๙ ตำ�บล และฝึกปฏิบตั ิ ๒ หลักสตู ร
รวม ๖,๖๓๒ ราย

20

ผลการดำ�เนินงานปี ๒๕๖๒

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

พื้นทตี่ ้นแบบ ๙ จังหวดั ๙๘ หมบู่ า้ น

พื้นทรี่ บั ประโยชน์ รายไดเ้ ฉลยี่ ของครัวเรอื นในหมู่บา้ นตน้ แบบ ๑๖๘,๓๓๔ บาทต่อปี
จากนำ้�ทางการเกษตร ๓๖,๐๖๓ ไร่ (ประชากรเฉลย่ี ๔ คนต่อครัวเรือน)
เฉลี่ยตอ่ คนตอ่ ปี ๔๒,๐๘๕ บาท
ราษฎรในหมบู่ า้ นต้นแบบได้รับประโยชน์
จากการพัฒนาระบบน้ำ� ๔,๖๒๖ ครวั เรอื น รายได้ในภาคการเกษตร ๑๑๙,๓๘๕,๓๒๔ บาท
จากท้งั หมด ๘,๐๔๑ ครวั เรอื น (รอ้ ยละ ๕๗.๕๓)
การพัฒนาในพื้นทีต่ น้ แบบระยะท่ี ๑
๑ ๒๓
(น่าน อุดรธานี เพชรบรุ ี อทุ ยั ธานี และกาฬสนิ ธ์)ุ ตามล�ำ ดับขั้นทฤษฎใี หม่
๑๒ ดว้ ยการเสรมิ ความเข้มแข็งชุมชนในทฤษฎใี หม่ขัน้ ท่ี ๒ ชุมชนรวมกลุ่ม
เพอ่ื กา้ วสู่ทฤษฎใี หมข่ ั้นท่ี ๓ การเชือ่ มโยงออกส่ภู ายนอก

การพฒั นาในพืน้ ที่ตน้ แบบระยะที่ ๒

(ขอนแกน่ ยะลา ปัตตานี และนราธวิ าส)
ก�ำ ลงั เริม่ ต้นทฤษฎใี หมข่ น้ั ท่ี ๒ ชุมชนรวมกลมุ่ พง่ึ ตนเองได้

เนน้ การพัฒนาคน ความรู้ อาชีพ เชื่อมโยงความรู้จากหนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วขอ้ ง มีการรวมกลมุ่ ๖๗ กลุ่ม ๕ วิสาหกจิ ๑ สหกรณ์
การบรหิ ารจัดการ การวางแผนธรุ กจิ เพ่อื สนบั สนุนงานกระบวนการพัฒนาใหเ้ กิดความเขม้ แข็ง มูลค่ารวมท่ีเกดิ ขน้ึ ๙,๔๔๗,๗๒๙ บาท
เช่น สำ�นกั งานสหกรณ์จงั หวดั ส�ำ นักงานเกษตรจงั หวดั
การเงินการบญั ชี มหาวทิ ยาลัยในพืน้ ท่ี ภาคเอกชนภายใตก้ ารทำ�งานรูปแบบ

Social Enterprise ฯลฯ

22

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

โครงการพืน้ ทตี่ น้ แบบบูรณาการแกไ้ ขปัญหา
และพฒั นาพื้นทจี่ งั หวดั นา่ นตามแนวพระราชด�ำ ริ

ระยะเวลาด�ำ เนินการ ปี ๒๕๕๓-๒๕๖๒

พน้ื ท่ตี น้ แบบ ๒๐ หมูบ่ ้าน ๓ อำ�เภอ
(ท่าวงั ผา สองแคว เฉลิมพระเกียรติ)

พน้ื ทีร่ บั ประโยชน์จากน้�ำ ๑๑,๖๒๐ ไร่

ผรู้ ับประโยชน์ ๑,๗๒๖ ครวั เรอื น ๑,๓๗๙ แปลง

๑๕ กลุ่ม ๔ วิสาหกิจ
(กล่มุ วิสาหกจิ ผูป้ ลกู มะนาวบ้านยอด
ได้รบั รางวลั วิสาหกจิ ชมุ ชนดีเด่น รางวลั รองชนะเลิศ

และมีตราสินค้าของชุมชน)

มลู ค่ากองทนุ รวม ๕,๒๐๐,๐๐๐ บาท

เพ่มิ พื้นทปี่ ่า (ปา่ เศรษฐกจิ ๓๓,๗๕๘ ไร่
ป่าใชส้ อย ๒๒,๕๕๒ ไร่ และปา่ อนรุ กั ษ์ ๑๕๓,๖๖๐ ไร)่

23

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๒
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

ประเด็นหลักของการพัฒนา

การพัฒนาแบบองคร์ วม เพ่ือฟ้นื ฟูทรัพยากรธรรมชาติ
ทีถ่ ูกทำ�ลาย ดว้ ยการนอ้ มนำ�แนวพระราชด�ำ ริ “ทฤษฎีใหม”่
มาประยุกต์ใช้ให้ชุมชนพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน เป็นการ
แก้ไขปัญหาความยากจนและขาดโอกาสในการพัฒนา
สร้างอาชีพทางเลือก ไมต่ ดั ไม้ท�ำ ลายปา่ และรกั ษาต้นนำ�้

เม่ือการพัฒนาระบบน้ำ�เต็มศกั ยภาพแล้ว ปี ๒๕๖๒ จึงเปน็
กิจกรรมการซ่อมบำ�รุงระบบนำ้�เดิมให้ใช้ประโยชน์ได้ตามปกติ
ขณะท่ีการส่งเสริมด้านการเกษตร เน้นความต่อเน่ืองของระบบ
การผลติ ทางการเกษตร ยกระดับคุณภาพผลผลติ ทางการเกษตร
เน้นการส่งเสริมเพ่ิมผลผลิตข้าวไร่ ข้าวนาดำ� ให้ได้ผลผลิตตาม
เป้าหมาย ๓๕๐ กิโลกรัมต่อไร่ พัฒนาความรู้ในการผลิต
สารชวี ภัณฑใ์ ช้เอง สง่ เสริมพืชหลงั นาและพัฒนาคณุ ภาพผลผลิต
พืชเดิมในพนื้ ท่ี (มะนาว สม้ กล้วย)

ควบคู่กับการพัฒนาศักยภาพเกษตรกร ท้ังด้านความรู้
เทคนิควิธีการสมัยใหม่ ปรับปรุงผลผลิตเกษตรให้เกิดผล
เตม็ ศกั ยภาพพน้ื ท่ี สรา้ งความเขม้ แขง็ ใหก้ บั กลมุ่ รวมถงึ การขยาย
กระบวนการพฒั นาไปสหู่ นว่ ยงานทเ่ี ก่ียวข้อง

ปี ๒๕๖๒ ยังเป็นปีที่ไม้ผลจากการส่งเสริมในปีก่อนๆ เร่ิม
ให้ผลผลิต เป็นแหล่งอาหารในครัวเรือนและสร้างรายได้จาก
การจ�ำ หนา่ ยผลผลติ ทเ่ี รม่ิ เกบ็ เกย่ี วได้ และการผลติ อาหารปศสุ ตั ว์
ให้ผลผลติ เตม็ ที่

24

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๒
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

อ.ท่าวังผา ส้มเขียวหวาน มะมว่ งหิมพานต์

พน้ื ทร่ี ับประโยชนจ์ ากน้ำ� ๑,๙๓๗ ไร่ พน้ื ท่ี ๒๙ ไร่ ๓ งาน จ�ำ นวน ๖๘ ครวั เรอื น
จำ�นวน ๙ ครัวเรอื น
รายได้ ๖๐๕,๐๐๐ บาท รายได้ ๑๘๕,๓๕๒ บาท

ข้าวโพด ขา้ วนา

พนื้ ท่ี ๘ ไร่ พืน้ ท่ี ๑๖๙ ไร่ ๒ งาน
จ�ำ นวน ๗๓ ครวั เรือน
จ�ำ นวน ๔ ครัวเรอื น รายได้ ๑,๑๑๕,๔๐๐ บาท

พรกิ ซุปเปอรฮ์ อท รายได้ ๕๗,๒๗๖ บาท ข้าวไร่ พรกิ ใหญ่

พนื้ ท่ี ๕ ไร่ ๓ งาน พน้ื ที่ ๗๑ ไร่ พ้ืนที่ ๔๑ ไร่

จ�ำ นวน ๑๑ ครัวเรอื น จำ�นวน ๑๗ ครวั เรือน จ�ำ นวน ๑๙ ครวั เรอื น

รายได้ ๑๓๖,๖๕๑ บาท รายได้ ๖๖,๗๒๐ บาท รายได้ ๑,๕๔๐,๖๙๗ บาท

ข้าวก�ำ่ ลืมผวั ผักกาดเขยี วปลี รายได้รวม ๔,๔๔๘,๗๙๓ บาท

พนื้ ท่ี ๒๒๒ ไร่ ๒ งาน พน้ื ที่ ๔ ไร่

จำ�นวน ๔๗ ครัวเรอื น จ�ำ นวน ๑ ครัวเรือน

รายได้ ๗๒๗,๔๖๐ บาท รายได้ ๑๒,๓๐๐ บาท

อ.สองแคว อ.เฉลิมพระเกยี รติ

พ้ืนที่รบั ประโยชนจ์ ากนำ้� ๒,๖๐๗ ไร่ พนื้ ท่รี บั ประโยชน์จากน�ำ้ ๗,๐๗๖ ไร่

ขา้ วนา ขา้ วนา

พน้ื ที่ ๔๙๕ ไร่ ๓ งาน พน้ื ท่ี ๙๓๑ ไร่

จ�ำ นวน ๑๕๒ ครัวเรือน จำ�นวน ๓๔๕ ครัวเรือน

รายได้ ๓,๐๔๐,๘๐๐ บาท รายได้ ๔,๖๖๑,๗๐๐ บาท

ข้าวไร่ ขา้ วไร่

พื้นที่ ๔๐ ไร่ พื้นท่ี ๕,๐๒๔ ไร่

จ�ำ นวน ๑๗ ครัวเรอื น จ�ำ นวน ๗๗๑ ครัวเรือน

รายได้ ๕๖,๔๐๐ บาท รายได้ ๑๐,๓๓๖,๐๕๐ บาท

ข้าวก่�ำ ลืมผวั มะมว่ งหมิ พานต์ ฟักทอง/ฟักเขียว

พื้นท่ี ๘๖ ไร่ ๑ งาน จ�ำ นวน ๖๖ ครวั เรือน แซมข้าวไร่/ขา้ วโพด
จำ�นวน ๖๓ ครวั เรือน
จ�ำ นวน ๒๓ ครวั เรือน รายได้ ๒๐๔,๙๙๐ บาท รายได้ ๓๓,๘๗๐ บาท

รายได้ ๖๐๒,๘๘๐ บาท กล้วยน�ำ้ วา้

สม้ โอ มะแขวน่ (ขายท่วั ไป)
จ�ำ นวน ๙๑ ครวั เรอื น
พนื้ ท่ี ๘๓ ไร่ ๑ งาน พืน้ ที่ ๔๖๗ ไร่ รายได้ ๑๓๘,๓๗๕ บาท
จ�ำ นวน ๓๐ ครัวเรือน
รายได้ ๖๓๒,๘๐๐ บาท จำ�นวน ๑๒๔ ครัวเรือน กล้วยน�ำ้ วา้

มะนาว รายได้ ๒,๕๐๙,๓๐๗ บาท (คณุ ภาพ)

พื้นที่ ๕๘๑ ไร่ จำ�นวน ๒๘ ครัวเรือน รายได้รวม ๑๕,๔๒๒,๘๙๘ บาท
จำ�นวน ๙๖ ครัวเรอื น
รายได้ ๑,๕๖๓,๕๖๐ บาท รายได้ ๔๐,๘๓๗ บาท

มะม่วงหิมพานต์ รายได้รวมท้งั หมด

จ�ำ นวน ๖๔ ครัวเรือน ๒๘,๓๑๘,๙๕๔ บาท

รายได้ ๓๘,๙๐๙ บาท

รายไดร้ วม ๘,๔๔๗,๒๖๓ บาท

25

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

โครงการบริหารจัดการน�้ำ อย่างยัง่ ยืน
อา่ งเก็บน�ำ้ ห้วยคล้ายอันเนอื่ งมาจากพระราชดำ�ริ
อำ�เภอหนองววั ซอ จงั หวัดอดุ รธานี

ระยะเวลาด�ำ เนนิ การ ปี ๒๕๕๕–๒๕๖๒

พนื้ ทีต่ ้นแบบ ๒ หมู่บา้ น
(บา้ นโคกล่าม บ้านแสงอร่าม)

พืน้ ทีร่ ับประโยชน์จากนำ�้ ๑,๘๕๐ ไร่

ผรู้ ับประโยชน์ ๑๖๖ ครัวเรือน

กลุม่ ๔ กลมุ่ /กองทนุ และ ๔ วสิ าหกจิ ชุมชน
(โรงสีขา้ วชุมชน ปยุ๋ อนิ ทรยี ์ ปลูกผัก ผลติ ภณั ฑ์ภธู ารา

ซ่งึ สนิ คา้ ภายใต้ตราสินค้า “ภูธารา”
ได้รบั มาตรฐานขององคก์ ารอาหารและยาแล้ว)

มูลคา่ กองทนุ รวม ๖๔๒,๑๘๐ บาท

26

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๒
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

ดา้ นเกษตร ประเด็นหลักของการพัฒนา

ขา้ วโพดหวาน ข้าว ยกระดับคุณภาพชวี ติ ประชาชนให้สามารถพึง่ พาตนเองได้อยา่ ง
ยั่งยืน โดยบริหารจัดการแหล่งนำ้�ขนาดเล็กอันเน่ืองมาจากพระ
พ้ืนที่ ๔๔ ไร่ พ้ืนที่ ๗๔๔.๒๕ ไร่ ราชดำ�ริให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อสร้างอาชีพ สร้างรายได้ แก้ไข
ปัญหาสังคม แรงงานพลัดถ่ินให้กลับสู่ชุมชน และพัฒนาเป็นห้อง
จ�ำ นวน ๒๖ ครัวเรือน จ�ำ นวน ๘๗ ครัวเรอื น ปฏิบตั กิ ารทางสงั คม ในการเรียนร้แู ละฝกึ ปฏิบัตใิ หก้ บั ทุกภาคส่วนที่
เก่ยี วข้อง
รายได้ ๑๓๙,๑๙๙ บาท รายได้ ๔,๒๘๐,๓๓๒ บาท
หลงั จากการพฒั นาระบบนำ้�ดว้ ยการประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั การบรหิ ารจดั การ
ถั่วลิสง มนั สำ�ปะหลงั น้ำ�ชุมชนตามแนวพระราชด�ำ ริ สามารถเพ่มิ พืน้ ท่ีรับประโยชนจ์ าก ๘๐๐ ไร่
เป็น ๑,๘๕๐ ไร่ ในปี ๒๕๖๒ การทดลองท�ำ แปลงต้นแบบการจัดการน�้ำ ใน
พน้ื ท่ี ๘ ไร่ พื้นท่ี ๒๘.๕๐ ไร่ แปลงด้วยระบบน้ำ�หยด ๖ ครวั เรือน พ้นื ท่ี ๑๐ ไร่ ปรากฏวา่ สามารถใชง้ าน
ได้เต็มประสทิ ธภิ าพทุกแปลง
จำ�นวน ๘ ครัวเรือน จ�ำ นวน ๗ ครัวเรือน
การสง่ เสรมิ การผลติ ภาคเกษตรตามมาตรฐาน GAP มผี รู้ อรบั มาตรฐาน
รายได้ ๑๔,๗๗๐ บาท รายได้ ๒๑๕,๒๗๐ บาท อีก ๒๘ ราย พ้ืนที่ ๒๙๙ ไร่ ๒ งาน ขณะท่ีการสง่ เสริมการรวมกล่มุ เพื่อ
สรา้ งความเขม้ แขง็ ใหก้ บั ชมุ ชน ยกระดบั การพฒั นาตามล�ำ ดบั ขนั้ ของทฤษฎี
ออ้ ย ผักสวนครัว ใหม่ จากข้นั ท่ี ๒ ไปสขู่ ้ันที่ ๓ ท�ำ ใหก้ ลุ่ม/กองทนุ สามารถพฒั นาไปเป็น
วิสาหกิจชุมชนได้ ๔ วิสาหกิจ มีครัวเรือนที่เคยออกไปทำ�งานนอกพื้นท่ี
พื้นท่ี ๓๒๒ ไร่ พน้ื ท่ี ๒๒.๗๕ ไร่ กลบั มา ๑๕๓ ครวั เรือน จาก ๒๓๐ ครวั เรือน
จำ�นวน ๔๓ ครัวเรือน
รายได้ ๑,๙๙๐,๖๘๐ บาท จำ�นวน ๔๕ ครัวเรอื น การขยายผลการพฒั นาแหลง่ น�ำ้ ชมุ ชนตามแนวพระราชด�ำ รขิ องจงั หวดั
อดุ รธานี ซ่ึงมโี ครงการบริหารจดั การน้ำ�อย่างยง่ั ยนื อา่ งเกบ็ น�ำ้ ห้วยคลา้ ยฯ
ด้านปศสุ ัตว์ รายได้ ๓๑๔,๘๙๐ บาท เปน็ ตน้ แบบ ในปี ๒๕๖๒ มกี ารอนมุ ตั อิ กี ๒๖ โครงการ เพม่ิ จากทเี่ คยด�ำ เนนิ
การมาแล้ว ๓๖๕ โครงการ ใน ๒๐ อำ�เภอ ซ่ึงสามารถกักเก็บนำ้�ได้
ไกไ่ ข่ ไกป่ ระดู่หางด�ำ ๑๘,๒๑๙,๖๔๒ ลกู บาศกเ์ มตร เพมิ่ พนื้ ทก่ี ารเกษตรได้ ๘๔,๕๗๙ ไร่ เกษตรกร
ได้รบั ประโยชน์ ๑๖,๓๘๑ ครวั เรือน และเกษตรกรในพืน้ ทขี่ ยายผลมรี ายได้
สมาชกิ ๒๗ ครัวเรอื น สมาชกิ ๑๔ ครัวเรือน เพ่ิมขน้ึ ๓๗๘ ล้านบาท

รายได้ ๖๓,๘๓๖ บาท รายได้ ๑๕,๔๒๓ บาท

หมู จงิ้ หรดี

สมาชกิ ๖ ครัวเรือน สมาชิก ๑๑ ครัวเรือน

รายได้ ๒๐๓,๔๙๖ บาท รายได้ ๖๘,๕๕๐ บาท

รายได้รวม

๗,๓๐๖,๔๔๖ บาท

27

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

แผนพฒั นาชนบทเชงิ พื้นท่ปี ระยกุ ต์ตามพระราชดำ�รบิ ้านบางกลอย-บา้ นโปง่ ลกึ
อำ�เภอแก่งกระจาน จงั หวดั เพชรบรุ ี

ระยะเวลาดำ�เนนิ การ ปี ๒๕๕๖–๒๕๖๒

พ้ืนทตี่ ้นแบบ ๒ หมู่บา้ น
(บา้ นโปง่ ลกึ บา้ นบางกลอย)

พ้ืนทีร่ บั ประโยชนจ์ ากน�ำ้ ๕๖๘ ไร่

ผูร้ ับประโยชน์ ๑๕๔ ครัวเรือน

กลุม่ /กองทนุ ๑๑ กลุม่
(จากการส่งเสรมิ การทอ่ งเท่ยี วเชงิ อนรุ กั ษ์)

มลู ค่ากองทนุ รวม ๑,๒๙๕,๒๕๑ บาท

28

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

ประเด็นหลักของการพัฒนา

ให้ “คนกับคน คนกบั สัตว์ และคนกับป่า” สามารถอยู่
ร่วมกันได้ตามแนวพระราชดำ�ริ “บ้านเล็กในป่าใหญ่” และ
แนวพระราชด�ำ ริ “ทฤษฎใี หม”่ เพอ่ื แกไ้ ขปญั หาความยากจน
พฒั นาคณุ ภาพชวี ิต ชุมชนมีการรวมกล่มุ อาชีพทีย่ ัง่ ยนื และ
ไม่ประกอบกิจกรรมท่ีส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม

ในปี ๒๕๖๒ การพัฒนาระบบน�้ำ ดว้ ยนวัตกรรมพลังงานทดแทน
จากแสงอาทิตยเ์ พื่อผลิตกระแสไฟฟ้าส�ำ หรบั สบู น้�ำ (ไมโครกริด) ให้
เต็มศักยภาพ ทำ�ให้สามารถกระจายนำ้�เข้าพื้นท่ีเกษตรได้เพ่ิมขึ้น
จากปี ๒๕๖๑ อกี ๑๑๔ ไร่ รวมเปน็ ๕๖๘ ไร่ (รอ้ ยละ ๕๑.๗๕ ของ
พื้นท่ีภาคการเกษตร) และประชากร ๑๒๕ ครัวเรือน มีน้ำ�อุปโภค
บริโภคเพียงพอ ระบบไมโครกริดยังทำ�ให้รายได้ต่อครัวเรือนใน
ปี ๒๕๖๑ เพิ่มข้ึนเปน็ ๑๐๓,๕๐๖ บาทตอ่ ครัวเรือน เพิ่มขน้ึ ๑๕ เทา่
จากรายได้เฉล่ียในปี ๒๕๕๕ ซ่ึงอยู่ที่ ๖,๘๔๒ บาทต่อครัวเรือน
ปัจจุบันกลุ่มผู้ใช้น้ำ�ของชุมชนสามารถดูแลระบบไมโครกริดได้ด้วย
ตนเอง

การสง่ เสรมิ การปลกู ไมผ้ ลในปกี อ่ นๆ เรม่ิ ออกผลผลติ ใหเ้ กบ็ เกย่ี ว
ได้ในปัจจุบัน ทั้งทุเรียน กล้วย มะนาว กาแฟ และปศุสัตว์
สร้างรายได้ รวม ๙,๓๗๐,๙๓๕ บาท การส่งเสริมการท่องเที่ยว
เชิงธรรมชาติและวัฒนธรรม เพื่อเสริมศักยภาพของพื้นที่ด้วย
การสร้างทางเลือกในการประกอบอาชีพ ทำ�ให้กลุ่มแม่บ้าน กลุ่ม
กาแฟ กลุ่มลอ่ งแพ กลุม่ วัฒนธรรม มีรายได้รวม ๑,๒๙๕,๒๕๑ บาท
ขณะที่การอนุรักษ์และฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สามารถเพิม่ พื้นท่ีสีเขยี วได้ ๕๓ ไร่ และไม่พบการบกุ รกุ ท�ำ ลายปา่ อีก

29

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

ทเุ รยี น กล้วย มะนาว

พื้นที่ ๑๐๙.๙๐ ไร่ พื้นท่ี ๒๑๓.๖๖ ไร่ พื้นที่ ๘๖.๕๓ ไร่
จ�ำ นวน ๓๗ ครัวเรือน
รายได้ ๑,๔๖๘,๐๘๐ บาท จ�ำ นวน ๕๖ ครัวเรอื น จำ�นวน ๓๗ ครวั เรอื น

กาแฟ รายได้ ๔,๓๒๓,๗๘๐ บาท รายได้ ๓๔๐,๖๘๐ บาท

ดา้ นเกษตร พน้ื ที่ ๕๔.๗๐ ไร่ พชื อายุส้ัน
ดา้ นปศุสตั ว์ จ�ำ นวน ๓๒ ครัวเรอื น
รายได้ ๑๗๘,๐๐๐ บาท พ้นื ที่ ๑๕๔.๖๐ ไร่
ดา้ นกลมุ่ กิจกรรม
และท่องเทีย่ ว สุกร จำ�นวน ๙๓ ครัวเรอื น

30 ๘๘ ตวั รายได้ ๑,๓๓๖,๕๓๐ บาท
จำ�นวน ๒๖ ครวั เรือน
รายได้ ๙๒๘,๕๐๐ บาท เป็ด ไกพ่ ืน้ เมอื ง

ไกด่ ำ� ๓๓๙ ตัว ๒,๐๕๐ ตัว
จ�ำ นวน ๑๙ ครวั เรอื น จำ�นวน ๖๒ ครัวเรอื น
๖๓ ตัว รายได้ ๒๔๗,๒๖๐ บาท รายได้ ๓๒๐,๔๘๐ บาท
จ�ำ นวน ๑๔ ครัวเรือน
รายได้ ๑๔๑,๐๐๐ บาท ปลา กบ

กลมุ่ แม่บ้าน ๑๑,๐๐๐ ตวั ๑,๑๐๐ ตัว
จ�ำ นวน ๒๐ ครัวเรอื น จำ�นวน ๒๐ ครัวเรือน
จำ�นวน ๓๕ ครัวเรือน รายได้ ๖๖,๔๐๐ บาท รายได้ ๒๐,๕๒๐ บาท
รายได้ ๑๘๖,๕๒๒ บาท
กาแฟ กล่มุ ล่องแพ
กลุม่ เตนท์
จำ�นวน ๓๒ ครัวเรอื น จ�ำ นวน ๔๓ ครัวเรือน
จำ�นวน ๒๖ ครวั เรอื น รายได้ ๑๐๔,๗๓๗ บาท รายได้ ๑๗๖,๒๕๐ บาท
รายได้ ๖๘,๕๐๐ บาท
กล่มุ วฒั นธรรม กลุ่มกล้วยตาก
กลุ่มชา่ ง
จำ�นวน ๓๔ ครวั เรือน จ�ำ นวน ๑๕ ครวั เรอื น
จ�ำ นวน ๑๗ ครัวเรือน รายได้ ๔๕,๙๘๐ บาท รายได้ ๓๓,๘๗๕ บาท
รายได้ ๓๙๗,๗๒๓ บาท
กลุ่มกลว้ ยฉาบ สุกร

จำ�นวน ๖ ครวั เรือน จ�ำ นวน ๑๗ ครวั เรอื น

รายได้ ๘๙,๐๕๔ บาท รายได้ ๑๙๒,๖๑๐ บาท

รายได้รวม ๑๑,๐๓๓,๑๓๒ บาท

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

โครงการพืน้ ที่ตน้ แบบบูรณาการแก้ไขปญั หาและพัฒนาพื้นที่
ตามแนวพระราชดำ�ริต�ำ บลแก่นมะกรูด อ�ำ เภอบา้ นไร่ จังหวดั อุทัยธานี

ระยะเวลาดำ�เนินการ ปี ๒๕๕๗–๒๕๖๒
พนื้ ทีต่ ้นแบบ ๔ หมบู่ ้าน

พ้ืนท่ีรับประโยชนจ์ ากนำ�้ ๔,๐๖๓ ไร่
ผรู้ ับประโยชน์ ๓๕๔ ครัวเรือน
กลมุ่ /กองทุน ๒ กลุ่ม

มูลคา่ กองทนุ รวม ๑,๔๖๐,๙๔๒ บาท

31

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

ดา้ นเกษตร ประเด็นหลักของการพัฒนา

สตรอวเ์ บอร์รี ด�ำ เนนิ การตามแนวพระราชด�ำ ริ “คนอยกู่ บั ปา่ ” ดว้ ยการรกั ษา
ทรัพยากรปา่ ไม้ การสรา้ งป่าเศรษฐกิจและเพ่ิมพ้นื ทสี่ เี ขียวให้กับ
พนื้ ที่ ๕.๙๕ ไร่ แนวกันชน เขตรกั ษาพนั ธสุ์ ัตวป์ า่ หว้ ยขาแข้ง โดยบริหารจดั การ
สมาชิก ๓๔ ครวั เรอื น อย่างเป็นระบบ ควบคู่กับการสร้างงานสร้างอาชีพทางเลือก
รายได้ ๘๓๗,๐๗๕ บาท ให้เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างย่ังยืนและไม่บุกรุก
ทำ�ลายป่า
ผกั เมอื งหนาว
ความชัดเจนของแนวเขตที่ดินทำ�กินของราษฎร จากการสำ�รวจ
พืน้ ที่ ๑๕ ไร่ ของปิดทองหลังพระฯ ทำ�ให้สามารถพัฒนาระบบน้ำ�เพ่ือการเกษตร
สมาชกิ ๓๐ ครัวเรอื น ทุกระบบได้ในพ้ืนท่ี มีพ้ืนท่ีรับประโยชน์จากนำ้�เพิ่มขึ้น ๑,๐๘๓ ไร่
รายได้ ๓๐๕,๓๓๕ บาท เกษตรกรสามารถบริหารจัดการน้ำ�ในแปลงเพ่ือทำ�การเกษตรได้อย่าง
ท่ัวถึง รวมทั้งการขยายองค์ความรู้การสร้างฝายอนุรักษ์ในพื้นที่
ด้านท่องเทีย่ ว ให้กับราษฎรและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ทำ�ให้พื้นท่ีรับประโยชน์เพิ่มข้ึน
๒.๗ เท่า
ตลาดกะเหรีย่ ง/
การแสดงร�ำ ตง ในปี ๒๕๖๒ สามารถลดพ้ืนที่ปลูกพืชเชิงเดี่ยว เพิ่มพื้นท่ี
สีเขียวตามโครงการสร้างป่าสร้างรายได้ โครงการสร้างป่าเศรษฐกิจ
สมาชกิ ๕๔ ครัวเรือน โครงการอนุรักษ์ดินและนำ้�ในพ้ืนที่เส่ียงภัยดินโคลนถล่ม ๖,๘๐๔ ไร่
รายได้ ๓,๓๐๒,๙๕๒ บาท (ป่าอนุรักษ์ ๓,๙๙๔ ไร่ พืชเศรษฐกิจจากการส่งเสริม ๒,๘๑๐ ไร่)
การสง่ เสริมพชื ทางเลือก เชน่ สตรอว์เบอรร์ ี พชื ผกั ฯลฯ สามารถสร้าง
บริการทพี่ กั รายไดต้ ่อครัวเรอื นเพ่มิ ข้นึ จาก ๗๕,๒๗๙ บาทตอ่ ครวั เรอื น ในปี ๒๕๕๘
เป็น ๑๓๑,๒๔๖ บาทตอ่ ครัวเรือนในปี ๒๕๖๑
สมาชกิ ๑๔ ครวั เรือน
รายได้ ๗๖๕,๕๓๐ บาท การพฒั นาและสง่ เสรมิ การทอ่ งเทยี่ วเชงิ อนรุ กั ษ์ ซงึ่ บรู ณาการรว่ มกบั
ภาครัฐและเอกชน เพื่อสร้างทางเลือกในการประกอบอาชีพ ปรากฏว่า
ผลกระทบเศรษฐกจิ พื้นทีโ่ ดยรอบ ระหว่างวนั ที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๑-๔ มกราคม ๒๕๖๒ มนี กั ทอ่ งเท่ียว
(ตลาดชาวไฮ)่ มาในพ้ืนท่ี รวม ๔๕,๐๐๐ คน เกดิ รายไดจ้ ากการท่องเท่ียว ๕,๑๓๖,๓๓๒
บาท ตลอดฤดกู าล รวมเกษตร ๖,๒๗๘,๗๔๒ บาท
รายได้ ๑,๐๖๗,๘๕๐ บาท

รายไดร้ วม

๖,๒๗๘,๗๔๒ บาท

32

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

โครงการพัฒนาแกม้ ลงิ หนองเลิงเปอื ยอันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ
อ�ำ เภอรอ่ งค�ำ -กมลาไสย จงั หวัดกาฬสินธุ์

ระยะเวลาดำ�เนินการ ปี ๒๕๕๗–๒๕๖๒

พ้ืนที่ต้นแบบ ๓๒ หมบู่ ้าน

พืน้ ท่ีรับประโยชน์จากน�้ำ ๗,๗๗๘ ไร่
พืน้ ท่ขี ยายผลภาในขอบเขตลุ่มนำ�้ ๑,๑๙๑ ไร่

ผ้รู บั ประโยชน์ ๑,๐๓๕ ครัวเรือน
สหกรณ์ ๑ สหกรณ์

มลู ค่ากองทุนรวม ๑,๓๔๑,๘๖๘ บาท

33

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

ดา้ นเกษตร ประเด็นหลักของการพัฒนา

นาปี การน�ำ แนวพระราชด�ำ ริ “แกม้ ลงิ ” และแนวพระราชด�ำ ริที่
เกย่ี วขอ้ งมาประยกุ ต์ใช้ เพื่อพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน
พ้นื ท่ี ๖,๒๖๑ ไร่ ให้สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน โดยการขุดลอกแก้มลิง
รายได้ ๗,๙๑๑,๐๙๐ บาท หนองเลิงเปือย สามารถเพิ่มขนาดความจุเป็น ๖.๔๘ ล้าน
ลูกบาศก์เมตร จากเดิม ๑.๐๖ ล้านลูกบาศก์เมตร พร้อมกับ
นาปรงั พัฒนาพ้ืนที่โดยรอบ

พืน้ ที่ ๑,๓๒๙ ไร่ การขุดลอกแก้มลิงหนองเลิงเปือย เม่ือปี ๒๕๕๘ ซ่ึงสามารถ
เพ่ิมปรมิ าณนำ�้ ได้ถงึ ๕.๔๒ ลา้ นลูกบาศก์เมตร ทำ�ใหเ้ กษตรกรมนี �้ำ ใช้
รายได้ ๕,๘๑๕,๙๓๕ บาท ตลอดท้ังปี รวมทั้งการดำ�เนินการต่อ ด้วยการพัฒนาศักยภาพกลุ่ม
ผู้ใชน้ �ำ้ และการบริหารจดั การน�ำ้ ให้เต็มศกั ยภาพ ควบคูก่ ับการส่งเสริม
ขา้ วโพดหวาน พัฒนาอาชีพท้ังพืชหลักและพืชทางเลือก และส่งเสริมประสิทธิภาพ
การบริหารจัดการโดยชุมชน ท�ำ ให้ในปี ๒๕๖๒ มีการจดั ตงั้ กลุ่มบรหิ าร
พ้นื ท่ี ๕๓ ไร่ จัดการนำ้�หนองเลิงเปือย (JMC) ประกอบด้วยคณะกรรมการระดับ
พื้นท่ี ตัวแทนราษฏรท่ีรับประโยชน์จาก ๖ สถานีสูบนำ้� รวมท้ัง
สมาชิก ๒๗ ครวั เรอื น การปรบั ปรงุ ซอ่ มแซมและเสรมิ ประสทิ ธภิ าพ การใชน้ ำ้�ชมุ ชนบา้ นธนบรุ ี
หรือ “ธนบรุ ีโมเดล” ยงั ทำ�ใหเ้ กดิ พ้นื ทรี่ บั ประโยชน์ ๕๙๘ ไร่ ๕๙ แปลง
รายได้ ๒๕๕,๑๔๓ บาท ผู้รับประโยชน์ ๔๘ ครวั เรือน

ข้าวโพดเลี้ยงสตั ว์ มกี ารรวมกลุ่มอาชีพและยกระดบั เป็น “สหกรณก์ ารเกษตรแก้มลงิ
หนองเลิงเปือย” สามารถสรา้ งรายไดก้ ว่า ๑,๓๔๑,๘๖๘ บาท และเกดิ
พ้นื ท่ี ๑๔๗ ไร่ ครัวเรือนต้นแบบ ประยุกต์ใช้แนวพระราชดำ�ริ “เกษตรทฤษฎีใหม่”
๒๙๑ ครวั เรอื น ในปี ๒๕๖๒
สมาชิก ๓๙ ครัวเรอื น

รายได้ ๔๙๘,๔๐๒ บาท

ปอเทือง

พนื้ ท่ี ๑๔๓ ไร่

สมาชิก ๓๐ ครัวเรือน

รายได้ ๙๐,๐๐๐ บาท

อ้อย มันสำ�ปะหลงั

พ้ืนท่ี ๓๐๕ ไร่ พ้นื ท่ี ๑๕๔.๖๐ ไร่

รายได้ ๒,๖๔๑,๐๐๐ บาท รายได้ ๗๖,๒๐๐ บาท

ด้านปศุสตั ว์

ไกไ่ ข่ (ไม่รวมขายสหกรณ์)

จำ�นวน ๑,๑๕๐ ตัว

สมาชกิ ๕๓ ครัวเรือน

รายได้ ๔๑๐,๔๘๑ บาท

ดา้ นสหกรณ์

ผกั ปลอดภยั

สมาชิก ๑๔๑ ครัวเรือน
รายได้ ๑,๕๔๒,๘๗๓ บาท

๑๙,๒ร๔าย๑ได,๑้รว๒ม๔ บาท

34

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

โครงการพฒั นาและจดั หาน้ำ� ต�ำ บลทุ่งโปง่ อำ�เภออุบลรตั น์ จังหวัดขอนแกน่

ระยะเวลาด�ำ เนินการ ปี ๒๕๕๘–๒๕๖๒

พื้นท่ตี น้ แบบ ๑๐ หม่บู า้ น
พื้นที่รบั ประโยชน์จากน้ำ� ๙,๔๐๑ ไร่

ผู้รบั ประโยชน์ ๕๘๔ ครวั เรือน
กลุ่ม/กองทนุ ๗ กลมุ่

มูลค่ากองทนุ รวม ๑,๙๗๘,๖๕๔ บาท

35

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๒
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

ประเด็นหลักของการพัฒนา

สร้างโอกาสให้ชุมชนยกระดับคุณภาพชีวิต ด้วยการน้อมนำ�แนวพระราชดำ�ริ “ทฤษฎีใหม่” มาใช้ ต้ังแต่
การพฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐานดา้ นน�ำ้ พฒั นาอาชพี การเกษตรสมยั ใหม่ และพฒั นากลมุ่ การผลติ เพอ่ื รองรบั การพฒั นา
วิสาหกิจเพ่อื สังคม ทบี่ ูรณาการความรว่ มมือของทกุ ภาคส่วน ใหน้ �ำ ไปส่กู ารพง่ึ พาตนเองไดข้ องเกษตรกรในอนาคต

การจัดหาและพัฒนาแหล่งนำ้�เพื่อการเกษตร ตั้งแต่ระยะแรกของโครงการ สามารถเพิ่มพ้ืนที่รับประโยชน์
จากเดมิ ๒,๔๗๖ ไร่ เป็น ๙,๔๐๑ ไร่ (๓.๘ เทา่ ) และการร่วมกับหนว่ ยงานราชการสง่ เสริมระบบกระจายน�้ำ ในแปลงเกษตร
(ระบบนำ้�หยด) พร้อมท้งั ระบบกกั เก็บน�ำ้ ในแปลงเกษตร เช่น การขดุ ลอกสระน�ำ้ เดิม ขดุ เจาะบาดาลน้ำ�ลกึ ๔ จุด ฯลฯ
เพ่ือเพ่ิมพื้นท่ีรับนำ้�ได้มากขึ้น ทำ�ให้มีครัวเรือนท่ีประยุกต์ใช้เกษตรทฤษฎีใหม่ ๒๓๐ ครัวเรือน หรือร้อยละ ๒๐.๙๘
ของครัวเรือนท่ีเข้าร่วมโครงการ เกิดพฤติกรรมการเกษตรท่ีมีการบริหารจัดการพ้ืนที่ให้เกิดประสิทธิผลมากข้ึน มีการ
ปลกู พืชหลากหลาย และสามารถจัดการน้ำ�ในแปลงเกษตร ทั้งวธิ กี ารใช้ระบบน�้ำ หยด หรือคูน้�ำ ในแปลงเกษตรได้

ในด้านอาชีพมีการยกระดับการผลิตท่ีชุมชนเริ่มดำ�เนินการด้วยตนเอง เพื่อเชื่อมโยงเป็นวิสาหกิจเพื่อสังคม
และส่งเสริมปลูกพืชเศรษฐกิจมูลค่าสูงท่ีมีตลาดรองรับ เช่น มะพร้าวน้ำ�หอม ข้าวหอมมะลิ พร้อมกับพัฒนาศักยภาพ
ของเกษตรกร ด้วยการปรับการผลิตพืชผักให้มีคุณภาพ และพัฒนาการรวมกลุ่มอาชีพและกองทุนให้ชาวบ้าน
สามารถจัดการตนเองในรูปของคณะกรรมการ ๗ กล่มุ

ในปี ๒๕๖๒ มกี ารจดั ต้งั ธนาคารชุมชน เพื่อเปน็ แหล่งออมเงนิ และเงนิ ทนุ ชมุ ชน มีเงินหมนุ เวียน ๘๕,๙๕๐ บาท

การเตรียมความพร้อมสู่การเป็นวิสาหกิจเพื่อสังคมสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนในทุกกลุ่ม
ตัวอย่างแผนการยกระดับกลุ่มพืชผัก

ทฤษฎใี หมข่ ัน้ พนื้ ฐาน (ผักตลอดปี)

เกษตรกรไดจ้ ดทะเบยี นกับเกษตรและสหกรณ์จังหวัดขอนแกน่ เป็น
*กลุ่มเกษตรกรปลูกผกั ตำ�บลทุ่งโป่ง*

สมาชกิ ๑๖ ราย สมาชิก ๔๘ ราย ฝึกให้สมาชิกกลมุ่ ปลูกอย่างมรี ะบบ
ส่งผลผลิต ๑๕ ราย สง่ ผลผลติ ๔๒ ราย ตามรอบของแตล่ ะคนทอ่ นเขา้ modern trade
Ex. กรณีผักบุ้ง ตลาดต้องการ ๑๐๐ กก.
ชนดิ พืช ๒๑ ชนดิ ก็จะแบ่งให้เกษตรกรไปตกลงกันปลูกให้ได้
วันละ ๕๐ ตร.ม.
รายได้ ๖๗๗,๑๒๖ บาท
เฉลย่ี วนั ละ ๕ ชนดิ ชนดิ พืช ๑,๘๕๕ บาท

ปี ๒๕๖๒ วนั ละ ๕,๐๐๐ บาท

modern trade วนั ละ ๑,๕๐๐ บาท

๑๔๙,๐๕๓ บาท รายได้ รพ. + มข. วนั ละ ๑,๕๐๐ บาท
๔๐๘ บาท เฉล่ยี วนั ละ

๓๕๔% ตลาดชมุ ชน วนั ละ ๒,๐๐๐ บาท

ปี ๒๕๖๑ เป้าหมายปี ๒๕๖๓

36

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๒
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

ดา้ นเกษตร

ขา้ ว

รายได้ ๑๒,๘๘๔,๖๗๕ บาท

ข้าวโพดหวานหลงั นา

พื้นท่ี ๒๔๖ ไร่

สมาชิก ๑๑๗ ครวั เรือน

รายได้ ๑,๔๒๑,๓๑๘ บาท

ข้าวโพดหวานฤดฝู น

พ้ืนที่ ๔๑ ไร่

สมาชิก ๓๑ ครวั เรือน ปอเทอื งขายเมล็ดพันธุ์
รายได้ ๔๓,๓๘๐ บาท
พืน้ ท่ี ๔๔๓ ไร่

สมาชกิ ๘๘ ครัวเรอื น

รายได้ ๔๓๖,๙๕๐ บาท

มันส�ำ ปะหลงั พืชผกั ตลอดปี

รายได้ ๑,๖๐๘,๓๔๘ บาท สมาชกิ ๔๘ ครัวเรือน

รายได้ ๖๗๗,๑๒๖ บาท

อ้อย เกษตรผสมผสาน

รายได้ ๘,๕๑๖,๒๗๐ บาท รายได้ ๒,๙๖๖,๑๙๕ บาท

ดา้ นปศุสตว์

ไก่ขนุ ววั

จ�ำ นวน ๑๒,๑๒๕ ตัว รายได้ ๒,๐๙๐,๑๔๕ บาท

สมาชิก ๘๕ ครวั เรอื น

ผลิตลกู ไก่

จ�ำ นวน ๑๔,๐๑๖ ตวั

สมาชิก ๔ ครวั เรือน

รายได้ ๑,๕๖๖,๗๖๐ บาท

หมู ประมง

รายได้ ๔๒๕,๔๘๑ บาท รายได้ ๔๙,๗๕๐ บาท

รายไดร้ วม

๓๒,๖๘๖,๓๙๘ บาท

37

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๒
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

โครงการพฒั นาพนื้ ที่ต้นแบบตามแนวพระราชด�ำ รจิ ังหวัดชายแดนใต้
จงั หวดั ยะลา จงั หวดั ปตั ตานี และจังหวัดนราธวิ าส

ระยะเวลาดำ�เนนิ การ ปี ๒๕๖๐–๒๕๖๒

พ้นื ที่ต้นแบบ ๖ หม่บู ้าน
(บา้ นละโพะ๊ บา้ นแป้น บา้ นสเุ หร่า จงั หวัดปตั ตานี

บา้ นจำ�ปนู จังหวัดยะลา
บา้ นฮูแตทวู อ บา้ นโคกยามู จงั หวดั นราธวิ าส)

พื้นทร่ี บั ประโยชน์จากน้�ำ ๗๘๖ ไร่

ผู้รบั ประโยชน์ ๖๐๗ ครวั เรือน

กลุ่ม/กองทนุ ๑๙ กลมุ่
มลู ค่ากองทนุ รวม ๒๐๕,๒๘๑ บาท

38

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๒
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

ประเด็นหลักของการพัฒนา

การประยุกต์ใช้แนวพระราชดำ�ริ “ทฤษฎีใหม่”
เพ่ือเพิ่มศักยภาพในการประกอบอาชีพท่ีสอดคล้อง
กับภูมิสังคมของพื้นท่ี แก้ไขปัญหาความยากจน ลด
เง่ือนไขทางสังคมจิตวิทยา และแก้ไขปัญหาในมิติ
ความมนั่ คงในจงั หวัดชายแดนภาคใต้

การทำ�งานในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ ปิดทอง
หลังพระฯ เน้นการพัฒนาทุนมนุษย์ในพื้นที่เป็นหัวใจสำ�คัญ
และ “พาทำ�” หรือทำ�ให้ดู ทำ�ร่วมกัน หรือปล่อยให้ทำ�เอง
ในแบบของพี่เลี้ยง ภายใต้เงื่อนไขการทำ�งานตามฤดูกาล
ของพื้นที่กับการปฏิบัติตามหลักศาสนกิจและช่วงเดือน
เทศกาล ควบคู่กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน
ด้วยการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานน้ำ�เพื่อการเกษตร น้ำ�เพื่อ
การอปุ โภคบรโิ ภค สง่ เสรมิ การเกษตรทเ่ี นน้ การบรหิ ารจดั การ
ในพนื้ ทใ่ี หเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ งานปศสุ ตั ว์ รวมทงั้ พชื เศรษฐกจิ
ในพื้นท่ี และบูรณาการร่วมกับหน่วยงานในพื้นท่ี เพ่ือสร้าง
ทัศนคติท่ีดี ลดเง่ือนไขทางสังคมจติ วทิ ยา

ในปี ๒๕๖๒ มีการเสริมศักยภาพการกักเก็บนำ้�เพื่อ
การเกษตรและสร้างความชุ่มชื่นให้กับป่าต้นน้ำ� จัดทำ�ฝาย
อนรุ กั ษแ์ ละปลกู ปา่ เพอ่ื สรา้ งความชมุ่ ชน้ื ใหก้ บั ตน้ น�ำ้ ๑๐ แหง่
และเสริมศักยภาพของระบบกระจายนำ้� (คลองไส้ไก่) ใน
บางพื้นท่ี (ปัตตานี) พร้อมทั้งตั้งกลุ่มผู้ใช้นำ้�ให้สามารถ
บริหารจดั การนำ�้ ให้เกดิ ประโยชน์สงู สุด

39

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๒
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

จังหวัดปัตตานี

มีการส่งเสริมกิจกรรมการเกษตรหลายรูปแบบ ทั้งการปลูกพืชผักสวนครัว การทำ�นาด้วยนวัตกรรมนาโยน การเพ่ิม
ประสิทธิภาพการบริหารจัดการพืชเดิมในพื้นท่ี (มะพร้าว) การปลูกพืชหลังนา ปศุสัตว์ (ไก่ไข่ แพะ) และ
ส่งเสรมิ การทอ่ งเทย่ี วชมุ ชนรว่ มกับหนว่ ยงานที่เกี่ยวข้อง

บ้านแปน้ บ้านสเุ หร่า บา้ นละโพะ๊

นาปี นาปี นาปี
พนื้ ท่ี ๔๒๘ ไร่ รายได้ ๒,๖๐๑,๖๐๐ บาท สมาชิก ๕๙ ครัวเรือน
สมาชกิ ๑๑๘ ครวั เรอื น รายได้ ๑,๑๐๘,๐๐๐ บาท
รายได้ ๒,๕๘๖,๒๔๐ บาท นาปรัง
สมาชิก ๑๙๐ ครวั เรอื น เกษตรแปลงรวม
มะพรา้ ว รายได้ ๒,๘๘๘,๗๖๐ บาท สมาชิก ๒๓ ครัวเรือน
พื้นที่ ๕๙๙ ไร่ รายได้ ๒๓๗,๖๔๗ บาท
สมาชิก ๓๘ ครวั เรอื น แพะ
รายได้ ๑,๕๘๐,๗๐๑ บาท สมาชกิ ๒๕ ครัวเรอื น ไกบ่ ้าน
รายได้ ๑๐๐,๗๕๐ บาท สมาชกิ ๑๕ ครวั เรอื น
เกษตรรอบบา้ น/ รายได้ ๓๒,๒๙๐ บาท
แปลงรวม/ผสมผสาน แปลงหญ้าเนเปยี ร์
สมาชิก ๗๕ ครัวเรอื น รายได้ ๒๙,๖๕๐ บาท กลมุ่ เครื่องจกั รกล
รายได้ ๒๓๕,๔๐๐ บาท การเกษตร
รายได้ ๕๒,๗๑๐ บาท
ตลาดนดั OTOP นวตั วิถี
สมาชิก ๑๑๐ ครวั เรอื น
รายได้ ๓๒๔,๐๐๐ บาท

รายได้รวม ๔,๗๒๖,๓๔๑ บาท รายได้รวม ๕,๖๒๐,๗๖๐ บาท รายได้รวม ๑,๔๓๐,๖๔๗ บาท

40

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

บ้านจำ�ปูน จังหวัดยะลา

นาปี เกษตรแปลงรวม ส่งเสริมการปลูกพืชผักสวนครัว ส่งเสริมการเพ่ิม
สมาชกิ ๕๙ ครวั เรอื น สมาชกิ ๒๔ ครวั เรือน ประสิทธิภาพการบริหารจัดการพืชเดิมในพ้ืนที่ (ข้าว) และ
สง่ เสรมิ ปศุสัตว์ (โคขุน)
รายได้ ๑,๒๘๐,๒๓๕ บาท รายได้ ๕๓,๑๔๗ บาท

โคขุน แปลงหญ้าเนเปยี ร์
สมาชิก ๒๕ ครวั เรอื น สมาชกิ ๑๒ ครัวเรือน

รายได้ ๗๓,๕๐๐ บาท รายได้ ๔๗,๐๐๐ บาท

รายได้รวม ๑,๔๕๓,๘๘๒ บาท

41

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

บ้านฮูแตทูวอ

เกษตรแปลงรวม มะพรา้ ว
พน้ื ท่ี ๑๒ ไร่ พ้ืนที่ ๒๐ ไร่
สมาชิก ๔๔ ครัวเรอื น สมาชกิ ๒๐ ครัวเรอื น
รายได้ ๓๓๗,๐๔๘ บาท รายได้ ๗๐๐,๑๙๕ บาท

แพะ ไกไ่ ข่
สมาชกิ ๘๐ ครวั เรือน สมาชกิ ๓๙ ครวั เรือน

รายได้ ๙๐,๐๐๐ บาท รายได้ ๔๖,๘๘๐ บาท

รายได้รวม ๑,๑๗๔,๑๒๓ บาท จังหวัดนราธิวาส

บ้านโคกยามู ส่งเสริมการปลูกพืชผักสวนครัว ปศุสัตว์ (แพะ) และการ
เพ่ิมประสทิ ธิภาพอาชีพงานฝีมือเดมิ ในพนื้ ที่ (การสานกระจูด)

เกษตรแปลงรวม วสิ าหกิจกระจดู รายา รายได้รวมสามจงั หวดั ชายแดนใต้
พื้นที่ ๖๖ ไร่ สมาชิก ๓๒ ครวั เรือน
สมาชิก ๕๖ ครวั เรอื น ๑๓,๔๖๕,๒๐๘ บาท
รายได้ ๒๘๑,๒๔๗ บาท รายได้ ๒๓๒,๐๙๐ บาท

รายไดร้ วม ๕๑๓,๓๓๗ บาท

42

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๒
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

ผลการด�ำ เนนิ การดา้ นการจดั การความรู้

เพื่อสร้างความรู้การพฒั นาตามแนวพระราชดำ�ริ เสรมิ สรา้ งความสามารถ ความเช่ยี วชาญของเกษตรกรและประชาชน
ทั่วไป ใหน้ ำ�ความร้ไู ปปรับใช้ในการประกอบอาชีพและดำ�รงชีวติ ได้ และมงุ่ เน้นผลสมั ฤทธ์กิ ารรบั รู้ การขยายผลการพฒั นา
ตามแนวพระราชด�ำ รขิ องหนว่ ยงานต่างๆ และประชาชน ในการนำ�ไปประยุกต์ใชเ้ พ่ือพัฒนาตนเองและชมุ ชน

ในปี ๒๕๖๒ มีการจัดทำ�ชุดความรูป้ ระยกุ ต์ใช้ศาสตร์พระราชา ๒ ชดุ ความรู้ หลกั สูตรส�ำ หรบั ฝึกอบรม ๕ หลักสูตร
การจัดการฝึกอบรม ๕ กจิ กรรม ผ้เู ข้าอบรม ๖๔๖ คน เครือข่ายการเรียนรขู้ องเกษตรกรใน ๒ พนื้ ท่ีตน้ แบบ (อทุ ยั ธานี
เพชรบรุ )ี ๖ กิจกรรม การติดตามประเมินผลและถอดบทเรียนการพัฒนาพน้ื ทต่ี น้ แบบ ๕ กจิ กรรม และการเผยแพรค่ วามรู้
ใหม่ ๕ กิจกรรม

43

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

ผลการด�ำ เนนิ งานดา้ นการประชาสัมพนั ธ์

เพอื่ สง่ เสรมิ การรบั รแู้ ละเขา้ ใจแนวพระราชด�ำ รดิ ว้ ยการประชาสมั พนั ธ์ ผา่ นชอ่ งทางการสอ่ื สารทกุ รปู แบบ ทง้ั สอื่ สง่ิ พมิ พ์
วิทยุ โทรทศั น์ โซเชียลมีเดยี และป้ายประชาสัมพนั ธ์ รวมท้ังเพ่อื สรา้ งเครือข่ายให้ความรูก้ ารประยุกตใ์ ช้แนวพระราชดำ�ริ
และสรา้ งความรว่ มมอื กบั หน่วยงานต่าง ๆ ทัง้ ภาครฐั เอกชน สถาบนั การศึกษา ประชาชนและสื่อมวลชนทุกแขนง

ผลการดำ�เนินงานในปีงบประมาณ ๒๕๖๒ สามารถสร้างการรับรทู้ วี่ ัดได้ มากถึง ๖๐๗,๓๙๕,๒๘๒ ครัง้ ผา่ นส่อื
ตา่ ง ๆ รวม ๘๘ ส่ือ เมอ่ื ประเมินความคุ้มคา่ จากการลงทุน ทมี่ ูลค่าลงทุน ๑ บาท สามารถสรา้ งการรบั รใู้ หก้ ับประชาชน
ได้ ๒๖ ครงั้

สื่อส่งิ พิมพ์ ๕๘๒,๗๙๙,๒๐๐
จำ�นวน ๒๑ ส่อื
การรับรู้ (คร้งั )

ส่อื โทรทศั น์ ๔,๗๗๕,๔๒๒
จ�ำ นวน ๑๑ ส่อื
การรับรู้ (ครั้ง)

สื่อโซเชียลมเี ดยี ๑๙,๘๒๐,๖๖๐
จำ�นวน ๕๖ สื่อ
การรบั รู้ (ครง้ั )

รวม ๘๘ สอื่ ๖๐๗,๓๙๕,๒๘๒
การรบั รู้ (ครัง้ )

44

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๒
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

ผลการดำ�เนินงานดา้ นการบริหารจดั การ

เพ่ือให้ระบบบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ มีธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการและควบคุมภายใน พัฒนาบุคลากร
ให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้สถาบันฯ บรรลุผลการดำ�เนินงานได้ตามพันธกิจ รวมทั้งสนับสนุนการทำ�งานของทุกแผนก
ให้สะดวก คล่องตัว และบรรลุเป้าหมายขององค์กร เป็นต้นว่า จัดให้มีการอบรมเตรียมความพร้อมและพัฒนาศักยภาพ
ให้กับบุคลากร เช่น อาสาทุเรียนในโครงการทุเรียนคุณภาพ จำ�นวน ๙๑ คน ให้มีความสามารถในการติดตาม
การดำ�เนินงานร่วมกับหน่วยงานราชการและเกษตรกรในพื้นที่ ส่งผลให้ได้ทุเรียนเกรด AB มากถึงร้อยละ ๕๕ และ
เกิดการขยายผลความร้กู ารดูแลแปลงทเุ รียนไปยังเกษตรกรอีก ๖๖๔ ราย

การจัดทำ�ระบบตรวจสอบและควบคุมภายใน การพัฒนาระบบ Intranet (https://dbpidthong. org/login.php)
สำ�หรับตรวจสอบ ควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณและการปฏิบัติงาน สะดวกในการติดตามความก้าวหน้าการปฏิบัติงาน
และการควบคมุ งานใหเ้ ปน็ ไปตามแผนไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ฉบั ไว รวมทง้ั รบั ผดิ ชอบการจดั ท�ำ ยทุ ธศาสตรแ์ ผนบรู ณาการขบั เคลอ่ื น
การพฒั นาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๔-๒๕๖๘)

นอกจากนี้ ร่วมกับคณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ศึกษาวิจัย
ภายใตโ้ ครงการ “การศึกษารปู แบบและศักยภาพห้องปฏบิ ตั ิการทางสงั คม (Social Lab) ในพ้นื ทตี่ ้นแบบของมูลนธิ ปิ ดิ ทอง
หลงั พระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ เพ่อื การขับเคล่ือนอยา่ งต่อเนอ่ื งและย่ังยนื ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง”

45

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

แผนงานเฉพาะกจิ

โครงการประยุกต์ใช้แนวพระราชดำ�ริในพื้นที่ที่มีปัญหาการค้าและการลำ�เลียงยาเสพติด
บริเวณชายแดนภาคเหนือ

เปน็ การน�ำ แนวพระราชด�ำ รไิ ปประยกุ ตข์ ยายผลโครงการรอ้ ยใจรกั ษ์ ซง่ึ เปน็ การพฒั นาทางเลอื กในพนื้ ทท่ี มี่ สี ถานการณ์
ยาเสพตดิ บา้ นหว้ ยสา้ น ต�ำ บลทา่ ตอน อ�ำ เภอแมอ่ าย จงั หวดั เชยี งใหม่ ในพระด�ำ รสิ มเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟา้ พชั รกติ ยิ าภา
นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสารณิ สี ริ ิพัชร มหาวัชรราชธดิ า ด�ำ เนินงานในพืน้ ท่ีชายแดนภาคเหนือ ๑๑๙ ตำ�บล ๑๙
อำ�เภอ ๔ จงั หวัด คอื เชยี งใหม่ เชยี งราย แม่ฮอ่ งสอน และพะเยา ด้วยมาตรการพัฒนาที่ยง่ั ยนื คอื การพัฒนาทางเลอื ก
ดว้ ยศาสตรพ์ ระราชามาแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ ในหมบู่ า้ นทปี่ ระชาชนเคยคา้ ยาหรอื ล�ำ เลยี งยาเสพตดิ เพม่ิ คณุ ภาพชวี ติ ราษฎร
ใหม้ งี านมอี าชพี ท่ีสุจริต สรา้ งรายไดเ้ พอ่ื ลด ละ เลกิ ยาเสพติดอย่างย่ังยืน

ปิดทองหลังพระฯ ในฐานะหน่ึงในคณะกรรมการโครงการร้อยใจรักษ์ มีบทบาทในการสนับสนุนการสร้างคน ระบบ
การพฒั นา และการประยกุ ตใ์ ชแ้ นวพระราชดำ�รเิ พอ่ื สรา้ งความเขา้ ใจแกห่ นว่ ยงานราชการ ผนู้ ำ�ทอ้ งท่ี ทอ้ งถน่ิ ผา่ นกจิ กรรม
เรยี นรปู้ ระสบการณใ์ นพนื้ ทจี่ รงิ และฝกึ ปฏบิ ตั ิ มกี ารจดั หลกั สตู รเรยี นรู้ ๒ หลกั สตู ร คอื หลกั สตู รที่ ๑ การเรยี นรปู้ ระสบการณ์
การประยกุ ต์ใช้แนวพระราชด�ำ ริ โครงการรอ้ ยใจรกั ษ์ ต�ำ บลท่าตอน อ�ำ เภอแม่อาย จังหวัดเชยี งใหม่ (๒ วัน ๑ คืน) และ
หลกั สตู รท่ี ๒ การฝกึ ปฏบิ ตั ดิ า้ นการประยกุ ตใ์ ชป้ รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ (๕ วนั ๔ คนื )

ในปี ๒๕๖๒ มีผู้นำ�ท้องท่ี ท้องถิ่น และส่วนราชการ เข้าสู่กระบวนการเรียนรู้แล้ว จำ�นวน ๑๑๑ องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น (เทศบาลและอบต.) ๖,๖๓๒ คน โดยเม่ือผ่านการอบรมท้ัง ๒ หลักสูตรแล้ว ผู้เข้าอบรมสามารถนำ�ไปปรับ
ใช้ในหมู่บ้านของตนเอง จำ�นวน ๔๗ หมู่บ้าน ๓๓ ตำ�บล เกิดโครงการพัฒนาเร่งด่วน (Quick win) เพื่อแก้ไขปัญหา
ด้านน้ำ�เพื่อการเกษตรและการอุปโภคบริโภค จำ�นวน ๓๓ โครงการ โดยใช้งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ร่วมกับงบประมาณของสถาบนั ปดิ ทองหลังพระฯ (๖๐:๔๐) และแรงงานของราษฎรในหมู่บา้ น มีผู้รบั ประโยชนจ์ ากโครงการ
จ�ำ นวน ๙,๕๙๐ ครัวเรือน ๗,๘๓๔ ไร่

46

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรให้มีคุณภาพตามศาสตร์พระราชา
ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ทุเรียนคุณภาพ)

จากการน�ำ รอ่ งโครงการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการผลติ สนิ คา้ การเกษตรใหม้ คี ณุ ภาพตามศาสตรพ์ ระราชาในจงั หวดั ชายแดน
ภาคใต้ หรือโครงการทุเรียนคุณภาพ ท่ีจังหวัดยะลา ในปี ๒๕๖๑ มีเกษตรกรเข้าร่วม ๑๘ ราย ต้นทุเรียน ๓๓๕ ต้น
ซ่ึงปรากฏผลวา่ สามารถผลิตทเุ รียนคุณภาพได้ ๓๓.๔ ตัน สรา้ งรายได้ใหก้ บั เกษตรกรรวม ๒,๓๓๗,๔๑๓ บาท เฉลย่ี รายละ
๑๒๙,๘๕๖ บาท เพม่ิ จากเดมิ ท่รี ายได้เฉล่ียทุเรียนตอ่ ตน้ อยู่ท่ี ๒,๓๕๐ บาท เป็น ๘,๕๗๘ บาทตอ่ ตน้

ความสำ�เร็จในปที แี่ ลว้ นำ�มาสกู่ ารขยายผลในจังหวัดชายแดนภาคใต้ท้ัง ๓ จงั หวดั คอื ยะลา ปัตตานี และนราธวิ าส
ในปี ๒๕๖๒ จากเกษตรกร ๑๘ ราย เปน็ ๖๖๔ ราย และมอี าสาทเุ รยี นคุณภาพทำ�หนา้ ท่ีสนับสนุน ๙๑ ราย ผลผลติ ทุเรยี น
๑,๖๙๙ ตนั จำ�หนา่ ยให้กบั โครงการฯ ๑,๑๒๑ ตัน (เกรด เอบี และซี ๙๐๔ ตนั เกรดตกไซซ์ ๒๑๗ ตนั ) และจำ�หน่ายตลาด
ภายนอก ๕๗๘ ตัน สรา้ งรายได้ให้กับเกษตรกรรวม ๑๐๒ ล้านบาท ในจ�ำ นวนนีเ้ ปน็ รายไดจ้ ากการจ�ำ หนา่ ยผ่านโครงการฯ
๗๙,๕๗๖,๕๔๘.๓๐ ลา้ นบาท

ตกไซซ์ ผลผลิตทุเรียนในสามจังหวัดชายแดนใต้
๑๔๓,๑๙๙ กก.
ตกไซซ์
ไซซ์ AB ๒๑๘,๒๙๔ กก.
ไซซ์ C ๓๕๕,๒๓๘ กก.
๓๑๗,๑๙๖ กก. ไซซ์ AB
๔๖๕,๑๖๐ กก.
จังหวัดยะลา ไซซ์ C
ผลผลิตรวม ๘๑๖,๐๓๔ กิโลกรมั ๔๔๐,๑๘๒ กก.
รวมเปน็ เงิน ๕๘,๔๒๓,๗๕๕.๘๐ บาท
ผลผลิตรวมทั้ง ๓ จังหวดั
ตกไซซ์ ไซซ์ AB จำ�นวน ๑,๑๒๔,๑๕๓ กิโลกรัม
๑๒,๗๐๔ กก. ๑๘,๖๑๕ กก. รวมเปน็ เงิน ๗๙,๕๗๖,๕๔๘.๓๐ บาท

ไซซ์ C
๑๙,๓๖๗ กก.

จังหวัดปตั ตานี
ผลผลิตรวม ๕๐,๖๘๖ กโิ ลกรมั
รวมเป็นเงนิ ๓,๓๙๙,๒๙๗.๕๐ บาท

ตกไซซ์ ไซซ์ AB

๖๒,๓๙๑ กก. ๙๑,๓๐๘ กก.

ไซซ์ C
๑๐๓,๖๑๙ กก.

จังหวดั นราธิวาส
ผลผลิตรวม ๒๕๗,๔๓๓ กิโลกรัม
รวมเป็นเงิน ๑๗,๗๕๓,๔๙๕.๐๐ บาท

47

๖๔,๐๐๐,๐๐๐.๐๐รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๒
๗๔,๙๒๙,๑๑๒.๘๑ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

๑๖,๐๐๐,๐๐๐.๐๐ ผลการใชจ้ า่ ยงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
๑๘,๕๒๓,๖๙๗.๙๐
๒๑,๐๐๐,๐๐๐.๐๐จำนวนเงิน (บาท)
๒๑,๗๘๐,๑๖๗.๗๘
๑๖,๐๐๐,๐๐๐.๐๐๘๐,๐๐๐,๐๐๐.๐๐
๒๓,๘๗๒,๓๑๐.๗๒๖๐,๐๐๐,๐๐๐.๐๐
๘๐,๐๐๐,๐๐๐.๐๐๔๐,๐๐๐,๐๐๐.๐๐
๕๙,๑๐๗,๓๒๕.๐๖๒๐,๐๐๐,๐๐๐.๐๐
๕๓,๐๐๐,๐๐๐.๐๐
๑๖,๔๔๐,๔๑๒.๖๒๐
๕๐,๐๐๐,๐๐๐.๐๐
๒๔,๗๔๖,๑๐๙.๑๔แผนงานท่ี ๑ แผนงานที่ ๒ แผนงานท่ี ๓ แผนงานที่ ๔ แผนงานที่ ๕ เฉพาะกจิ ที่ ๑ เฉพาะกิจท่ี ๒
งบประมาณตามแผนงานประจำป ๒๕๖๒ รวมทัง้ ส้นิ ๓๐๐,๐๐๐,๐๐๐.๐๐ บาท
จำนวนเงนิ จายจริง ในระยะเวลา ๑๒ เดอื น รวมทั้งสิ้น ๒๓๙,๓๙๙,๑๓๖.๐๓ บาท

แผนงาน ๑ การพฒั นาพืน้ ทต่ี น้ แบบ
แผนงาน ๒ การจัดอบรมแบบปิดทองหลงั พระฯ และการจัดการความรู้
แผนงาน ๓ การสง่ เสรมิ การรับรแู้ ละเข้าใจแนวพระราชด�ำ ริ
แผนงาน ๔ การส่ือสารสาธารณะ และภาคีสมั พนั ธ ์
แผนงาน ๕ การบริหารจัดการ (ภายในส�ำ นักงานส่วนกลางของสถาบนั ฯ)
เฉพาะกจิ ๑ โครงการประยกุ ตใ์ ช้แนวพระราชดำ�ริ ในพื้นที่ทีม่ ปี ญั หาการค้าและการล�ำ เลียงยาเสพติด บรเิ วณชายแดนภาคเหนือ
เฉพาะกิจ ๒ โครงการเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการผลิตสนิ ค้าการเกษตรให้มคี ณุ ภาพตามศาสตร์พระราชา ในจงั หวัดชายแดนภาคใต้
(โครงการทุเรยี นคุณภาพ)

48


Click to View FlipBook Version