The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือรูปแบบ ก่อสร้างซ่อมปรับปรุง บำรุงรักษาและเพิ่มประสิทธิภาพฝายชะลอน้ำ พอเพียงตามแนวพระราชดำริ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by datapidthong, 2022-02-04 02:41:44

คู่มือรูปแบบ ก่อสร้างซ่อมปรับปรุง บำรุงรักษาและเพิ่มประสิทธิภาพฝายชะลอน้ำ พอเพียงตามแนวพระราชดำริ

คู่มือรูปแบบ ก่อสร้างซ่อมปรับปรุง บำรุงรักษาและเพิ่มประสิทธิภาพฝายชะลอน้ำ พอเพียงตามแนวพระราชดำริ

Keywords: คู่มือรูปแบบ ก่อสร้างซ่อมปรับปรุง บำรุงรักษาและเพิ่มประสิทธิภาพฝายชะลอน้ำ พอเพียงตามแนวพระราชดำริ

คมู อื การกำหนดรปู แบบ กอ สรา ง
ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา และเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ
ฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

ผเู ขยี น : ผทู รงคณุ วฒุ ดิ า นวศิ วกรรมโยธา (ดา นสำรวจและหรอื ออกแบบ)
พมิ พ : กองประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ
จดั พมิ พโ ดย : คณะทำงาน สำนกั ออกแบบวศิ วกรรมและสถาปต ยกรรม
กรมชลประทาน
ออกแบบปก : มถิ นุ ายน 2559 จำนวน 3,000 เลม
พมิ พโ ดย : กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ
811 ถนนสามเสน แขวงถนนนครไชยศรี เขตดสุ ติ
กรงุ เทพมหานคร 10300
โทร. 0 2241 0020 ถงึ 29
Website : www.rid.go.th
นายสญั ชยั บวั ทรง
นายชา งศลิ ปช ำนาญงาน กรมชลประทาน
บรษิ ทั บมู สเตชนั่ จำกดั โทร. 081 331 3131

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

คมู อื การกำหนดรปู แบบ กอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา และเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพฝายชะลอน้ำพอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

คำนำ

คมู อื การกำหนดรปู แบบ กอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ 
ฝายชะลอน้ำพอเพียงตามแนวพระราชดำริ อาศัยกระบวนการศึกษารวบรวมพระราช
กรณยี กจิ และโครงการพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเร่ืองการพัฒนา
และฟน ฟปู า ไม โดยใชท รพั ยากรทเ่ี ออ้ื อำนวยสมั พนั ธซ ง่ึ กนั และกนั ใหเ กดิ ประโยชนส งู สดุ
ซง่ึ ตวั แปรแหง ความอยรู อดของปา ไมน นั้ คอื "นำ้ " พระองคท รงใชเ ปน เครอ่ื งมอื ทจ่ี ะเปน
ประโยชนใ นการอนรุ กั ษฟ น ฟปู า ไมท ไี่ ดผ ลดที ส่ี ดุ กด็ ว ยการสรา งฝายชะลอความชมุ ชน้ื
กนั้ ลำหว ยลำธารขนาดเลก็ ในบรเิ วณทเี่ ปน ตน นำ้ หรอื พน้ื ทที่ มี่ คี วามลาดชนั สงู เพอื่ ชะลอ
การไหลของนำ้ ใหช า ลง และดกั กกั เกบ็ ตะกอนไมใ หไ หลลงไปทบั ถมลำน้ำตอนลา ง ซง่ึ เปน
การอนรุ กั ษด นิ และนำ้ ทไี่ ดผ ลดมี ากวธิ กี ารหนง่ึ

สำนกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพอื่ ประสานงานโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำริ
เปน หนว ยงานทมี่ หี นา ทใ่ี นการกำกบั ดแู ล ประสานการดำเนนิ งานตดิ ตามและประเมนิ
ผลการดำเนนิ การโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำริ รวมถงึ การเปน หนว ยงานหลกั
ของยทุ ธศาสตรท ี่ 1 สง เสรมิ การขบั เคลอื่ นการพฒั นาตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ในภาคการเกษตรและชนบท ตามยุทธศาสตรการบูรณาการการขับเคล่ือนการพัฒนา
ตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (พ.ศ.2557 - 2560)

ดงั นน้ั เพอื่ ใหก ารดำเนนิ งานดา นการกำหนดรปู แบบ กอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ
รกั ษา และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำริ ดำเนนิ ไปอยา งมี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล จึงไดจัดทำคูมือฯ โดยการศึกษา รวบรวมขอมูลจาก
แนวคิดของเจาหนาท่ีบุคคลท่ีเกี่ยวของ ที่มีองคความรูและประสบการณ เพื่อใชเปน
แนวทางในการจดั ทำคมู อื ฯ

กรมชลประทาน ในฐานะหนวยงานดำเนินการจัดทำคูมือฯ หวังเปนอยางย่ิงวา
เจาหนาที่ผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของจะสามารถนำคูมือฯ ไปปรับใชใหสอดคลองกับพ้ืนท่ี
อยา งเหมาะสมตอ ไป

คณะผจู ดั ทำ

มถิ นุ ายน 2559

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

กิตติกรรมประกาศ

คมู อื การกำหนดรปู แบบ กอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา และเพม่ิ
ประสิทธิภาพฝายชะลอนำ้ พอเพียงตามแนวพระราชดำริฉบับนี้สำเร็จได
ดวยความอนุเคราะหขอมูล รูปภาพ จากหนวยงานตางๆ ทั้งภายในกรม
ชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ และหนวยงานอื่นๆ ไดแก
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม การไฟฟาฝายผลิต
แหงประเทศไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และสถาบันพัฒนาการ
ชลประทาน

รวมถึง สถาบัน ชมรมตางๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน และรัฐวิสาหกิจ
ที่รวมดำเนินการสืบสานแนวพระราชดำริ ในการกอสรางฝายชะลอน้ำ
พอเพียงตามแนวพระราชดำริอยางกวางขวาง มีการประชาสัมพันธและ
เผยแพรใ นเวบ็ ไซตใ นรปู แบบตา งๆ คณะทำงานฯ ตอ งขอขอบคณุ รปู ภาพ
ตา งๆ ทท่ี ำใหค มู อื เลม นมี้ คี วามสมบรู ณม ากขนึ้ รวมถงึ ภาพสเกต ซป ระกอบ
โดยนายกมั ปนาท แฝงฤทธิ์ สถาปนกิ ปฏบิ ตั กิ าร สว นสถาปต ยกรรม สำนกั
ออกแบบวศิ วกรรมและสถาปต ยกรรม กรมชลประทาน

ขอขอบพระคุณ สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงาน
โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำริ สถาบนั สง เสรมิ และพฒั นากจิ กรรม
ปด ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ ทเี่ ปน ผกู ำหนดแนวทาง ประสาน
งาน และสนบั สนนุ การจดั ทำคมู อื ในครงั้ นใี้ หส ำเรจ็ ลลุ ว งเปน อยา งดี



คมู อื การกำหนดรปู แบบ กอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา และเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพฝายชะลอน้ำพอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

สารบัญ

คำนำ I
กิตติกรรมประกาศ II
สารบญั III
1. หลกั การและเหตผุ ล 1
2. วตั ถปุ ระสงค 3
3. คำจำกดั ความ 3
4. ประโยชนข องฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำริ 4
5. ประเภทฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำริ 7
6. การเลอื กตำแหนง ทต่ี ง้ั ของฝายชะลอน้ำพอเพยี ง 9

ตามแนวพระราชดำริ 12
7. การกำหนดรปู แบบฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำริ 23
8. การกอ สรา งฝายชะลอน้ำพอเพยี งตามแนวพระราชดำริ 24
9. การซอ มแซม ปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษาฝายชะลอนำ้ พอเพยี ง
26
ตามแนวพระราชดำริ
10. การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพฝายชะลอน้ำพอเพยี ง

ตามแนวพระราชดำริ



กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

บรรณานุกรม 30

ภาคผนวก 31

ผ1 คำสง่ั สำนกั นายกรฐั มนตรี ท่ี 140/2557 32

เรอื่ ง แตง ตง้ั คณะกรรมการอำนวยการขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตร

การบรู ณาการการพฒั นาตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ผ2 คำสง่ั คณะกรรมการอำนวยการขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตร 34

การบรู ณาการ การพฒั นาตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ท่ี 1/2557 เรอ่ื ง แตง ตงั้ คณะอนกุ รรมการสง เสรมิ
การขบั เคลอ่ื นการพฒั นาตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ในภาคการเกษตรและชนบท
ผ3 การประยกุ ตร ปู แบบของฝายชะลอน้ำพอเพยี งตามแนวพระราชดำริ 37
ผ4 " 8 ขนั้ ตอน การกอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา 41
และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพฝายชะลอน้ำพอเพยี งตามแนวพระราชดำริ "
โดยสถาบนั สง เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมปด ทองหลงั พระ
สบื สานแนวพระราชดำริ
ผ5 การคดิ คา ความลาดชนั ของพน้ื ท่ี และวธิ กี ารคำนวณ 49
ปริมาณน้ำในลำนำ้ โดยประมาณ
ผ6 การประมาณราคาคา กอ สรา งฝายชะลอนำ้ ฯ ประเภทตา งๆ 51



คมู อื การกำหนดรปู แบบ กอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา และเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพฝายชะลอน้ำพอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

1. หลกั การและเหตผุ ล

พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ทรงตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของการพฒั นาและฟน ฟู
ปาไมทรงแนะนำใหใชฝายกั้นนำ้ หรือฝายชะลอนำ้ เปนแนวทางหรือวิธีหน่ึงในการชวย
สรา งความชมุ ชน้ื เพอ่ื อนรุ กั ษแ ละฟน ฟปู า ไมต น นำ้ ลำธาร คนื ความอดุ มสมบรู ณ และทำให
เกดิ ความหลากหลายดา นชวี ภาพแกส งั คมของพชื และสตั ว ตลอดจนนำความชมุ ชน้ื มาสู
แผนดิน ฝายชะลอนำ้ คือส่ิงขวางก้ันทางเดินของนำ้ ใชกับลำหวย ลำธารขนาดเล็ก
ในบรเิ วณทเ่ี ปน ตน น้ำ หรอื พนื้ ทที่ มี่ คี วามลาดชนั สงู ทำใหเ กดิ ความชมุ ชนื้ พชื สตั ว สามารถ
ดำรงชพี อยไู ด และหากชว งทนี่ ำ้ ไหลแรงกส็ ามารถชะลอการไหลของน้ำใหช า ลง และ กกั
เกบ็ กรอง ตะกอนไมใ หไ หลลงไปในบรเิ วณลมุ นำ้ ตอนลา ง เปน วธิ กี ารอนรุ กั ษด นิ และนำ้
ไดดีมากวิธีการหนึ่ง

"...สำหรบั ตน ไมท ขี่ นึ้ อยใู นบรเิ วณสองขา งลำหว ย จำเปน ตอ งรกั ษาไวใ หด ี
เพราะจะชว ยเกบ็ รกั ษาความชมุ ชนื้ ไว สว นตามรอ งนำ้ และบรเิ วณทนี่ ้ำซบั

กค็ วรสรา งฝายขนาดเลก็ กน้ั น้ำไวใ นลกั ษณะฝายชมุ ชน้ื
แมจ ะมจี ำนวนนอ ยกต็ าม สำหรบั แหลง น้ำทม่ี ปี รมิ าณนำ้ มาก

จึงสรางฝายเพื่อผันนำ้ ลงมาใชในพื้นที่เพาะปลูก..."

พระราชดำรสั พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั เมอื่ วนั ที่ 1 มนี าคม 2521 1
ณ อำเภอแมล านอ ย จงั หวดั แมฮ อ งสอน

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

ในสว นของรปู แบบและลกั ษณะฝายชะลอนำ้ ไดม พี ระราชดำรสั วา
"...ใหพ จิ ารณาดำเนนิ การสรา งฝายราคาประหยดั โดยใชว สั ดรุ าคาถกู

และหางา ยในทอ งถน่ิ เชน แบบทง้ิ หนิ คลมุ ดว ยตาขา ย
ปด กนั้ รอ งนำ้ กบั ลำธารเลก็ เปน ระยะๆ เพอื่ ใชเ กบ็ กกั นำ้ และตะกอนดนิ ไวบ างสว น
โดยน้ำทเ่ี กบ็ กกั ไวจ ะซมึ เขา ไปในดนิ ทำใหค วามชมุ ชนื้ แผข ยายออกไปทง้ั สองขา ง

ตอ ไปจะสามารถปลกู พนั ธไุ มป อ งกนั ไฟ พนั ธไุ มโ ตเรว็ และพนั ธไุ มไ มท ง้ิ ใบ
เพอ่ื ฟน ฟตู น นำ้ ลำธารใหม สี ภาพเขยี วชอมุ ขนึ้ เปน ลำดบั ..."

ทรงแยกประเภทของฝายชะลอนำ้ เปน 2 ประเภท ดงั พระราชดำรสั คอื
"...ฝายชะลอนำ้ มี 2 อยา ง ชนดิ หนงึ่ สำหรบั ใหม คี วามชมุ ชนื้ รกั ษาความชมุ ชน้ื

อีกอยางสำหรับปองกันมิใหทรายลงในอางใหญ..."
"...ควรสรา งฝายในตน นำ้ ลำธารตามรอ งน้ำเพอื่ ชว ยชะลอกระแสนำ้

และเกบ็ กกั นำ้ สรา งความชมุ ชนื้ ใหก บั บรเิ วณตน นำ้ ..."
พระราชดำรสั พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั เมอื่ วนั ที่ 11 มนี าคม 2532

ณ ดอยอา งขาง อำเภอฝาง จงั หวดั เชยี งใหม

สำนกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพอื่ ประสานงานโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำริ
ในฐานะฝายเลขานุการอนุกรรมการสงเสริมการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ในภาคการเกษตรและชนบท จึงไดจัดทำคูมือการกำหนดรูปแบบ
กอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพฝายชะลอน้ำพอเพยี งตามแนว
พระราชดำรขิ นึ้ เพอื่ ใชเ ปน มาตรฐานกลางในการเสนอโครงการพฒั นาแหลง น้ำของพน้ื ท่ี
เปาหมายของยุทธศาสตรตอไป ซึ่งไดรับการรวมมือสนับสนุนจากกรมชลประทานเปน
หนวยงานดำเนินการ

2

คมู อื การกำหนดรปู แบบ กอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา และเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

2. วตั ถปุ ระสงค

การจัดทำคูมือการกำหนดรูปแบบ กอสราง ซอมปรับปรุง บำรุงรักษา และเพิ่ม
ประสทิ ธภิ าพ ฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำริ มวี ตั ถปุ ระสงค ดงั น้ี

2.1 เพื่อใหเปนมาตรฐานกลางประกอบการเสนอโครงการพัฒนาดานแหลงน้ำ
ของพ้ืนที่เปาหมายของยุทธศาสตรที่ 1 สงเสริมการขับเคล่ือนการพัฒนา
ตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ในภาคการเกษตรและชนบท

2.2 เพอื่ ใชเ ปน คมู อื ในการพจิ ารณา ออกแบบ เลอื กประเภท รปู แบบในการกอ สรา ง
ฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำรทิ เี่ หมาะสม

2.3 เพอื่ ใชเ ปน คมู อื การซอ มแซม ปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา ฝายชะลอน้ำพอเพยี งตาม
แนวพระราชดำริ สำหรบั จงั หวดั นำไปปรบั ใชใ หส อดคลอ งกบั สภาพภมู ปิ ระเทศ
ในแตล ะพนื้ ที่

2.4 เพื่อใชแนวทางในการเพ่ิมประสิทธิภาพ ฝายชะลอน้ำพอเพียงตามแนว
พระราชดำริ เพอื่ ใหเ กดิ ประโยชนส งู สดุ

3. คำจำกดั ความ

ฝายทดน้ำ คอื สง่ิ กอ สรา งทสี่ รา งปด ขวางทางนำ้ ไหล เพอื่ กกั เกบ็ ทดน้ำทไี่ หลมาให
มรี ะดบั สงู ขนึ้ จนสามารถผนั นำ้ เขา ไปตามคลองหรอื คสู ง นำ้ ใหแ กพ น้ื ทเี่ พาะปลกู บรเิ วณ
สองฝง ลำน้ำไดส ะดวก นำ้ ทไ่ี หลมาตามลำนำ้ ไมส ามารถไหลผา นตวั ฝายทดนำ้ ไดเ นอื่ งจาก
ทำจากวสั ดทุ บึ น้ำ สว นนำ้ ทเี่ หลอื จะไหลลน ขา มสนั ฝายลงไปในลำน้ำเดมิ ฝายจะตอ งมี
ความยาวมากพอทจี่ ะใหน า้ํ ไหลมาในชว งหนา ฝนไหลขา มฝายไปได โดยไมท ำใหเ กดิ น้ำทว ม
ตล่ิงสองฝงดานเหนือน้ำ

ภาพฝายทดนำ้

3

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

ฝายชะลอนำ้ คอื สง่ิ กอ สรา งทสี่ รา งปด ขวางทางน้ำไหล เพอื่ ทดกรองน้ำทไ่ี หลมาให
มรี ะดบั สงู ขน้ึ เพอ่ื สรา งความชมุ ชนื้ ใหก บั พน้ื ท่ี นำ้ ทไี่ หลมาตามลำนำ้ สามารถไหลผา นตวั
ฝายทดนำ้ ไดเ นอื่ งจากทำจากวสั ดไุ มท บึ นำ้ ชว ยดกั กรองตะกอนทไี่ หลมากบั น้ำ น้ำทไ่ี หล
ผานจะไหลลงไปในลำนำ้ เดิม

ภาพฝายชะลอนำ้

ฝายชะลอน้ำพอเพยี งตามแนวพระราชดำริ คอื ฝายชะลอนำ้ ประเภทหนง่ึ กอ สรา ง
โดยใชว สั ดทุ หี่ าไดง า ยในทอ งถน่ิ เชน ตน ไม กง่ิ ไม ดนิ กอ นหนิ ฯลฯ สรา งเพอ่ื กน้ั ชะลอ
น้ำในลำหวย หรือทางนำ้ เล็กๆ เพื่อใหน้ำไหลชาลง ชวยดักตะกอนท่ีไหลมากับนำ้
ลดการต้ืนเขินท่ีปลายน้ำ ทำใหน้ำใสมีคุณภาพดีข้ึน สามารถสรางความชุมช้ืนใหดิน
เพมิ่ ความอดุ มสมบรู ณ ความหลากหลายทางชวี ภาพ สตั วป า และสตั วน ำ้ ไดอ าศยั นำ้ ใน
การดำรงชวี ติ เมอื่ ดนิ มคี วามชน้ื ปา กช็ มุ ชน้ื กลายเปน แนวกนั ไฟปา ไดด ว ย มกี ารกอ สรา ง
ท่ีเรียบงาย ใชเวลานอย ใชงบประมาณท่ีประหยัด และหากมีการกักเก็บนำ้ ไดมาก
จะสามารถยกระดบั น้ำไหลเขา สพู นื้ ทกี่ ารเพาะปลกู ได

4. ประโยชนข องฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

ฝายชะลอน้ำพอเพยี งตามแนวพระราชดำริ เกดิ ประโยชนใ นหลายๆ ดา น ดงั น้ี
4.1 ดา นการอนรุ กั ษท รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม
ปรมิ าณนำ้ ฝนในปจ จบุ นั มปี รมิ าณลดลง และมแี นวโนม ลดลงจนทำใหเ กดิ สภาวการณ
ขาดแคลนน้ำเพอื่ ใชใ นการอปุ โภคบรโิ ภคของมวลมนษุ ย การทป่ี รมิ าณนำ้ ฝนลดลงเชน นี้

4

คมู อื การกำหนดรปู แบบ กอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา และเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

สว นหนงึ่ เปน เพราะปรมิ าณไอน้ำจากการคายระเหยบนผนื แผน ดนิ ลดลง ปา ไมถ กู ทำลาย
ลงเปน จำนวนมาก ซงึ่ ผนื ปา เปน แหลง ใหญใ นการเกดิ คายน้ำเขา สชู น้ั บรรยากาศ ปรมิ าณ
ไอน้ำลดลงปรมิ าณน้ำฝนทเ่ี กดิ ขนึ้ กม็ ปี รมิ าณลดลงตามดว ย ฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนว
พระราชดำริสามารถชะลอใหน้ำฝนตามธรรมชาติที่ตกลงมาอยูบนผืนแผนดินยาวนาน
มากขน้ึ การทำฝายชะลอการไหลของนำ้ จะเปน สว นชว ยสรา งความชมุ ชน้ื ในดนิ ไดม ากขน้ึ
สรางความสมบูรณของปาตนน้ำทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมท่ีดี ทำหนาที่คืน
ความชมุ ชนื้ เขา สรู ะบบน้ำธรรมชาติ ชว ยใหป รมิ าณนำ้ ธรรมชาตมิ ากขนึ้

4.2 ดา นการจดั การพนื้ ทล่ี มุ น้ำแบบธรรมชาติ

ลกั ษณะสว นใหญล มุ น้ำตามธรรมชาตเิ ปน พน้ื ทภ่ี เู ขาและมรี อ งนำ้ รอ งหว ย ตงั้ แต
รองนำ้ ขนาดเล็กๆ ที่อยูบนพ้ืนท่ีสูง รองน้ำขนาดเล็กๆ น้ีจะมีน้ำไหลนอยเมื่อไหลมา
รวมกันหลายรอ งนำ้ กจ็ ะมขี นาดทใี่ หญเ พมิ่ มากขนึ้ และเมอ่ื มกี ารไหลมารวมกนั หลายๆ
สายมากขน้ึ ปริมาณนำ้ ก็จะมีมากข้ึน ขนาดรองนำ้ รองหวยก็จะมีขนาดใหญมากข้ึน
ฝายชะลอน้ำพอเพียงตามแนวพระราชดำริ จะทำหนาที่ชะลอการไหลของนำ้ จาก
แหลง ตน นำ้ ลำธาร มใิ หไ หลหลากอยา งรวดเรว็ และทำหนา ทใี่ นการดกั ตะกอนหนา ดนิ
มใิ หไ หลปนไปกบั กระแสน้ำจนทำใหน ้ำมคี วามขนุ ขน และไปทำใหแ หลง น้ำธรรมชาตทิ อี่ ยู
ดา นลา งตอ งตน้ื เขนิ ถอื เปน การจดั การพน้ื ทล่ี มุ น้ำแบบธรรมชาติ

4.3 ดา นการใชป ระโยชนท รพั ยากรนำ้ สงู สดุ

นำ้ มคี วามสำคญั ตอ วถิ กี ารดำรงชวี ติ ของสงิ่ มชี วี ติ และพชื ทง้ั การบรโิ ภค อปุ โภค การ
ใชน ้ำเพอ่ื การเพาะปลกู การอตุ สาหกรรม และนบั วนั มนษุ ยย ง่ิ มคี วามตอ งการนำ้ มากขนึ้
มนษุ ยม วี วิ ฒั นาการในการเรยี นรเู พอ่ื จดั การทรพั ยากรน้ำเพอื่ การใชป ระโยชนม าตง้ั แตอ ดตี
ฝายชะลอนำ้ พอเพียงตามแนวพระราชดำริ เปนที่กักเก็บนำ้ ขนาดเล็ก ในลักษณะตุม
นำ้ เลก็ ๆ กระจายทว่ั พนื้ ท่ี เพอื่ กกั เกบ็ น้ำเพอ่ื ประโยชนท งั้ การสรา งความชมุ ชนื้ เพอ่ื การ
อนรุ กั ษแ ละพฒั นาระบบนเิ วศน การเกษตร การใชส อยอปุ โภค บรโิ ภค สรา งระบบวงจร
นำ้ แกป า สงิ่ มชี วี ติ ใหเ กดิ ประโยชนส งู สดุ พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ไดพ ระราชทาน
แนวพระราชดำรวิ า "...ใหด ำเนนิ การสำรวจหาทำเลสรา งฝายตน นำ้ ลำธารในระดบั ทส่ี งู
ใกลบ รเิ วณยอดเขามากทสี่ ดุ เทา ทจี่ ะเปน ไปได ลกั ษณะของฝายดงั กลา วจำเปน ตอ งออก
แบบใหม เพอ่ื ใหส ามารถกกั เกบ็ นำ้ ไวไ ดป รมิ าณนำ้ หลอ เลยี้ งและประคบั ประคองกลา ไม

5

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

พนั ธทุ แ่ี ขง็ แรงและโตเรว็ ทใี่ ชป ลกู แซมในปา แหง แลง อยา งสม่ำเสมอและตอ เนอ่ื ง โดยการ
จา ยน้ำออกไปรอบๆ ตวั ฝายจนสามารถตง้ั ตวั ได. .." เปน แนวคดิ ในการใชท รพั ยากรน้ำให
เกดิ ประโยชนส งู สดุ

4.4 ดา นการปอ งกนั ภยั จากธรรมชาติ
มนุษยไดเผชิญกับภัยธรรมชาติอันเกิดข้ึนจากความรุนแรงของการไหลบาของนำ้
สง ผลใหเ กดิ ความเสยี หายแกท รพั ยส นิ และพน้ื ทป่ี ระกอบการเพาะปลกู เชน ความรนุ แรง
ของการไหลของนำ้ ทำใหบานเรือนส่ิงปลูกสรางไดรับความเสียหาย พังทลาย พื้นที่
การเพาะปลูกเกิดการทับถมจากดิน ตะกอนที่ไหลมากับน้ำทำใหพื้นที่ทำกินขาด
ประสทิ ธภิ าพ การจดั ทำฝายตน นำ้ เพอื่ การชะลอการไหลนำ้ ไวเ ปน ระยะๆ จะชว ยทำให
น้ำไหลชา ลง ทำใหล ดความรวดเรว็ และความรนุ แรงในการไหลของนำ้ เปน การลดและ
ปองกันการสูญเสียทรัพยสินจากการไหลกระแทก เน่ืองจากความแรงจากการไหล
ของน้ำ นอกจากนท้ี ำใหโ อกาสการกดั เซาะดนิ ลดนอ ยลง เปน การลดการสญู เสยี ดนิ ให
ไหลไปทบั ถมแหลง นำ้ ใหต น้ื เขนิ เชน การตนื้ เขนิ ในลำหว ย การตน้ื เขนิ ของอา งเกบ็ น้ำ
และเปน ตะกอนหนิ ดนิ ลงไปทบั ถมพน้ื ทเ่ี กษตรกรรม จนเกดิ เปน ความเสยี หายตอ แหลง พน้ื ท่ี
ทำกนิ ในฤดแู ลง การเพม่ิ ความชมุ ชนื้ ใหด นิ ปา กจ็ ะชมุ ชนื้ เกดิ เปน รอ งน้ำลำธาร กลายเปน
แนวกนั ไฟปา ไดด ว ย
4.5 ดา นระบบนเิ วศน และเศรษฐกจิ ครวั เรอื น
ฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำริ ชว ยสรา งความชมุ ชนื้ ใหเ กดิ ขนึ้ สภาพ
ปา ตน ไม พชื พรรณทมี่ อี ยใู นบรเิ วณนน้ั จะไดร บั การฟน ฟพู ฒั นาสภาพปา ตน นำ้ กอ ใหเ กดิ
ความอดุ มสมบรู ณ สามารถเกบ็ กกั ซบั น้ำเปน แหลง เพมิ่ พนู ความหลากหลายในระบบนเิ วศน
ทำใหส ภาพแวดลอ มของชมุ ชนมคี วามชมุ ชน้ื ยง่ิ ขน้ึ เปน แหลง เกบ็ กกั น้ำเสมอื นเปน แอง เกบ็
นำ้ ขนาดเลก็ ทกี่ ระจายอยทู วั่ ไปในพน้ื ทต่ี น น้ำ อนั เปน ประโยชนต อ ชมุ ชนในการใชป ระโยชน
เพอื่ การอปุ โภคและบรโิ ภค เปน การปอ งกนั ความแหง แลง สภาพปา ทอี่ ดุ มสมบรู ณ และ
ความหลากหลายของระบบนเิ วศนท เ่ี กดิ ขนึ้ ทำใหเ กดิ แหลง อาหารตามธรรมชาตเิ พอ่ื การ
เกบ็ หาบรโิ ภคและพงึ่ พงิ ปา ได ทำใหช มุ ชนมแี หลง อาหารแหลง เสรมิ สรา งอาชพี จากการ
อนุรักษปา เชน การเก็บหาผลิตผลจากปา เห็ด หนอไม เปนการเสริมสรางอาชีพ

6

คมู อื การกำหนดรปู แบบ กอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา และเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

เพมิ่ พนู รายได ชมุ ชนเกดิ ความรกั สามคั คี มคี วามสขุ ใจ มสี ว นรว มในการรกั และหวงแหน
ทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน เกิดระบบการบริหารจัดการปาชุมชนใหมีความเขมแข็ง
เปนแหลงเรียนรู แหลงอาหาร แหลงสมุนไพรของคนในชุมชนและคนนอกชุมชน
เกดิ เครอื ขา ยการเรยี นรู และขยายผลการสรา งความเขา ใจเกยี่ วกับการอนรุ กั ษก ารจดั
การพนื้ ทล่ี มุ น้ำดว ยฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำริ เรยี นรกู ารใชป ระโยชน
แบบพึ่งพิงปาไดอยางเกื้อกูล รวมท้ังเปนแหลงเรียนรูของเยาวชน เปนเสนทางเดิน
ธรรมชาตแิ กผ มู าศกึ ษาอนรุ กั ษท รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ ม เพอื่ การปลกู สรา ง
จติ สำนกึ

5. ประเภทฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

ฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำริ แบง ออกเปน 3 ประเภท ดงั น้ี
5.1 ประเภทที่ 1 เปน ฝายชะลอน้ำฯ ชว่ั คราว ทสี่ รา งปด กนั้ บรเิ วณรอ งลำหว ย
ขนาดเล็กบริเวณตนน้ำ โดยใชวัสดุธรรมชาติหาไดงายในทองถิ่นเปนสวนหลัก ไดแก
กง่ิ ไม ตน ไม ทราย ดนิ หนิ และกรวด เปน ตน สรา งสำหรบั ชะลอน้ำ และเพมิ่ ความ
ชุมชื้นเทาน้ัน สามารถกักเก็บน้ำไดแตมีการซึมของน้ำผานตัวฝายอยูตลอดเวลา หรือ
นำ้ อาจลน ขา มฝายลงสลู ำหว ยสาขาอยบู รเิ วณดา นลา ง เมอ่ื ถงึ ฤดนู ้ำหลากอาจเกดิ ความ
เสยี หายทงั้ หมดเพอ่ื ไมใ หม ผี ลกระทบตอ ระบบนเิ วศน และการวางไขข องสตั วน ำ้ ฝายชะลอ
น้ำฯ ชวั่ คราวมหี ลายรปู แบบ กอ สรา งเรยี บงา ยตามภมู ปิ ญ ญาดง้ั เดมิ แตล ะทอ งถน่ิ และ
สภาพความเหมาะสมของพนื้ ทโี่ ดยชมุ ชนเองมอี ายกุ ารใชง านประมาณ 1 - 2 ป
5.2 ประเภทท่ี 2 เปนฝายชะลอน้ำฯ กึ่งถาวร ที่สรางปดกั้นบริเวณลำหวย
สาขาบรเิ วณตน น้ำ สรา งจากวสั ดจุ ากธรรมชาติ รว มกบั วสั ดกุ อ สรา ง ไดแ ก ตะแกรงลวด
เหลก็ ปนู ซเี มนต หนิ ทราย ไมแ ปรรปู เปน ตน กอ สรา งสำหรบั ชะลอ กกั เกบ็ นำ้ แตก ม็ ี
การซมึ ของน้ำผา นตวั ฝาย หรอื ซมึ ลอดใตต วั ฝายได และน้ำสามารถลน ขา มฝายลงสลู ำหว ย
ทอ่ี ยบู รเิ วณดา นลา ง อาจมชี อ งหรอื ทอ สำหรบั การระบายตะกอนทตี่ กทบั ถมบรเิ วณเหนอื
ฝาย เพอ่ื รกั ษาระบบนเิ วศน ฝายชะลอน้ำฯ กง่ึ ถาวรมหี ลายรปู แบบ ตามแตล ะทอ งถน่ิ
หรอื ภมู ภิ าคและสภาพความเหมาะสมของพน้ื ท่ี มอี ายกุ ารใชง าน 2 - 5 ป

7

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

5.3 ประเภทที่ 3 เปน ฝายชะลอนำ้ ฯ ถาวร ทสี่ รา งปด กนั้ ลำน้ำบรเิ วณลำหว ยหลกั
สรา งจากวสั ดใุ นการกอ สรา งเปน หลกั ไดแ ก คอนกรตี ลวดเหลก็ เหลก็ เสรมิ หนิ ใหญ
กรวดทราย เปน ตน มกี ารออกแบบตามหลกั วชิ าการ มคี วามมน่ั คง แขง็ แรง สามารถ
ตา นทานแรงดนั ของน้ำ ทนทานตอ การกดั เซาะของนำ้ ได และตอ งคำนงึ ถงึ ผลกระทบกบั
สภาพแวดลอ ม เชน นำ้ ลน ตลงิ่ การกดั เซาะทา ยน้ำ และปอ งกนั ผลระบบนเิ วศนอ ยา ง
ถาวร ฝายชะลอน้ำฯถาวร จงึ มอี ายกุ ารใชง านยนื ยาว ถา ไดร บั การซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ
รกั ษาอยเู สมอจะใชง านไดต ลอดไป อายกุ ารใชง านมากกวา 5 - 10 ปข นึ้ ไป

8 แบบรา งแสดงฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำรปิ ระเภทตา งๆ

คมู อื การกำหนดรปู แบบ กอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา และเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพฝายชะลอน้ำพอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

6. กตาารมเแลนอื วกพตรำะแรหานชงดทำต่ีรง้ัิ ฝายชะลอน้ำพอเพยี ง

การเลอื กตำแหนง ทตี่ ง้ั ฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำริ มแี นวทางและ
หลกั เกณฑใ นการพจิ ารณาพอสงั เขป ดงั นี้

6.1 ตำแหนง ทต่ี ง้ั ฝาย ควรเปน รอ งลำหว ย ลำหว ยสาขา หรอื ลำหว ยหลกั ทมี่ พี นื้ ท่ี
เหนอื น้ำทสี่ ามารถกกั เกบ็ นำ้ ไดพ อสมควร

6.2 สภาพตลงิ่ ณ ตำแหนง ทตี่ งั้ ฝาย ดา นเหนอื นำ้ และดา นทา ยนำ้ จะตอ งมคี วาม
สูงพอท่ีจะไมทำใหนำ้ ลนขาม หรือตล่ิงตองมีความแข็งแรงเพียงพอตอการ
กดั เซาะ

6.3 ในรอ งลำหว ยทมี่ คี วามลาดชนั สงู ตอ งพจิ ารณาสรา งฝายชะลอนำ้ ฯ ใหม จี ำนวน
ฝายมากเพยี งพอทจ่ี ะสามารถกกั กรองนำ้ ดกั ตะกอนทจ่ี ะไหลลงสลู ำหว ยสาขา
และลำหว ยหลกั อยา งเพยี งพอ

6.4 สำรวจสภาพพนื้ ที่ วสั ดทุ จี่ ะใชใ นการกอ สรา ง สภาพลำน้ำ เพอื่ เลอื กประเภท
ทเี่ หมาะสมในการกอ สรา ง เชน พน้ื ทต่ี น นำ้ ในรอ งลำหว ยควรเปน ฝายชว่ั คราว
เปน ตน

6.5 ควรมขี อ มลู ระดบั นำ้ ปรมิ าณฝนในแตล ะฤดกู าล เพอ่ื ตอ งพจิ ารณารปู แบบใน
การกอ สรา งใหม คี วามแขง็ แรงเพยี งพอในการตา นทานแรงดนั ของนำ้ ในฤดฝู น

6.6 ในกรณที เ่ี ปน ฝายประเภทกงึ่ ถาวร หรอื ฝายถาวร ควรเลอื กทำเลทตี่ งั้ ทส่ี ามารถ
จดั สรา งระบบสง น้ำสรา งความชมุ ชนื้ ใหป า และพนื้ ทกี่ ารเพาะปลกู ไดด ว ย

6.7 ควรเลอื กตำแหนง ทตี่ ง้ั ทม่ี คี วามเหมาะสมควบคกู บั ประโยชนท จี่ ะไดร บั สงู สดุ

9

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

ตำแหนง ทตี่ ง้ั ฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำรทิ เ่ี หมาะสม

 ⌫  ⌫  ⌫ 
⌫     

   ⌦  

สภาพภูมิประเทศ พื้นท่ีสูงชันตนน้ำ พนื้ ทลี่ าดชนั บรเิ วณ พนื้ ทล่ี าดชนั บรเิ วณ
เปน รอ งนำ้ หรอื ลำ รอ งลำหว ย ลำหว ยสาขา ลำหว ยหลกั
หว ยทค่ี อ นขา งตรง หรอื ทเี่ หมาะสม
ความลาดชนั ทอ ง หรอื ทเ่ี หมาะสม หรอื ทเี่ หมาะสม

ลำหว ย พน้ื ทล่ี าดชนั สงู พนื้ ทล่ี าดชนั ปานกลาง พนื้ ทลี่ าดชนั ต่ำ
(ตามความยาว) * ความลาดเอยี งไมเ กนิ ความลาดเอยี งไมเ กนิ ความลาดเอยี งมากกวา
ความลกึ ลำหว ย 1 ตอ 20 1 ตอ 40 1 ตอ 40

(เมตร) ไมค วรเกนิ ไมค วรเกนิ ไมค วรเกนิ
ความสงู ของฝาย 1.00 เมตร 1.20 เมตร 1.50 เมตร

(เมตร) ไมค วรเกนิ ไมค วรเกนิ ไมค วรเกนิ
ความกวา งลำหว ย 0.5 เมตร 0.6 เมตร 0.77 เมตร

(เมตร) ไมค วรเกนิ ไมค วรเกนิ ไมค วรเกนิ
ปรมิ าณน้ำไหลผา น 3.00 เมตร 5.0 เมตร 10.00 เมตร
สงู สดุ ไมค วรเกนิ
(ลบ.ม.ตอ วนิ าท)ี * 0.50 0.50 1.50
ประเภทของดิน
ดนิ เหนยี ว/กรวด/หนิ ดนิ เหนยี ว/กรวด/ทราย ดนิ เหนยี ว/กรวด/ทราย
สภาพชน้ั ดนิ คอนขางแนน แนน แนน มาก
ทองลำน้ำ
สภาพการ นอ ย นอ ย นอ ย
กดั เซาะตลงิ่

* การคดิ คา ความลาดชนั ของพน้ื ที่ และปรมิ าณนำ้ ไหลผา นสงู สดุ ในลำนำ้
ดภู าคผนวก หรอื อาจขอความรว มมอื จากนายชา งของโครงการชลประทานจงั หวดั (ในพน้ื ท)่ี

10

คมู อื การกำหนดรปู แบบ กอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพฝายชะลอน้ำพอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

จำนวนฝายชะลอน้ำ ขนึ้ อยกู บั ความลาดเอยี งของพน้ื ที่
(พน้ื ทมี่ คี วามชนั มาก ควรมฝี ายชะลอน้ำมากขนึ้ )

11

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

7. การกำหนดรปู แบบฝายชะลอน้ำพอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

การกำหนดรปู แบบฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำริ
แบง ตามวสั ดทุ ใ่ี ชใ นการกอ สรา งและอายกุ ารใชง าน ออกเปน 3 ประเภท ดงั น้ี
ประเภทท่ี 1 ประเภทชวั่ คราว ประกอบดว ย
1) ฝายไม เปนฝายช่ัวคราวขนาดเล็กที่ทำจากไมเปนหลัก สวนมากจะเปนไมไผ
หรอื ไมท มี่ ใี นพน้ื ท่ี ฝายไมท นี่ ยิ มสรา งมี 2 รปู แบบ ดงั นี้
1.1) ฝายไมแนวเดียว เปนฝายขนาดเล็กช่ัวคราว สรางกั้นรองหวยท่ีมีความลึก

ไมม ากนกั ความลาดชนั คอ นขา งสงู สรา งโดยการปก ไมเ สาเปน ระยะๆ 0.30
ถงึ 0.50 เมตร แลว นำไมม าสอดเรยี งในแนวนอนแลว ยดึ ตดิ กนั ดงั แสดงในรปู
แลวใชวัสดุที่มีน้ำหนักมาถมดานหนาตลอดแนวซึ่งอาจเปนดินหรือหินก็ได
เพอ่ื ใหเ กดิ ความมนั่ คง

12 ฝายไมแ นวเดยี ว

คมู อื การกำหนดรปู แบบ กอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา และเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพฝายชะลอน้ำพอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

1.2) ฝายไมคอกหมู เปนฝายลักษณะเดียวกันกับฝายไมแนวเดียว แตจะทำการ
ปก ไมเ สาเปน สองแนวหา งกนั เทา กบั ความสงู ของฝาย พรอ มมกี ารยดึ แถวหนา
กบั แถวหลงั เขา ดว ยกนั ดว ยไมใ นแนวนอนทฝี่ ง ปลายเขา ไปในตลง่ิ ทงั้ สองดา น
ดังแสดงในรูป แลวนำวัสดุใสระหวางกลางจะเปน หิน ดิน หรือวัสดุอื่นๆ
ในพื้นที่ฝายคอกหมูชั่วคราวอาจทำการตอกเสายึดเปนแนวเอียงกันเทากับ
ความสงู ของฝายกไ็ ด

ฝายไมค อกหมู

13

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

2. ฝายหินเรียง สรางโดยนำเอา หิน ในหวยมาเรียงกันใหไดระดับเพื่อเปน
แนวสนั ฝาย โดยเลอื กหนิ ทม่ี ขี นาด 0.20 ม. ขน้ึ ไป เปน หลกั เพอื่ สามารถทจ่ี ะรบั แรงดนั
นำ้ ได โดยเรยี งหนิ เปน รปู สามเหลยี่ มโดยประมาณ ใหฐ านกวา งกวา ความสงู อยา งนอ ย
3 เทา ถาจะใหเก็บลดการรั่วซึมควรหาวัสดุ พวกใบไม ก่ิงไมหรือดินมาอุดชองวาง
ระหวางหินและควรกระทุงหินใหมีความแนนข้ึน

ฝายหนิ เรยี ง

14

คมู อื การกำหนดรปู แบบ กอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

3. ฝายดนิ เปน ฝายชว่ั คราวขนาดเลก็ ทที่ ำจากดนิ สว นมากจะเปน ประเภทดนิ เหนยี ว
ฝายดนิ ชวั่ คราวทนี่ ยิ มสรา งมี 2 รปู แบบ ดงั นี้

3.1) ฝายดนิ เหนยี ว เปน การนำดนิ เหนยี วมาถม กระทงุ ใหแ นน แลว เรยี งตามแนว
ขวางลำน้ำ แลว นำวสั ดมุ าปด ผวิ หนา เชน หนิ ไม หรอื วสั ดอุ น่ื ทห่ี าไดใ นพนื้ ที่
ดงั แสดงในรปู

ฝายดนิ เหนยี ว

15

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

3.2) ฝายเรยี งดว ยกระสอบบรรจดุ นิ /ทราย นำมาเรยี งกนั เพอ่ื กน้ั ในลำธาร โดย
เรียงกระสอบบรรจุดิน/ทรายใหไดความลาดดานเหนือนำ้ ประมาณ 1 : 2
ดงั แสดงในรปู

ฝายเรยี งดว ยกระสอบบรรจดุ นิ /ทราย

16

คมู อื การกำหนดรปู แบบ กอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพฝายชะลอน้ำพอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

ฝายชะลอน้ำพอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

ประเภทที่ 2 ประเภทกง่ึ ถาวร เปน ฝายชะลอน้ำฯ ทที่ ำจากวสั ดจุ ากธรรมชาตริ ว ม
กบั วสั ดกุ ารกอ สรา ง แบง ตามวสั ดแุ ละการกอ สรา งออกเปน 3 ชนดิ ดงั นี้

1) ฝายไมแ กนหนิ ยาแนวหรอื แกนดนิ เหนยี ว เปน ฝายกง่ึ ถาวรสรา งกน้ั ลำนำ้ สาขา
ที่มีความลึกไมมากนัก ความลาดชันปานกลาง สรางโดยการปกไมเสาเปนแนวปดก้ัน
ลำนำ้ จำนวน 2 แถว หรือมากกวา แลวนำไมมาสอดเรียงในแนวนอนแลวยึดติดกัน
ดงั แสดงในรปู ใชห นิ เรยี งยาแนวหรอื ดนิ เหนยี วอาจทำลกั ษณะทม่ี สี นั หลายระดบั หรอื เปน
แบบขนั้ บนั ไดใสใ นชอ งระหวา งแนวทปี่ ก ไม เพอื่ ทำใหเ กดิ ความมนั่ คง

ฝายไมแ กนหนิ ยาแนวหรอื แกนดนิ เหนยี ว 17

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

2) ฝายกลอ งลวดตาขา ยบรรจหุ นิ (Gabion) เปน ฝายกงึ่ ถาวรสรา งกน้ั ลำนำ้ สาขา
ทม่ี คี วามลกึ ไมม ากนกั ความลาดชนั นอ ยถงึ ปานกลาง สรา งโดยการเรยี งกลอ งลวดตาขา ย
ทบ่ี รรจดุ ว ยหนิ ทม่ี ขี นาดเทา ๆ กนั รปู กลอ งเปน รปู สเ่ี หลย่ี มผนื ผา เพอ่ื สะดวกในการเรยี ง
ตอ เนอ่ื งและเปน ชน้ั ๆ ตามความสงู ของฝายฯ ทต่ี อ งการ ดงั แสดงในรปู

ฝายกลอ งลวดตาขา ยบรรจหุ นิ

18

คมู อื การกำหนดรปู แบบ กอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

3) ฝายหนิ กอ หรอื หนิ ทงิ้ เปน ฝายกงึ่ ถาวรสรา งกน้ั ลำนำ้ สาขาทมี่ คี วามลกึ ไมม ากนกั
ความลาดชันปานกลาง สรางโดยการกอหินปะกบแกนคอนกรีต หรือแกนไมใชหินกอ
หรอื หนิ ทง้ิ อาจทำลกั ษณะทมี่ สี นั หลายระดบั หรอื แบบขน้ั บนั ได เพอ่ื ทำใหเ กดิ ความมนั่ คง
ดงั แสดงในรปู

ฝายหนิ กอ หรอื หนิ ทง้ิ

19

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

ฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

ประเภทที่ 3 ประเภทถาวร เปนฝายท่ีสรางปดกั้นลำน้ำบริเวณลำหวยหลัก
สรา งจากวสั ดใุ นการกอ สรา งเปน หลกั ไดแ ก คอนกรตี ลวดเหลก็ เหลก็ เสรมิ หนิ ใหญ
กรวด ทราย เปน ตน มกี ารออกแบบตามหลกั วชิ าการ มคี วามมนั่ คง แขง็ แรง สามารถ
ตา นทานแรงดนั ของน้ำ ทนทานตอ การกดั เซาะของนำ้ ได พอแบง ตามวสั ดแุ ละการกอ สรา ง
ออกเปน 3 ชนดิ ดงั นี้

1) ฝายหนิ เรยี งยาแนวเปน ฝายถาวรสรา งกน้ั ลำนำ้ ทมี่ คี วามลกึ คอ นขา งมากแตม ี
ความลาดชนั ของทอ งลำน้ำนอ ย สรา งโดยการเรยี งหนิ ทมี่ ขี นาดเทา ๆ กนั หรอื คละกนั โดย
เรยี งหนิ ทม่ี ขี นาดใหญอ ยดู า นลา งเพอื่ เปน ฐานฝายเรยี งหนิ ใหช ดิ เปน แนวตามแนวราบ และ
เรยี งเปน ชน้ั ๆ ตามความสงู เปน รปู สเี่ หลยี่ มคางหมู เพอ่ื สะดวกในการเรยี งตอ เนอ่ื งเปน ชน้ั ๆ
ตามความสูงของฝายฯ ท่ีตองการ และใชปูนซีเมนตยาแนวตรงรองของรอยตอท้ังใน
แนวราบและแนวความสงู หรอื แบง เปน ชอ งๆ กไ็ ด ดงั แสดงในรปู

ฝายหนิ เรยี งยาแนว

20

คมู อื การกำหนดรปู แบบ กอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา และเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

2) ฝายคอนกรีต หรือฝายคอนกรีตลวนสรางโดยการเรียงหินขนาดใหญ แลว
เทคอนกรตี ทบั โดยไมม กี ารเสรมิ เหลก็ มรี ปู ตดั คลา ยรปู สเ่ี หลยี่ มคางหมซู งึ่ มดี า นบน หรอื
สันฝายแคบกวาดานลางหรือฐานฝายสันฝายอาจทำเปนหยักใหนำ้ ไหลผาน โดยปกติ
ดา นเหนอื นำ้ หนา ฝายจะตง้ั ชนั เปน แนวดง่ิ กบั พน้ื ฝายสว นดา นทา ยนำ้ จะมคี วามลาดหรอื
เปน ขนั้ เพอ่ื ใหฝ ายมคี วามมนั่ คง และลดความเรว็ ของน้ำไหลขา มฝายไมไ หลตกกระแทก
พนื้ ฝายแรงเกนิ ไปจนเกดิ การกดั เซาะ

ฝายคอนกรตี ลว น 21

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

3) ฝายคอนกรีตเสริมเหล็ก เปนฝายที่มีการกอสรางดวยคอนกรีตเสริมเหล็ก
จะมคี วามคงทนถาวรมากกวา ฝายคอนกรตี ลว น รปู รา ง ขนาด ตอ งมกี ารคำนวณออกแบบ
ตามหลกั วชิ าการมกี ารพจิ ารณารายละเอยี ดมากกวา ฝายประเภทอน่ื ฐานฝายมลี กั ษณะ
เปน ฐานคอนกรตี เสรมิ เหลก็ ตงั้ อยบู นพนื้ แขง็ แรงตลอดความกวา งของลำนำ้ ตวั ฝาย มขี นาด
ท่ีเหมาะสมทำดวยคอนกรีตเสริมเหล็ก สันฝายมักทำเปนชองใหนำ้ ไหลผานสามารถ
ปรบั ระดบั น้ำโดยใชแ ผน ไมก ระดานเสยี บปด ไวก กั น้ำเมอื่ ตอ งการยกระดบั น้ำใหส งู ขนึ้

ฝายคอนกรตี เสรมิ เหลก็

22

คมู อื การกำหนดรปู แบบ กอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพฝายชะลอน้ำพอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

8. การกอ สรา งฝายชะลอน้ำพอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

การกอ สรา งฝายชะลอน้ำพอเพยี งตามแนวพระราชดำริ มขี น้ั ตอนพอสงั เขป ดงั นี้
8.1 การสำรวจสภาพภมู ปิ ระเทศ หรอื รอ งลำนำ้ ทเี่ หมาะสมในการกอ สรา ง

- กำหนดตำแหนง พกิ ดั ทเ่ี หมาะสมในการกอ สรา ง
- วดั ขนาดรอ งลำน้ำ ความลาดชนั ทอ งลำน้ำ
- หาปรมิ าณน้ำไหลผา น :- ตลอดทงั้ ป ชว งฤดกู าล
- ตรวจสภาพตลงิ่ และทอ งนำ้ :- มกี ารกดั เซาะ
8.2 กำหนดประเภทและเลอื กรปู แบบ สำหรบั การกอ สรา งฝายชะลอนำ้ ฯ
- ชว่ั คราว :- พน้ื ทล่ี าดชนั ตน นำ้ รอ งลำหว ย
- กงึ่ ถาวร :- พน้ื ทล่ี าดชนั ปานกลาง ลำหว ยสาขา
- ถาวร :- พน้ื ทล่ี าดชนั นอ ย ลำหว ยหลกั
8.3 สเก็ตซร ูปแบบ กำหนดขนาด สัดสวน และกำหนดวสั ดทุ ่ใี ชใ นการกอสรา ง
ใหเ ปน ไปตามขอ แนะนำในคมู อื ในกรณที เ่ี ปน ฝายชะลอน้ำถาวรตอ งมกี ารเขยี น
แบบและถอดแบบคำนวณหาปริมาณวัสดุที่ใชในการกอสรางโดยนายชาง
หรอื วศิ วกร
8.4 วางผงั ตำแหนง และการกอ สรา งฝายชะลอน้ำฯ
- วางแนวรอ งแกนฝาย
- ขดุ รอ งแกนใหม คี วามลกึ ถงึ ชน้ั ดนิ แนน
8.5 ขน้ั ตอนการกอ สรา งฐานฝายและตวั ฝาย เปน ไปตามรปู แบบ ขนาด วสั ดุ ตาม
ทก่ี ำหนดไว และตอ งคำนงึ ถงึ ความมนั่ คงแขง็ แรงใหม ากพอทฝี่ ายจะสามารถ
ตา นทานกระแสนำ้ และไมเ กดิ ผลกระทบกบั ระบบนเิ วศนไ ด

แสดงลกั ษณะทว่ั ไปของฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

23

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

9. กตาารมซแอนมวแพซรมะรปารชบัดปำรริงุ บำรงุ รกั ษา ฝายชะลอน้ำพอเพยี ง

ฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำริ สรา งจากวสั ดจุ ากธรรมชาตริ ว มกบั วสั ดุ
กอ สรา ง ตามประเภทและวตั ถปุ ระสงคข องการใชง าน จะมอี ายกุ ารใชง านทแี่ ตกตา งกนั
ไปขน้ึ กบั วสั ดทุ ใ่ี ช สภาพของลำน้ำ ความรนุ แรงของกระแสนำ้ รวมถงึ ชน้ั ดนิ บรเิ วณทตี่ งั้
ของฝาย ซง่ึ ปจ จยั ตา งๆ อาจเปน สาเหตุของการชำรดุ ของตวั ฝายได วสั ดทุ ใี่ ชก อ สรา ง
อาจเสอ่ื มสลาย ฉะนน้ั ควรมกี ารซอ มแซม ปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา ใหอ ยใู นสภาพทสี่ มบรู ณ
ก็จะสามารถใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ

การบำรงุ รกั ษาฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำริ มขี อ ควรปฏบิ ตั ิ ดงั นี้
1) ฤดนู ำ้ หลากตอ งเฝา ระวงั เศษกงิ่ ไม ทอ นไมข นาดใหญท ไี่ หลมากบั น้ำปะทะตวั ฝาย
อาจเปน สาเหตทุ ำใหฝ ายชำรดุ เสยี หายได
2) ตรวจสอบตวั ฝายฯ ทกุ ๆ หลงั ฤดนู ้ำหลาก หากมคี วามชำรดุ เสยี หาย ในกรณที ่ี
เปน ฝายประเภทกง่ึ ถาวร หรอื ฝายถาวร ตอ งทำการซอ มแซม ปรบั ปรงุ โดยใชว สั ดทุ เี่ หมาะ
สมใหค งสภาพเดมิ
3) ตรวจสอบการตะกอนดา นหนา ฝายหากมปี รมิ าณตะกอนมาก อาจขดุ ลอกออก
บางสว นเพอ่ื ไมใ หเ กดิ การตนื้ เขนิ หรอื เปน สาเหตทุ ำใหก ลายเปน ปจ จยั ทำใหต วั ฝายชำรดุ
เสยี หายได ในกรณที ฝี่ ายมชี อ งหรอื ทอ ระบายตะกอนใหต รวจสอบวา มกี ารอดุ ตนั หรอื ไม
4) ฝายชะลอนำ้ ฯ ทพ่ี งั เสยี หายบอ ยๆ อาจตอ งพจิ ารณาเปลย่ี นรปู แบบหรอื ประเภท
เชน เปลย่ี นรปู แบบจากฝายไมแ นวเดยี วเปลยี่ นมาเปน ฝายคอกหมชู วั่ คราว เปน ตน
5) ตรวจสอบสภาพแวดลอ มของฝายชะลอนำ้ ฯ ประกอบดว ย

5.1) ตลง่ิ ตำแหนง ปก ฝายทง้ั สองดา นวา มกี ารกดั เซาะของน้ำเกดิ การกดั เซาะพงั
ทลายอาจเปน สาเหตใุ หฝ ายพงั เสยี หาย

5.2) ตลง่ิ ของลำนำ้ ดา นเหนอื น้ำทง้ั สองดา นมกี ารพงั ทลายจากสาเหตจุ ากน้ำลน
ขา มเนอ่ื งจากสนั ฝายอาจจะมคี วามสงู มากเกนิ ไป หรอื มเี ศษกง่ิ ไมใ บไมส ะสม
ทบั ถมบนสนั ฝายมากเกนิ ไป

24

คมู อื การกำหนดรปู แบบ กอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา และเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพฝายชะลอน้ำพอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

5.3) รอ งนำ้ ดา นทา ยฝายมกี ารกดั เซาะของดนิ ทอ งน้ำเกดิ เปน หลมุ เปน บอ หรอื
ตลิ่งดานทายนำ้ ท่ีเปนผลกระทบการไหลของน้ำที่ผานจากตัวฝาย หรือ
สภาพดินทองน้ำ

6. ในกรณีท่ีฝายมีระบบสงน้ำ (ระบบทอสงน้ำ และหรือคูสงนำ้ ) เพื่อการอุปโภค
บรโิ ภค หรอื เกษตรกรรม ตอ งมกี ารตรวจสอบคณุ ภาพมคี ณุ ภาพสะอาดไมเ นา เสยี เนอื่ ง
จากเศษใบไมก งิ่ ไมท บั ถม และตอ งมปี รมิ าณเพยี งพอตอ ความตอ งการใชใ นภารกจิ ตา งๆ
ในแตล ะชว งอยา งสมบรู ณ

7. สำหรบั ฝายชะลอน้ำฯ ชวั่ คราวทม่ี กี ารดแู ลเปน อยา งดกี จ็ ะสามารถเพมิ่ ความชมุ
ชนื้ ใหก บั ปา ตน น้ำ ควรมกี ารปลกู ตน ไมเ พมิ่ เตมิ โดยรอบบรเิ วณทส่ี รา งฝายเพอื่ ฟน ฟรู ะบบ
นเิ วศนข องปา ตน น้ำลำธาร และเปน การรกั ษาสภาพนำ้ ทจ่ี ะไหลลงลำน้ำ หรอื ไหลลงอา ง
เก็บนำ้ ดานทายนำ้ ตอไป

สำหรบั ขนั้ ตอน วธิ กี ารการซอ มแซมฝายชะลอนำ้ ฯ โดยเฉพาะฝายชะลอน้ำฯ ประเภท
ถาวร เรม่ิ จากการสำรวจ ประเมนิ เบอื้ งตน ของสภาพทว่ั ไปของฝาย ประกอบดว ย

1) จุดที่ตั้งฝาย
- ชอ่ื ฝาย (ปท ส่ี รา ง) :- ประชาอาสา (2554) เปน ตน
- ระบลุ ำนำ้ :- รอ งลำหว ย ลำหว ยสาขา ลำหว ยหลกั ลำน้ำ ฯลฯ
- ตำแหนง ทต่ี งั้ พกิ ดั ตำแหนง :- หมบู า น หมทู ี่ ตำบล อำเภอ จงั หวดั
- เขตพนื้ ท่ี :- อทุ ยานแหง ชาติ ปา สงวนฯ ทสี่ าธารณะประโยชน อนื่ ๆ

2) ประเภทฝาย :- ชว่ั คราว กง่ึ ถาวร ถาวร
3) รปู แบบฝาย :- ไม คอกหมู ดนิ หนิ เรยี ง หนิ กอ กลอ งลวดตาขา ย คอนกรตี

คอนกรตี เสรมิ เหลก็ หรอื อนื่ ๆ
4) ขอ มลู ตวั ฝาย :- ความสงู ความกวา ง ความยาวของตวั ฝาย ระดบั รทก. อาคาร

ประกอบฝาย เชน ชอ งระบายตะกอน คนั ดนิ กำแพงปก ฝาย กำแพงปอ งกนั
ตลง่ิ ระบบสง น้ำ (ถา ม)ี พรอ มรปู แบบหรอื ภาพสเกต็ ซท ม่ี มี ติ หิ รอื ขนาด
5) หนว ยงาน เจา หนา ทผี่ รู บั ผดิ ชอบการซอ มแซมฝายชะลอนำ้

25

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

6) สำรวจสภาพการชำรดุ
- ตวั ฝาย :- สนั ฝาย ปก ฝาย ฐานฝาย
- ตลงิ่ ดา นเหนอื และทา ยนำ้ :- หนิ ทงิ้ หนิ เรยี ง ดาดคอนกรตี ฯลฯ
- ทอ งน้ำดา นเหนอื และทา ยนำ้ :- สภาพการตกตะกอนและการกดั เซาะ
- ระบบสง นำ้ (ถา ม)ี :- ทอ สง น้ำ ทางนำ้ เปด พรอ มอาคารประกอบ

7) สาเหตกุ ารชำรดุ เสยี หาย
- อายกุ ารใชง าน
- ภยั ธรรมชาติ
- อนื่ ๆ เชน การทำลายโดยฝม อื มนษุ ย ฯลฯ

10. ตกาารมเแพนม่ิ วปพรระะสรทิ าธชภิดาำพรฝิ ายชะลอนำ้ พอเพยี ง

วัตถุประสงคหลักของการสรางฝายชะลอน้ำพอเพียงตามแนวพระราชดำริ
พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ทรงตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของการพฒั นาและฟน ฟปู า ไม
ตนนำ้ ลำธาร เพื่อคืนความอุดมสมบูรณ และทำใหเกิดความหลากหลายดานชีวภาพ
แกส งั คมของพชื และสตั ว ตลอดจนนำความชมุ ชน้ื มาสแู ผน ดนิ หากชว งทน่ี ้ำไหลแรงฝาย
สามารถชะลอการไหลของน้ำใหช า ลง และ กกั เกบ็ กรอง ตะกอนไมใ หไ หลลงไปในบรเิ วณ
ลมุ นำ้ ตอนลา ง

ปรมิ าณน้ำทฝ่ี ายกกั เกบ็ ไวก ย็ งั สามารถนำนำ้ ไปสพู น้ื ทเ่ี พาะปลกู เพอ่ื ใหไ ดผ ลผลติ ทาง
การเกษตร ทำใหเกษตรกรไดรับประโยชนจากการสรางฝายชะลอน้ำโดยเฉพาะฝาย
ประเภทกง่ึ ถาวรและถาวร สามารถสรา งระบบสง น้ำเขา พนื้ ทใ่ี กลเ คยี งเพอ่ื อปุ โภค บรโิ ภค
และการเกษตรเปน การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพของฝายชะลอนำ้ ฯ

ทง้ั นต้ี อ งคำนงึ ถงึ ปรมิ าณน้ำเหนอื ฝาย งบประมาณในการลงทนุ ปญ หาความขดั แยง
ระหวา งผใู ชน ้ำ ปญ หาสงั คม เศรษฐกจิ และการเมอื ง เปน ตน

26

คมู อื การกำหนดรปู แบบ กอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพฝายชะลอน้ำพอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

การเพิ่มประสิทธิภาพของฝายชะลอนำ้ ฯ หมายถึงการเพิ่มระบบสงน้ำท่ีเช่ือมตอ
กับตัวฝายโดยท่ีระบบสงน้ำเปนการสงน้ำตามแรงโนมถวงของโลก อาจเปนคูสงน้ำที่
ขุดแยกออกมาจากแหลงนำ้ เหนือฝาย เพื่อรับน้ำและสงนำ้ เขาไปในเขตการเพาะปลูก
ตองมีการวางแผน ออกแบบ กอสรางตามหลักวิชาการเพื่อไมใหเกิดผลกระทบใน
ดา นตา งๆ ทตี่ ามมา ระบบสง นำ้ อาจแบง ไดเ ปน 2 ประเภท คอื

1)ระบบคสู ง น้ำ แบง ออกเปน 2 ชนดิ คอื คดู นิ เปน คทู ข่ี ดุ ดนิ หรอื ถมดนิ ใหเ ปน
รปู คู คดู าด เปน คทู มี่ กี ารดาดผวิ คลองเปน เปลอื กดว ยวสั ดตุ า งๆ เชน คอนกรตี ลว น คอนกรตี
เสรมิ เหลก็ เพอื่ ไมใ หน ้ำรว่ั ออกจากคสู ง นำ้

คสู ง น้ำเปน คสู ง นำ้ ขนาดเลก็ หนา ตดั รปู สเ่ี หลยี่ มคางหมู ขนาดของปากคกู วา งไมเ กนิ
2.00 เมตร กนคูกวางไมเกิน 1.00 เมตร และความลึกไมเกิน 1.00 เมตร ระดับ
ทองคูตองอยูต่ำกวาระดับนำ้ เหนือฝายเทากับความลึกของคูสงน้ำ ทั้งน้ีขนาดคูสงนำ้
จะข้ึนกับความสูงของระดับนำ้ เหนือฝาย การกำหนดความลาดดานขางของคูสงน้ำ
ตองมีอัตราสวน 1 : 1.5 เปนอยางนอย เพ่ือปองกันการพังทลายของดินดานขางคู
แตถ า มกี ารดาดคดู ว ยคอนกรตี อาจทำใหม คี วามลาดดา นขา งเพมิ่ มากขนึ้ เปน 1 : 1 ได

ความกวา งและความลกึ ของคสู ง น้ำอาจมขี นาดเลก็ ลงตามความยาวของคู ความลาด
ตามความยาวของคูไมควรชันมาก ขึ้นกับลักษณะภูมิประเทศ วางไปตามแนวเสนช้ัน
ระดบั ของพนื้ ท่ี โดยมคี วามลาดเอยี งเฉลย่ี ประมาณ 1: 1,000 (ระยะทาง 1,000 เมตร
จะมคี วามตา งระดบั ลง 1 เมตร) เพอื่ ใหน ำ้ สามารถไหลไดส ะดวกและมคี วามเรว็ ไมส งู มาก
ปอ งกนั การกดั เซาะพงั ทลายของดนิ ขา งคู

รปู ตดั คดู นิ

27

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

รปู ตดั คดู าดคอนกรตี

2)ระบบทอ สง นำ้ ในกรณที ไ่ี มส ามารถดำเนนิ การขดุ เปน คสู ง นำ้ ไดอ าจพจิ ารณาใช
การสง น้ำแบบระบบทอ สง นำ้ ทดแทน สว นใหญม กั นยิ มใชท อ พวี ซี ี โดยใหม ขี นาด ความ
ยาว และทศิ ทางตามความตอ งการของพนื้ ทร่ี บั ประโยชน ระบบทอ สง นำ้ มหี ลกั เกณฑแ นว
ทางการพจิ ารณา ดงั นี้

2.1 ฝายตอ งมปี รมิ าณนำ้ ทกี่ กั เกบ็ ไวม ากพอกบั การสง นำ้ ใหพ นื้ ที่ โดยพจิ ารณาจาก
ปรมิ าณน้ำทไี่ หลผา นฝาย พน้ื ทกี่ กั เกบ็ และความลกึ เปรยี บเทยี บกบั ปรมิ าณ
น้ำทนี่ ำไปใชป ระโยชนก บั ราษฎร ทงั้ พน้ื ทเ่ี พาะปลกู และจำนวนครวั เรอื น

2.2 ระดับของน้ำเหนือฝายตองมีระดับสูงกวาระดับของพื้นที่สงน้ำไมนอยกวา 5
เมตร เพอื่ ใหน ำ้ มแี รงดนั เพยี งพอทจ่ี ะสง ผา นระบบทอ สง น้ำได

2.3 การวางทอสงน้ำจะมีความลาดเอียงหรือไมก็ได ความยาวทอสงนำ้ จะมีผล
ตอแรงดันน้ำในทอ ถาทอยาวมากตองมีความตางระดับประมาณ 10 เมตร
ตอ ความยาว 1 กโิ ลเมตร

2.4 การคำนวณหาความตอ งการใชน ำ้ สามารถหาไดจ าก ตารางท่ี 1 และ ขนาด
ทอ สง น้ำ ปรมิ าณน้ำทตี่ อ งการ (ลติ รตอ วนั ) ดงั แสดงในตารางที่ 2

ตารางท่ี 1 ตารางแสดงความตอ งการใชน ้ำตอ วนั

  

คน 100 ลติ ร / คน / วนั
ววั ควาย 50 ลติ ร / ตวั / วนั
หมู 20 ลติ ร / ตวั / วนั
ไก 0.5 ลติ ร / ตวั / วนั
ปลูกผักหนาแลง 7,000 ลติ ร / ไร / วนั
ปลูกขาวหนาแลง 13,000 ลติ ร / ไร / วนั

หมายเหตุ ทมี่ าคมู อื ปฏบิ ตั งิ านดา นจดั สรรนำ้ เลม ที่ 8 กรมชลประทาน

28

คมู อื การกำหนดรปู แบบ กอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา และเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

ตารางท่ี 2 ขนาดทอ และปรมิ าณนำ้ ทส่ี ามารถสง ตอ วนั

                   

ขนาดเสนผาศูนยกลาง ลิตรตอวัน
ทอ (ม.) 656,640
O 0.10 1,909,440
O 0.15 4,104,000
O 0.20 7,344,000
O 0.25 11,854,080
O 0.30 17,720,640
O 0.35 25,168,320
O 0.40

หมายเหตุ การคำนวณปรมิ าณน้ำคดิ จากการใชท อ PVC ชนั้ 8.5 ระดบั นำ้ สงู กวา ระดบั
พนื้ ทสี่ ง น้ำประมาณ 10 เมตร ตอ ความยาวทอ สง น้ำ 1 กโิ ลเมตร

ฝายชะลอนำ้ ฯ ประเภทถาวร อาจพจิ ารณาใหเ พม่ิ ระดบั สนั ฝายขนึ้ เพอื่ ใหส ามารถ
กกั เกบ็ น้ำไดเ พม่ิ มากขน้ึ หรอื อาจจะทำสนั ฝายใหม ลี กั ษณะเปน ชอ งลดระดบั เพอื่ สามารถ
ปรบั ระดบั สนั เพอ่ื การเพมิ่ /ลดการกกั เกบ็ น้ำใหเ หมาะสมในแตล ะฤดกู าล โดยใชแ ผน ไม
เสยี บลงในรอ งทเ่ี ตรยี มไว ดงั แสดงในรปู

สำหรบั โครงการกอ สรา ง ปรบั ปรงุ ซอ มแซม บำรงุ รกั ษา และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพของ
ฝายชะลอน้ำพอเพียงตามแนวพระราชดำริ ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณ
ของโครงการขับเคล่ือนยุทธศาสตรการพัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในภาค
การเกษตรและชนบท มีขั้นตอนดำเนินการตามที่สถาบันสงเสริมและพัฒนากิจกรรม
ปด ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ ตามแบบฟอรม การเสนอโครงการดา นพฒั นา
แหลง น้ำและ 8 ขนั้ ตอน การกอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ
ฝายชะลอน้ำพอเพยี งตามแนวพระราชดำริ ดรู ายละเอยี ดในภาคผนวก

29

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

บรรณานกุ รม

ประดบั เขม็ กลดั เพชร. 2548. คมู อื ฝายตน นำ้ ลำธาร ศนู ยศ กึ ษาการพฒั นาหว ยฮอ งไคร
อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำริ สำนกั ชลประทานท่ี 1 กรมชลประทาน

สว นจดั การทรพั ยากรตน น้ำ สำนกั อนรุ กั ษแ ละจดั การตน นำ้ กรมอทุ ยานแหง ชาตสิ ตั วป า
และพนั ธพ ชื . 2550. คมู อื การกอ สรางฝายตน นำ้ ลำธาร (CHECK DAM)

สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
(สำนกั งาน กปร.). 2555. หนงั สอื ชดุ จอมปราชญแ หง การพฒั นา ชะลอน้ำ : เพมิ่
ความชมุ ชน้ื

มลู นธิ แิ มฟ า หลวง ในพระบรมราชปู ถมั ภ. มถิ นุ ายน 2556. แนวทางการพฒั นาตามตำรา
แมฟ า หลวง เรอื่ ง การบรหิ ารจดั การนำ้

ศนู ยอ าสาบรรเทาภยั แลง โครงการกอ สรา ง สำนกั งานชลประทานท่ี 6 กรมชลประทาน
กระทรวงเกษตรและสหกรณ. 2558. ฝายชะลอน้ำตามวธิ ปี ระชารฐั

30

คมู อื การกำหนดรปู แบบ กอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

ภาคผนวก

ผ1 คำสงั่ สำนกั นายกรฐั มนตรี ที่ 140/2557 เรอื่ ง แตง ตง้ั คณะกรรมการอำนวย
การขับเคล่ือนยุทธศาสตรการบูรณาการการพัฒนาตามปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ผ2 คำสงั่ คณะกรรมการอำนวยการขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตรก ารบรู ณาการ การ
พัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่ี 1/2557 เรื่อง แตงตั้ง
คณะอนุกรรมการสงเสริมการขับเคล่ือนการพัฒนาตามปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง ในภาคการเกษตรและชนบท

ผ3 การประยกุ ตร ปู แบบของฝายชะลอน้ำพอเพยี งตามแนวพระราชดำริ
ผ4 "8 ขน้ั ตอน การกอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ

ฝายชะลอนำ้ พอเพียง ตามแนวพระราชดำริ" โดยสถาบันสงเสริมและ
พฒั นากจิ กรรมปด ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ
ผ5 การคดิ คา ความลาดชนั ของพน้ื ท่ี และวธิ กี ารคำนวณปรมิ าณนำ้ ในลำน้ำ
โดยประมาณ
ผ6 การประมาณราคาคา กอ สรา งฝายชะลอน้ำฯ ประเภทตา งๆ

31

ผ1กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

32

คมู อื การกำหนดรปู แบบ กอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพฝายชะลอน้ำพอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

33

ผ2กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

34

คมู อื การกำหนดรปู แบบ กอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพฝายชะลอน้ำพอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

35

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

36

คมู อื การกำหนดรปู แบบ กอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

ผ3ของฝายชะลอน้ำพอกเพายีรงปตระายมกุ แตนร วปูพแรบะรบาชดำริ

การประยุกตรูปแบบของฝายชะลอน้ำพอเพียงตามแนวพระราชดำริ ที่ใชในการ
กอ สรา งในปจ จบุ นั มกี ารประยกุ ตใ ชร ปู แบบใหเ หมาะสมกบั สภาพพนื้ ที่ แหลง วสั ดใุ นการ
กอ สรา ง รวมถงึ ภมู ปิ ญ ญาทอ งถนิ่ และการบรู ณาการรว มมอื รว มใจของภาครฐั องคก ร
ตา งๆ ภาคเอกชน และประชาชน ในพนื้ ทต่ี า งๆ ของประเทศ สรปุ ไดพ อสงั เขป ดงั นี้

1) ฝายชะลอน้ำวิธีประชารัฐ ศูนยบรรเทาภัยแลง โครงการกอสรางสำนักงาน
ชลประทานที่ 6 กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ จำนวน 7 แบบ

- แบบท่ี 1 ฝายชะลอน้ำวธิ ปี ระชารฐั แบบพอเพยี ง (สนั เดยี ว/คนั แทนา)
ฐานรากเปน ดนิ

- แบบท่ี 2 ฝายชะลอนำ้ วธิ ปี ระชารฐั แบบพอเพยี ง (สนั เดยี ว/คนั แทนา)
ฐานรากเปนหิน

- แบบท่ี 3 ฝายชะลอนำ้ วธิ ปี ระชารฐั แบบพอเพยี ง (สนั เดยี ว/คนั แทนา)
ฐานรากวางบนดนิ และมที างขา ม

- แบบท่ี 4 ฝายชะลอน้ำวธิ ปี ระชารฐั แบบประหยดั และเรง ดว น
ทม่ี ฐี านรากเปน ดนิ

- แบบที่ 5 ฝายชะลอน้ำวธิ ปี ระชารฐั แบบยงั่ ยนื (หลายสนั )
ท่ีมฐี านรากวางบนดนิ

- แบบที่ 6 ฝายชะลอนำ้ วธิ ปี ระชารฐั แบบพอเพยี ง (หลายสนั )
ฐานรากเปนหิน

- แบบที่ 7 ฝายชะลอนำ้ วธิ ปี ระชารฐั แบบยง่ั ยนื (หลายสนั ) ฐานรากเปน ดนิ
และมที างขา ม

37

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

รูปแบบและขั้นตอนการกอสราง สามารถประสานขอรับขอมูลไดโดยตรงจาก
โครงการกอ สรา ง สำนกั งานชลประทานที่ 6 จงั หวดั ขอนแกน โทร. 043-221798

2) ฝายชะลอนำ้ แกนดนิ เหนยี ว เปน ฝายแกนดนิ เหนยี วใตพ นื้ ทราย เปน การพฒั นา
แหลงน้ำเชิงอนุรักษ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อชะลอและกักเก็บน้ำใหขังใตพื้นทรายใน
ลำหวย หรือคลองธรรมชาติ ที่มีช้ันทรายลึกและชั้นถัดไปเปนดินดานหรือช้ันหิน
เหมาะกบั สภาพภมู ปิ ระเทศทมี่ ปี ญ หาไมม นี ำ้ ไหลในชว งฤดแู ลง รปู แบบ และวธิ กี ารกอ สรา ง
สามารถประสานขอรับขอมูลไดโดยตรงจาก โครงการชลประทานตาก จังหวัดตาก
โทร. 055-893594

.3) ฝายมชี วี ติ
ฝายมชี วี ติ ตำบลละอาย อ.ฉวาง จ.นครศรธี รรมราช

ฝายมีชีวิตตำบลละอาย เปนฝายก่ึงถาวรท่ีใชไมไผและกระสอบทรายมาใช โดย
การนำไมไผมาปกลงพื้นลำหวยเปนแบบตารางหมากรุก ผูกรัดยึดโยงใหมีความกวาง
ความยาวที่เหมาะสมในการบรรจุกระสอบทรายลงไปใหมีความสูงเทาไมไผท่ีปกลงไป

38

คมู อื การกำหนดรปู แบบ กอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา และเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

สำหรบั ดา นหนา และดา นหลงั ฝายปก ไมไ ผล งลดหลน่ั เปน ขน้ั บนั ได แลว เรยี งกระสอบทราย

.ระหวา งขนั้ บนั ได ปลกู ตน ไมบ รเิ วณหชู า ง เชน ตน ไทร เพอ่ื ใหร ากจากตน ไมก ลายเปน

โครงสรางฝายในอนาตค
4) ฝายชะลอน้ำประยกุ ตก งึ่ ถาวร
ฝายชะลอน้ำบา นทงุ ศรี อ.รอ งกวาง จ.แพร

ฝายชะลอน้ำบานทุงศรี เปนการประยุกตโดยใชเสาคอนกรีตมาปกลงพื้นลำหวย

.แนวขวางและขงึ ตะแกรงตาขา ยระหวา งเสาคอนกรตี ลกั ษณะเปน แบบฝายคอกหมู แลว

นำหนิ ทมี่ ตี ามทอ งลำหว ยหรอื บรเิ วณใกลเ คยี งมาเรยี งใสใ หม คี วามสงู เทา กบั เสาคอนกรตี
จากนน้ั ค้ำยนั ดว ยหนิ ดา นหนา และดา นหลงั ฝายดว ยหนิ อกี ครง้ั เพอ่ื ใหม คี วามมนั่ คงมากขน้ึ

ฝายชะลอน้ำบา นบงึ หลม อ.บอ พลอย จ.กาญจนบรุ ี

ฝายชะลอนำ้ บา นบงึ หลม เปน การประยกุ ตโ ดยใชอ ฐิ บลอ็ กนำมากอ เปน เปน กลอ งแลว
น้ำดนิ มาใสบ ดอดั ใหแ นน เสรจ็ แลว เททบั ดว ยคอนกรตี สำหรบั ชอ งกลางฝายนน้ั ทำเปน
ชอ งเปด สามารถใสแ ผน ไมเ พอ่ื ทดนำ้ ใหไ หลปรมิ าณมากนอ ยตามตอ งการ

39

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

.ฝายชะลอนำ้ บา นทรายขาว อ.วงั สะพงุ จ.เลย

ฝายชะลอนำ้ บานทรายขาว เปนการประยุกตใชยางรถยนตที่ไมใชแลวน้ำมา
เรียงซอนกันเปนชั้นๆ โดยเติมดินลงในชองวางของยางรถยนตแลวใชทอนไมมาเสียบ
ยดึ ลงเพอ่ื ไมใ หย างรถยนตเ ลอื่ นไปตามนำ้ เมอื่ น้ำไหลผา นตวั ฝายแลว กดั เซาะผวิ หนา ดนิ
ทอี่ ดั ในลอ ยาง

40

คมู อื การกำหนดรปู แบบ กอ สรา ง ซอ มปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษา และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพฝายชะลอนำ้ พอเพยี งตามแนวพระราชดำริ

ผ4

41

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

42


Click to View FlipBook Version