๕๐
หลกั สูตรกลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาตา่ งประเทศ
คาอธบิ ายรายวชิ าภาษาองั กฤษ ๖
รายวิชาพน้ื ฐาน กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
รหสั อ๒๓๑๐๒ ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๓
จานวน ๑.๕ หน่วย เวลา ๓ ช่ัวโมง / สัปดาห์
เวลา ๖๐ ชั่วโมง/ ภาคเรียน ภาคเรียนที่ ๒
#####################################################################################
พดู และเขียนบรรยายเก่ียวกบั ตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ / เรื่อง/ ประเด็นต่างๆ ทอ่ี ยใู่ น
ความสนใจของสงั คมพูดและเขียนสรุปใจความสาคญั /แกน่ สาระ หวั ขอ้ เรื่องท่ีไดจ้ ากการวเิ คราะห์เรื่อง/ข่าว/
เหตุการณ์/ สถานการณท์ ่อี ยใู่ นความสนใจของสังคมพูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั กิจกรรม
ประสบการณ์ และเหตุการณ์ พร้อมท้งั ใหเ้ หตผุ ลประกอบเลอื กใชภ้ าษา น้าเสียง และกิริยาทา่ ทาง เหมาะกบั
บคุ คลและโอกาส ตามมารยาทสงั คม และวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษาอธิบายเกี่ยวกบั ชีวิตความเป็นอยู่
ขนบธรรมเนียมและประเพณีของเจา้ ของภาษาเขา้ ร่วม/จดั กิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรมตามความสนใจ
เปรียบเทียบและอธิบายความเหมอื นและความแตกตา่ งระหวา่ งการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ และการ
ลาดบั คาตามโครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทยเปรียบเทียบและอธิบายความเหมือนและ
ความแตกตา่ งระหว่างชีวติ ความเป็นอยแู่ ละวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษากบั ของไทย และนาไปใชอ้ ยา่ ง
เหมาะสมคน้ ควา้ รวบรวม และสรุปขอ้ มูล/ ขอ้ เท็จจริงทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั กล่มุ สาระการเรียนรู้อื่นจากแหลง่ เรียนรู้
และนาเสนอดว้ ยการพูดและการเขียนใชภ้ าษาส่ือสารในสถานการณ์จริง/สถานการณจ์ าลองทเี่ กิดข้ึนใน
หอ้ งเรียน สถานศกึ ษา ชุมชน และสงั คม
กระบวนการทกั ษะทางภาษา ตีความ วิเคราะหอ์ ธิบาย บรรยาย แลกเปล่ยี นความรู้ นาเสนอขอ้ มลู
การเขา้ ร่วมกิจกรรม สืบคน้ ขอ้ มูล บรู ณาการเน้ือหาสาระกบั กลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืนๆ และแนวความคิดตาม
หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เห็นคณุ คา่ ของการนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจาวนั ตามแนวความคิดหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจ
พอเพียง มีเจตคตทิ ี่ดีตอ่ การเรียนรู้ภาษา มีคุณธรรมจริยธรรม คา่ นิยมทพี่ งึ ประสงค์
รหสั ตวั ชีว้ ดั
ต๑.๓ ม๓/๑ - ม๓/๓
ต๒.๑ ม๓/๑ – ม๓/๓
ต๒.๒ ม๓/๑ – ม๓/๒
ต๓.๑ ม๓๑/๑
ต๔.๑ ม๓/๑
รวม ๑๐ ตัวชี้วดั สดั ส่วนคะแนน คะแนนเก็บ : กลางภาค : ปลายภาค = ๕๐ : ๒๐ : ๓๐
โรงเรียนชอ่ งแคพิทยาคม ตาบลชอ่ งแค อาเภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค์
๕๑
หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ
ตวั ชวี้ ัด รายวชิ าภาษาองั กฤษ ๖ อ๒๓๑๐๒
๑. พูดและเขยี นบรรยายเกีย่ วกบั ตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตกุ ารณ์ /เรื่อง/ ประเดน็ ตา่ งๆ ทอ่ี ยู่
ในความสนใจ ของสงั คม (ต๑.๓ ม๓/๑)
๒. พดู และเขยี นสรุปใจความสำคัญ/แก่นสาระ หวั ข้อเรอ่ื งท่ีไดจ้ ากการวิเคราะห์เร่ือง/ข่าว/เหตุการณ์/
สถานการณท์ ี่อยู่ในความสนใจของสังคม (ต๑.๓ ม๓/๒)
๓. พูดและเขียนแสดงความคดิ เห็นเกยี่ วกับกิจกรรม ประสบการณ์ และเหตกุ ารณ์ พร้อมทั้งให้เหตุผล
ประกอบ (ต๑.๓ ม๓/๓)
๔. เลือกใชภ้ าษา นำ้ เสียง และกริ ิยาทา่ ทาง เหมาะกับบุคคลและโอกาส ตามมารยาทสังคม และ
วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา (ต๒.๑ ม๓/๑)
๕. อธิบายเก่ียวกบั ชีวิตความเปน็ อยู่ ขนบธรรมเนียมและประเพณีของเจา้ ของภาษา (ต๒.๑ ม๓/๒)
๖. เขา้ รว่ ม/จัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ (ต๒.๑ ม๓/๓)
๗. เปรยี บเทยี บและอธิบายความเหมือนและความแตกตา่ งระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดตา่ งๆ
และการลำดับคำตามโครงสรา้ งประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย (ต๒.๒ ม๓/๑)
๘. เปรยี บเทยี บและอธบิ ายความเหมือนและความแตกตา่ งระหวา่ งชวี ติ ความเปน็ อย่แู ละวัฒนธรรมของ
เจา้ ของภาษากบั ของไทย และนำไปใช้อยา่ งเหมาะสม (ต๒.๒ ม๓/๒)
๙. ค้นคว้า รวบรวม และสรปุ ข้อมูล/ ขอ้ เท็จจรงิ ท่ีเก่ียวข้องกบั กลุ่มสาระการเรยี นรู้อื่นจากแหล่งเรยี นรู้
และนำเสนอดว้ ยการพูดและการเขยี น (ต๓.๑ ม๓/๑)
๑๐. ใชภ้ าษาส่อื สารในสถานการณ์จริง/สถานการณจ์ ำลองที่เกดิ ข้ึนในหอ้ งเรยี น สถานศกึ ษา ชมุ ชน
และสังคม (ต๔.๑ ม๓/๑)
โรงเรียนช่องแคพทิ ยาคม ตาบลช่องแค อาเภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค์
๕๒
หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ
โครงสรา้ งรายวชิ า
รายวิชาภาษาอังกฤษ ๖ อ๒๓๑๐๒
สดั ส่วนคะแนน คะแนนเกบ็ : กลางภาค : ปลายภาค = ๕๐ : ๒๐ : ๓๐
หน่วยการ มาตรฐาน/ สาระการเรยี นรู้ เวลา คะแนน
เรียนรู้ ตัวช้ีวัด (ชม.)
๑. ต๑.๓ ประโยคการบรรยายเกี่ยวกบั ตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/ ๖ ๕
Tourism ม๓/๑ เหตุการณ์/ประเด็นทีอ่ ยใู่ นความสนใจของสงั คม เช่น การ
เดินทาง การรับประทานอาหาร การเล่นกีฬา/ดนตรี การฟัง
เพลง การอ่านหนงั สือ การท่องเท่ียว การศกึ ษา สภาพ
สงั คม เศรษฐกิจ
๒. ต๑.๓ การจบั ใจความสาคญั /แก่นสาระ หัวขอ้ เร่ือง ๖๕
Game ม๓/๒ การวิเคราะห์เร่ือง/ขา่ ว/เหตกุ ารณ์/สถานการณท์ ีอ่ ยใู่ นความ
สนใจ เช่น ประสบการณ์ เหตกุ ารณ์ สถานการณ์ต่างๆ
ภาพยนตร์ กีฬา ดนตรี เพลง เกมส์
๓. ต๑.๓ การแสดงความคิดเห็น และการให้เหตุผลประกอบเกี่ยวกบั ๖ ๕
Experience ม๓/๓ กิจกรรม ประสบการณ์ และเหตกุ ารณ์
๔. ต๒.๑ การเลอื กใชภ้ าษา น้าเสียง และกิริยาทา่ ทางในการสนทนา ๖ ๕
Blessing ม๓/๑ ตามมารยาทสงั คมและวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา เช่น
การขอบคุณ ขอโทษ การชมเชย การใชส้ ีหนา้ ทา่ ทาง
ประกอบ การพูด ขณะแนะนาตนเอง การสมั ผสั มือ การ
โบกมอื การแสดงความ รู้สึกชอบ/ไม่ชอบ การกลา่ วอวยพร
การแสดงอาการตอบรบั หรือปฏิเสธ
๕. ต๒.๑ ชีวติ ความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและประเพณีของเจา้ ของ ๖ ๕
U.S.A ๒๐
ม๓/๒ ภาษา ๕
๖.
Storytelling สอบกลางภาค ๑ ๕
๗. ต๒.๑ กิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรม เช่น การเลน่ เกม การร้อง ๖
Language
ม๓/๓ เพลง การเล่านิทาน บทบาทสมมุติ วนั ขอบคณุ พระเจา้ วนั
คริสตม์ าส วนั ข้ึนปี ใหม่ วนั วาเลนไทน์
ต๒.๒ การเปรียบเทียบและการอธิบายความเหมอื น/ความแตกตา่ ง ๖
ม๓/๑ ระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดตา่ งๆ ของเจา้ ของภาษา
โรงเรียนชอ่ งแคพทิ ยาคม ตาบลช่องแค อาเภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค์
๕๓
หลกั สูตรกลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ
differences กบั ของไทย การใชเ้ คร่ืองหมายวรรคตอนและการลาดบั คา
๘. ตามโครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย
Culture
ต๒.๒ การเปรียบเทยี บและการอธิบายความเหมอื นและความ ๖๕
๙.
Searching ม๓/๒ แตกต่างระหวา่ งชีวิตความเป็นอยแู่ ละวฒั นธรรมของ
๑๐. เจา้ ของภาษากบั ของไทย การนาวฒั นธรรมของเจา้ ของ
Present
ภาษาไปใช้
ต๓.๑ การคน้ ควา้ การรวบรวม การสรุป และการนาเสนอขอ้ มลู / ๖ ๕
ม๓/๑ ขอ้ เทจ็ จริงท่ีเก่ียวขอ้ งกบั กลมุ่ สาระการเรียนรู้อืน่
ต๔.๑ การใชภ้ าษาสื่อสารในสถานการณจ์ ริง/สถานการณจ์ าลองท่ี ๖ ๕
ม๓/๑ เกิดข้ึนในห้องเรียนและสถานศกึ ษา
สอบปลายภาค ๑ ๓๐
รวม ๖๐ ๑๐๐
โรงเรียนชอ่ งแคพิทยาคม ตาบลช่องแค อาเภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค์
๕๔
หลกั สูตรกลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ
คาอธิบายรายวิชาเพิม่
กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น
โรงเรียนชอ่ งแคพิทยาคม ตาบลช่องแค อาเภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค์
๕๕
หลกั สูตรกล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
คาอธิบายรายวชิ าภาษาองั กฤษฟัง – พูด ๑
รายวชิ าเพิ่มเตมิ กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
รหัส อ๒๐๒๐๑ ช้ันมธั ยมศึกษาตอนต้น
จานวน ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน เวลา ๒ ช่ัวโมง / สัปดาห์
#####################################################################################
ศึกษาวิเคราะห์ คาส่ัง คาขอร้อง คาแนะนา คาช้ีแจงง่ายๆ ส่ือท่ไี ม่ใช่ความเรียง บทสนทนา ขอ้ มลู
เก่ียวกบั ตนเอง กิจกรรมและสถานการณ์ต่างๆ ในชีวติ ประจาวนั ความตอ้ งการขอความช่วยเหลือ การตอบรับ
และปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือ กิจวตั รประจาวนั ประสบการณแ์ ละส่ิงแวดลอ้ มใกลต้ วั เหตุการณ์ทอี่ ยใู่ น
ความสนใจของสงั คม เทศกาลวนั สาคญั และประเพณีของเจา้ ของภาษา
กระบวนการทกั ษะทางภาษา ตีความ แลกเปลย่ี นความรู้ นาเสนอขอ้ มลู การเขา้ ร่วมกิจกรรม เพอ่ื ให้
เกิดความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ เห็นคณุ คา่ ของการนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจาวนั และมเี จตคติที่
ดีต่อการเรียนรู้ภาษา
ผลการเรียนรู้
1. รู้และเขา้ ใจคาส่งั คาขอร้อง คาแนะนาและคาช้แี จงง่ายๆ
2. มที กั ษะการส่ือสารทางภาษาในการแลกเปลยี่ นขอ้ มลู เก่ียวกบั ตนเอง กิจวตั รประจาวนั
ประสบการณแ์ ละส่ิงแวดลอ้ มใกลต้ วั
3. รู้และเขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหว่างภาษากบั วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษาและการนาไปใช้
โรงเรียนชอ่ งแคพทิ ยาคม ตาบลชอ่ งแค อาเภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค์
๕๖
หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ
คาอธิบายรายวชิ าภาษาอังกฤษฟัง – พดู ๒
รายวิชาเพ่ิมเติม กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
รหสั อ๒๐๒๐๒ ช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น
จานวน ๔๐ ช่ัวโมง/ภาคเรียน เวลา ๒ ช่ัวโมง / สัปดาห์
#####################################################################################
ฝึกทกั ษะการฟังจากสื่อทหี่ ลากหลายในชีวติ จริง ฝึกทกั ษะการพูดในสถานการณ์จริงและ
สถานการณจ์ าลอง เพอ่ื ให้ผูเ้ รียนพฒั นาทกั ษะการส่ือสาร ใชภ้ าษาองั กฤษไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ ถูกตอ้ งและ
เหมาะสมกบั ระดบั ช้นั เรียน
ผลการเรียนรู้
๑. รู้มที กั ษะพ้ืนฐานเบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั การพดู ในสถานการณ์จริงง่าย ๆ
๒. ฟัง คา วลี ประโยค ขอ้ ความส้นั ๆ แลว้ สรุปความ และพูดโตต้ อบ เพอ่ื แสดงความคดิ เห็น
เก่ียวกบั เร่ืองที่ฟังได้
๓. รู้ฟังบทความส้ัน ๆ แลว้ ตอบคาถามได้
๔. พูดบรรยายความรู้สึกส่วนตวั ประสบการณ์ เลา่ เรื่องเหตกุ ารณต์ ่างๆ ใน
สถานการณต์ ่าง ๆ ได้
๕. ฟังและพูดโตต้ อบในชีวติ ประจาวนั ได้
โรงเรียนชอ่ งแคพทิ ยาคม ตาบลช่องแค อาเภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค์
๕๗
หลกั สูตรกลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ
คาอธบิ ายรายวชิ าภาษาอังกฤษฟัง – พูด ๓
รายวิชาเพ่ิมเติม กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
รหสั อ๒๐๒๐๓ ช้ันมธั ยมศึกษาตอนต้น
จานวน ๔๐ หน่วย เวลา ๒ ชั่วโมง / สัปดาห์
#####################################################################################
ฟังบทสนทนาและขอ้ ความส้ันๆ แลว้ จบั ใจความ และพดบู อกรายละเอียดและสรุปประเดน็
สาคญั ไดอ้ า่ นออกเสียงบทสนทนาถูกตอ้ งตามหลกั การอา่ น ใชภ้ าษาและโครงสร้างทางไวยากรณ์ในการพูดโต้
ตอบในสถานการณท์ ีÉแตกตา่ งหลากหลายโดยใชภ้ าษา นาเสนอ กิริยาท่าทางท่ีเหมาะสมตามมารยาททาง
สังคมและวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา เช่น พูดทกั ทายพดู ให้ขอ้ มลู ส่วนบคุ คล พดู ถามและให้ขอ้ มูลเก่ียวกบั
ส่ิงของ เหตกุ ารณแ์ ละความบนั เทงิ พดู เช้ือเชิญ พูดคยุ เก่ียวกบั บคุ ลกิ ภาพความสามารถและความสนใจของ
บุคคล เหตการณ์ขอ้ มลู ส่วนบคุ คลในอดีต ใชค้ าศพั ทใ์ นการพูดเก่ียวกบั วิถถี ชี ีวติ ในอดีต และการเปล่ียนแปลง
รูปลกั ษณะส่วนบคคลผฝู้ ึกการใชภ้ าษาในการเรียบเรียงลาดบั การเกิดของเหตุการณต์ ่างๆ ใชค้ าศพั ทโ์ ครงสร้าง
ภาษาในการสรุปความคดิ เห็น
ผลการเรียนรู้
๑. อ่านออกเสียงพยญั ชนะ คา กลุ่มคา บทสนทนาไดถ้ ูกตอ้ งตามหลกั การออกเสียง
๒. พูดสนทนาโตต้ อบ แลกเปล่ียนขอ้ มลู บรรยายเกี่ยวกบั ตวั เลข เวลา วนั เดือน ปี ตาแหน่งท่ีต้งั
ทิศทาง สี บรรยาย สถานการณใ์ นชีวิตประจาํ วนั ต่าง
บคุ คล กิจวตั รประจาวนั การแนะนาตนเองและผี้ ูอืÉน
๓. รู้และเขา้ ใจความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งภาษากบั วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษาและการนาไปใช้
โรงเรียนช่องแคพิทยาคม ตาบลช่องแค อาเภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค์
๕๘
หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ
แนวการวดั ผลและประเมินผล
กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
โรงเรียนชอ่ งแคพทิ ยาคม ตาบลช่องแค อาเภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค์
๕๙
หลกั สูตรกลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
หลักการดาเนินการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ขอ้ ๑ โรงเรียนเป็นผรู้ ับผิดชอบการวดั และการประเมินผลการเรียนรู้ของผูเ้ รียน โดยเปิ ดโอกาสให้ผูท้ ี่
เก่ียวขอ้ งมีส่วน ร่วม
ขอ้ ๒ การวดั และการประเมินผลการเรียนรู้ มีจุดมุ่งหมายเพอ่ื พฒั นาผเู้ รียน และตดั สินผลการเรียน
ขอ้ ๓ การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ตอ้ งสอดคลอ้ งและครอบคลมุ มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้ีวดั
ตามกลมุ่ สาระการเรียนรู้ที่กาหนดในหลกั สูตรโรงเรียน และจดั ใหม้ ีการประเมินการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และ
เขียน คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ตลอดจนกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน
ขอ้ ๔ การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้เป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการจดั การเรียนการสอน
ตอ้ งดาเนินการดว้ ยเทคนิควธิ ีการที่หลากหลาย เพือ่ ให้สามารถวดั และประเมินผลผูเ้ รียนไดอ้ ยา่ งรอบดา้ นท้งั
ดา้ นความรู้ ความคิด กระบวนการ พฤติกรรมและเจตคติ เหมาะสมกบั ส่ิงทต่ี อ้ งการวดั ธรรมชาตวิ ิชา และ
ระดบั ช้นั ของผูเ้ รียน โดยต้งั อยบู่ นพ้ืนฐานความเทีย่ งตรง ยตุ ธิ รรม และเช่ือถอื ได้
ขอ้ ๕ การประเมินผูเ้ รียนพิจารณาจากพฒั นาการของผเู้ รียน ความประพฤติ การสงั เกตพฤตกิ รรมการ
เรียนรู้ การร่วมกิจกรรมและการทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอน ตามความเหมาะสมของแต่ละ
ระดบั และรูปแบบการศึกษา
ขอ้ ๖ เปิ ดโอกาสให้ผูเ้ รียนและผมู้ สี ่วนเกี่ยวขอ้ งตรวจสอบผลการประเมนิ ผลการเรียนรู้
ขอ้ ๗ ใหม้ ีการเทียบโอนผลการเรียนระหว่างโรงเรียนและรูปแบบการศึกษาต่าง ๆ
ขอ้ ๘ ให้โรงเรียนจดั ทาเอกสารหลกั ฐานการศึกษา เพ่ือเป็นหลกั ฐานการประเมินผลการเรียนรู้
รายงานผลการเรียน แสดงวุฒิการศึกษาและรับรองผลการเรียนของผเู้ รียน
โรงเรียนช่องแคพิทยาคม ตาบลชอ่ งแค อาเภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค์
๖๐
หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
วิธีการวดั และประเมินผลการเรียน
การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช
๒๕๕๑ ประกอบดว้ ย การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ตามกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ การวดั และ
ประเมนิ ผลการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน การวดั และประเมินผลคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และการวดั
และประเมินผลกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน
ข้อ ๙ การวดั และการประเมินผลการเรียนตามกล่มุ สาระการเรยี นรู้ ๘ กล่มุ สาระ
โรงเรียนดาเนินการวดั และประเมินผลในลกั ษณะตา่ ง ๆ ดงั น้ี
๙.๑ ครูผสู้ อนตอ้ งแจง้ มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั วิธีการวดั และประเมนิ ผล
เกณฑข์ ้นั ต่าของการผ่านในรายวิชาน้นั ๆ ให้ผูเ้ รียนทราบ
๙.๒ การประเมนิ ผลกอ่ นเรียน เป็นการตรวจสอบความรู้พ้ืนฐานของ
ผูเ้ รียนในเบ้อื งตน้ เพอื่ นาไปจดั กระบวนการเรียนรู้ใหส้ อดคลอ้ งกบั พ้นื ฐานของผเู้ รียนตามแนวทางการจดั การ
เรียนรู้ที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั และคะแนนวดั ผลก่อนเรียนไม่มผี ลตอ่ การตดั สินผลการเรียน
๙.๓ การประเมนิ ผลระหว่างเรียน เป็นการตรวจสอบพฒั นาการเรียนรู้
ของผเู้ รียน เพ่ือปรบั ปรุงแกไ้ ขขอ้ บกพร่องของผเู้ รียนและส่งเสริมผเู้ รียนให้มคี วามรู้ความสามารถเกิด
พฒั นาการสูงสุดตามศกั ยภาพของตน และตอ้ งใหค้ วามสาคญั การประเมนิ ระหวา่ งเรียนมากกวา่ การประเมิน
ปลายภาค
๙.๔ การประเมนิ ผลหลงั เรียน เป็นการตรวจสอบความสาเร็จและพฒั นาการของ
ผเู้ รียน ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั
๙.๕ การประเมินผลปลายภาคเรียน เป็นการประเมินเพอื่ ตรวจสอบผลการเรียนรู้
ของผเู้ รียนในการเรียนรู้รายวิชาตา่ ง ๆ ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั
เมือ่ วดั ผลปลายภาคเรียนแลว้ ใหน้ าคะแนนการประเมินท้งั หมดมารวมกนั
เพ่ือสรุปผลการเรียนเป็นผลสมั ฤทธ์ิรายวิชาของผเู้ รียน
การกาหนดสดั ส่วนคะแนนระหว่างเรียนกบั คะแนนปลายภาคเรียนข้นึ อยกู่ บั ลกั ษณะ
ธรรมชาติของรายวิชา ซ่ึงเป็นคะแนนระหว่างภาคเรียน : ปลายภาคเรียน เทา่ กบั ๗๐ : ๓๐ หรือ
คะแนนเก็บรายจุดประสงค์ : คะแนนกลางภาค : คะแนนปลายภาค = ๕o : ๒O : ๓O
๙.๖ เลือกวิธีการวดั และประเมินผลทีส่ ะทอ้ นความรู้ความสามารถที่แทจ้ ริงของ
ผเู้ รียนและประเมนิ อยา่ งต่อเน่ืองไปพร้อมกบั การจดั การเรียนการสอนโดยสังเกตพฒั นาการและความประพฤติ
ของผเู้ รียน สังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม ผสู้ อนควรเนน้ การประเมนิ ตามสภาพจริง เช่น
๙ .๖.๑ ประเมนิ ผลดว้ ยการตอบคาถาม การสอบปากเปลา่ การทาใบงาน
และแบบฝึกทกั ษะ
โรงเรียนชอ่ งแคพทิ ยาคม ตาบลช่องแค อาเภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค์
๖๑
หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
๙.๖.๒ ประเมินผลจากการปฏิบตั ิ เช่น การมอบหมายชิ้นงาน
๙.๖.๓ ประเมินผลจากงานหรือกิจกรรมทีป่ ฏิบตั ิ
๙.๖.๔ ประเมินผลจากแฟ้มสะสมงาน
๙.๖.๕ ประเมนิ ผลจากการทดสอบ
ข้อ ๑O การวัดและประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขยี น เป็นการประเมนิ ศกั ยภาพของผเู้ รียนในการ
อ่านหนงั สือ เอกสาร และสื่อต่าง ๆ เพ่ือหาความรู้ เพมิ่ พนู ประสบการณ์ เพ่ือความสุนทรียแ์ ละประยกุ ตใ์ ช้ แลว้
นามาคิดวิเคราะห์เน้ือหาสาระที่อา่ นนาไปสู่การแสดงความคิดเห็น การสังเคราะห์ สร้างสรรค์ การแกป้ ัญหาในเรื่อง
ตา่ ง ๆ และถ่ายทอดความคดิ น้นั ดว้ ยการเขียนทมี่ ีสานวนภาษาถูกตอ้ ง มีเหตผุ ลและลาดบั ข้นั ตอนในการ
นาเสนอ สามารถสร้างความเขา้ ใจแก่ผอู้ ่านไดอ้ ยา่ งชดั เจนตามระดบั ความสามารถในแตล่ ะระดบั ช้นั
การประเมนิ การอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี น โรงเรียนตอ้ งดาเนินการอยา่ งต่อเนื่องและสรุปผล
เป็น รายภาค เพื่อวินิจฉัยและใชเ้ ป็นขอ้ มูลในการพฒั นาผูเ้ รียนและประเมนิ การเลอ่ื นช้นั เรียน ตลอดจนการจบ
การศึกษาระดบั ตา่ ง ๆ การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียนเป็นกระบวนการทต่ี ่อเน่ือง ดงั น้ี
อ่าน (รับสาร) หนงั สือ เอกสาร โทรทศั น์ อินเทอร์เนต็ สื่อตา่ ง ๆ ฯลฯ
แลว้ สรุปเป็นความรู้ความเขา้ ใจของตนเอง
คดิ วิเคราะห์ วิเคราะห์ สงั เคราะห์ หาเหตุผล แกป้ ัญหาและ
เขยี น (สื่อสาร) สร้างสรรค์
ถ่ายทอดความรู้ ความคดิ ส่ือสารให้ผอู้ น่ื เขา้ ใจ
ข้อ ๑๑ ผลคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
การประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เป็นการประเมนิ คุณลกั ษณะท่ีตอ้ งการให้เกิดข้นึ กบั
ผเู้ รียน อนั เป็นคุณลกั ษณะท่ีสังคมตอ้ งการในดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จิตสานึก สามารถอยรู่ ่วมกับ
ผอู้ ่ืนในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข ท้งั ในฐานะพลเมอื งไทยและพลโลก หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กาหนดคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๘ คุณลกั ษณะ ในการประเมนิ ใหป้ ระเมนิ แต่ละ
คณุ ลกั ษณะ แลว้ รวบรวมผลการประเมนิ จากผปู้ ระเมนิ ทุกฝ่ายและแหลง่ ขอ้ มลู หลายแหลง่ เพือ่ ให้ไดข้ อ้ มูล
นามาสู่การสรุปผลเป็นรายภาค และใชเ้ ป็นขอ้ มูลเพอ่ื ประเมินการเล่ือนช้นั เรียนและการจบการศึกษาระดบั
โรงเรียนชอ่ งแคพทิ ยาคม ตาบลช่องแค อาเภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค์
๖๒
หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาตา่ งประเทศ
ต่าง ๆ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๘ คุณลกั ษณะ ดงั น้ี
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
๒. ซ่ือสตั ยส์ ุจริต
๓. มวี นิ ยั
๔. ใฝ่เรียนรู้
๕. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง
๖. มงุ่ มน่ั ในการทางาน
๗. รกั ความเป็นไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
ข้อ ๑๒ การวดั และประเมนิ ผลกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน
การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน เป็นการประเมนิ การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมและผลงานของ
ผเู้ รียน และเวลาในการเขา้ ร่วมกิจกรรมตามเกณฑท์ ี่กาหนดไวใ้ นแตล่ ะกิจกรรมและใชเ้ ป็นขอ้ มลู ประเมินการ
เลอ่ื นช้นั เรียนและการจบการศกึ ษาระดบั ตา่ ง ๆ กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียนมีดงั น้ี
๑. กิจกรรมแนะแนว
๒. กิจกรรมนกั เรียน
๒.๑ ลกู เสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด ผบู้ าเพญ็ ประโยชน์และนกั ศึกษาวชิ าทหาร
๒.๒ ชุมนุม/ชมรม
๓. กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์
เกณฑ์การวัดและประเมนิ ผลการเรียน
ข้อ ๑๓ การตัดสินผลการเรยี น
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ โรงเรียนช่องแคพิทยาคม กาหนด
หลกั เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ เพอ่ื ตดั สินผลการเรียนของผเู้ รียน ดงั น้ี
๑. ตดั สินผลการเรียนเป็นรายวิชา
๒. ผเู้ รียนตอ้ งมเี วลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนท้งั หมด
ในรายวิชาน้นั ๆ
๓. ผเู้ รียนตอ้ งไดร้ บั การประเมินทกุ ตวั ช้ีวดั และผ่านตวั ช้ีวดั ตามเกณฑท์ ่ีกล่มุ สาระกาหนด
๔. ผเู้ รียนตอ้ งไดร้ ับการตดั สินผลการเรียนทุกรายวชิ า
โรงเรียนช่องแคพทิ ยาคม ตาบลช่องแค อาเภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค์
๖๓
หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ
๕. ผเู้ รียนตอ้ งไดร้ ับการประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ และ
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน โดยมผี ลการประเมินผา่ นตามเกณฑท์ ี่โรงเรียนกาหนด
การตดั สินผลการเรียน ตดั สินเป็นรายวชิ า โดยใชผ้ ลการประเมินระหวา่ งภาคและปลายภาคเรียน
ตามสดั ส่วนที่โรงเรียนกาหนด ทุกรายวิชาตอ้ งไดร้ บั การตดั สินและให้ระดบั ผลการเรียน ท้งั น้ีผเู้ รียนตอ้ งผ่าน
ทุกรายวิชาพ้นื ฐาน
ข้อ ๑๔ การให้ระดบั ผลการเรยี น
๑๔.๑ การตัดสินเพอ่ื ให้ระดบั ผลการเรียนรายวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ ให้ใช้ตวั เลขแสดง
ระดับผลการเรียนเป็ น ๘ ระดบั
แนวการให้ระดบั ผลการเรียน ๘ ระดบั และความหมายของแตล่ ะระดบั ดงั แสดงในตาราง ดงั น้ี
ระดบั ผลการเรียน ๔ ความหมาย ดีเยย่ี ม ช่วงคะแนนเป็นร้อยละ ๘๐-๑๐๐
ระดบั ผลการเรียน ๓.๕ ความหมาย ดีมาก ช่วงคะแนนเป็นร้อยละ ๗๕-๗๙
ระดบั ผลการเรียน ๓ ความหมาย ดี ช่วงคะแนนเป็นร้อยละ ๗๐-๗๔
ระดบั ผลการเรียน ๒.๕ ความหมาย คอ่ นขา้ งดี ช่วงคะแนนเป็นร้อยละ ๖๕-๖๙
ระดบั ผลการเรียน ๒ ความหมาย ปานกลาง ช่วงคะแนนเป็นร้อยละ ๖๐-๖๔
ระดบั ผลการเรียน ๑.๕ ความหมาย พอใช้ ช่วงคะแนนเป็นร้อยละ ๕๕-๕๙
ระดบั ผลการเรียน ๑ ความหมาย ผ่านเกณฑข์ ้นั ต่า ช่วงคะแนนเป็นร้อยละ ๕๐-๕๔
ระดบั ผลการเรียน ๐ ความหมาย ต่ากวา่ เกณฑ์ ช่วงคะแนนเป็นร้อยละ ๐-๔๙
ในกรณีทไ่ี มส่ ามารถให้ระดบั ผลการเรียนเป็น ๘ ระดบั ไดใ้ ห้ใชต้ วั อกั ษรระบุเง่อื นไขของ ผลการเรียน ดงั น้ี
“มส” หมายถึง ผเู้ รียนไมม่ สี ิทธ์ิเขา้ รับการวดั ผลปลายภาคเรียน เน่ืองจากผเู้ รียนมี
เวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนในแตล่ ะรายวิชาและไม่ไดร้ ับการผอ่ นผนั ใหเ้ ขา้ รบั การวดั ผล
ปลายภาคเรียน
“ร” หมายถึง รอการตดั สินและยงั ตดั สินผลการเรียนไม่ได้ เน่ืองจากผเู้ รียนไม่มขี อ้ มลู ผล
การเรียนรายวชิ าน้นั ครบถว้ น ไดแ้ ก่ ไม่ไดว้ ดั ผลกลางภาคเรียน/ปลายภาคเรียน ไมไ่ ดส้ ่งงานทมี่ อบหมายให้
ทา ซ่ึงงานน้นั เป็นส่วนหน่ึงของการตดั สินผลการเรียน หรือมเี หตุสุดวิสัยทท่ี าให้ประเมนิ ผลการเรียนไมไ่ ด้
๑๔.๒ การประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ให้ระดับผลการประเมนิ เป็ นผ่านและ
ไม่ผ่าน กรณที ี่ผ่านให้ระดับผลการประเมนิ เป็ น ดเี ย่ียม ดี และผ่าน
ในการสรุปผลการประเมนิ การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน เพอ่ื การเล่ือนช้นั และ
จบการศึกษา กาหนดเกณฑก์ ารตดั สินเป็น ๔ ระดบั และความหมายของแต่ละระดบั ดงั น้ี
โรงเรียนชอ่ งแคพิทยาคม ตาบลช่องแค อาเภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค์
๖๔
หลกั สูตรกล่มุ สาระการเรียนรูภ้ าษาตา่ งประเทศ
ดีเยย่ี ม หมายถึง มีผลงานท่แี สดงถึงความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์
และเขียนท่ีมีคุณภาพดีเลศิ อยเู่ สมอ
ดี หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอา่ น คิดวเิ คราะห์
และเขียนทมี่ คี ณุ ภาพเป็นที่ยอมรับ
ผ่าน หมายถึง มีผลงานท่แี สดงถึงความสามารถในการอา่ น คดิ วิเคราะห์
และเขยี นทม่ี คี ณุ ภาพเป็นที่ยอมรบั แตย่ งั มีขอ้ บกพร่อง
บางประการ
ไม่ผ่าน หมายถึง ไม่มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอา่ น คดิ วิเคราะห์
และเขียน หรือถา้ มีผลงาน ผลงานน้นั ยงั มขี อ้ บกพร่องท่ี
ตอ้ งไดร้ ับการปรบั ปรุงแกไ้ ขหลายประการ
๑๔.๓ การประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ให้ระดับผลการประเมนิ เป็ นผ่านและไม่ผ่าน
กรณที ผ่ี ่านให้ระดบั ผลการประเมินเป็ น ดเี ยี่ยม ดี และผ่าน
ในการสรุปผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคร์ วมทกุ คณุ ลกั ษณะเพ่อื การเลื่อน
ช้นั และจบการศกึ ษา กาหนดเกณฑก์ ารตดั สินเป็น ๔ ระดบั และความหมายของแต่ละระดบั ดงั น้ี
ดเี ยี่ยม หมายถึง ผเู้ รียนปฏิบตั ิตนตามคุณลกั ษณะจนเป็นนิสัยและนาไปใชใ้ น
ชีวติ ประจาวนั เพอื่ ประโยชน์สุขของตนเองและสงั คม โดยพิจารณา
จากผลการประเมินระดบั ดีเย่ียม (๓) จานวน ๕-๘ คุณลกั ษณะและ
ไมม่ ีคณุ ลกั ษณะใดไดผ้ ลการประเมินต่ากวา่ ระดบั ดี (๒)
ดี หมายถึง ผเู้ รียนมีคุณลกั ษณะในการปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์ เพอ่ื ใหเ้ ป็นการ
ยอมรบั ของสังคม โดยพิจารณาจาก
๑. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดบั ดีเยีย่ ม (๓) จานวน ๑-๔ คุณลกั ษณะ และ
ไมม่ คี ณุ ลกั ษณะใดไดผ้ ลการประเมนิ ต่ากว่าระดบั ดี (๒) หรือ
๒. ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดีเยยี่ ม (๓) จานวน ๔ คณุ ลกั ษณะ และ
ไมม่ คี ณุ ลกั ษณะใดไดผ้ ลการประเมนิ ต่ากว่าระดบั ผ่าน (๑) หรือ
๓. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดบั ดี (๒) จานวน ๕-๘ คณุ ลกั ษณะ และไม่
มคี ณุ ลกั ษณะใดไดผ้ ลการประเมิน
ต่ากว่าระดบั ผา่ น (๑)
ผ่าน หมายถึง ผเู้ รียนรับรู้และปฏิบตั ิตามกฎเกณฑแ์ ละเงือ่ นไข
ทโี่ รงเรียนกาหนด โดยพิจารณาจาก
๑. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดบั ผ่าน (๑) จานวน ๕-๘ คุณลกั ษณะ และ
โรงเรียนชอ่ งแคพทิ ยาคม ตาบลชอ่ งแค อาเภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค์
๖๕
หลกั สูตรกลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ไมม่ คี ณุ ลกั ษณะใดไดผ้ ลการประเมิน
ต่ากวา่ ระดบั ผ่าน (๑) หรือ
๒. ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดี (๒) จานวน ๔ คุณลกั ษณะ และไมม่ ี
คณุ ลกั ษณะใดไดผ้ ลการประเมนิ ต่ากวา่ ระดบั ผ่าน(๑)
ไม่ผ่าน หมายถึง ผเู้ รียนรบั รู้และปฏบิ ตั ิไดไ้ มค่ รบตามกฎเกณฑแ์ ละเงอื่ นไข
ทโี่ รงเรียนกาหนด โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดบั ไม่ผ่าน
(๐) ต้งั แต่ ๑ คณุ ลกั ษณะ
๑๔.๔ การประเมินกิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน ให้ผลการประเมินเป็ นผ่านและไม่ผ่าน ต้อง
พจิ ารณาท้งั เวลาการเข้าร่วมกจิ กรรม การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมและผลงานของผ้เู รียนตามเกณฑ์ที่โรงเรยี นกาหนด
การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน มี ๓ ลกั ษณะ คือ
๑. กิจกรรมแนะแนว
๒. กิจกรรมนกั เรียน ซ่ึงประกอบดว้ ย
๒.๑ กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด ผบู้ าเพญ็ ประโยชน์ และนกั ศึกษาวิชาทหาร โดย
ผเู้ รียนเลือกอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง ๑ กิจกรรม
๒.๒ กิจกรรมชุมนุม หรือชมรมอกี ๑ กิจกรรม
๓. กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์
ใหใ้ ชต้ วั อกั ษรแสดงผลการประเมินดงั น้ี
“ผ” หมายถงึ ผเู้ รียนมเี วลาเขา้ ร่วมกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน ปฏบิ ตั ิกิจกรรม
และมีผลงานตามเกณฑต์ ามท่ีโรงเรียนกาหนด
“มผ” หมายถึง ผเู้ รียนมเี วลาเขา้ ร่วมกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน ปฏบิ ตั ิกิจกรรม
และมผี ลงานไม่เป็ นไปตามเกณฑต์ ามท่โี รงเรียนกาหนด
ในกรณีทีผ่ เู้ รียนไดผ้ ลการเรียน “มผ” โรงเรียนตอ้ งจดั ซ่อมเสริมให้ผูเ้ รียนปฏบิ ตั กิ ิจกรรมใน
ส่วน ที่ผเู้รียนไมไ่ ดเ้ขา้ ร่วมหรือไมไ่ ดท้ าจนครบถว้ นแลว้ จึงเปล่ยี นผลการเรียนจาก “มผ” เป็น “ผ”ได้ ท้งั น้ี
ดาเนินการให้เสร็จสิ้นภายในภาคเรียนน้นั ๆ ยกเวน้ มเี หตสุ ุดวสิ ัยใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพินิจของโรงเรียนทจ่ี ะพจิ ารณา
ขยายเวลาออกไปอีกไม่เกิน ๑ ภาคเรียน แต่ตอ้ งดาเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปี การศึกษาน้นั
ข้อ ๑๕ การเปล่ียนผลการเรียน
๑๕.๑ การเปล่ียนผลการเรียน “๐”
โรงเรียนจดั ให้มีการสอนซ่อมเสริมในมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้ีวดั
ท่ีผูเ้ รียนสอบไม่ผ่าน แลว้ จึงสอบแกต้ วั ไดไ้ ม่เกิน ๒ คร้งั ถา้ ผเู้ รียนไมด่ าเนินการสอบแกต้ วั ตามระยะเวลาที่
โรงเรียนชอ่ งแคพิทยาคม ตาบลชอ่ งแค อาเภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค์
๖๖
หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ
โรงเรียนกาหนด ใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพนิ ิจของโรงเรียนท่ีจะพิจารณาขยายเวลาออกไปอกี ๑ ภาคเรียน ท้งั น้ีตอ้ ง
ดาเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปี การศกึ ษาน้นั
กรณีที่ผเู้ รียนสอบแกต้ วั ๒ คร้ังแลว้ ยงั ไดร้ ะดบั ผลการเรียน “๐” ใหโ้ รงเรียนแตง่ ต้งั
คณะกรรมการดาเนินการเกี่ยวกบั การเปลี่ยนผลการเรียนของผูเ้ รียนโดยปฏิบตั ิ ดงั น้ี
๑) ถา้ เป็นรายวิชาพ้นื ฐานใหเ้ รียนซ้ารายวชิ าน้นั
๒) ถา้ เป็นรายวชิ าเพ่มิ เติมให้เรียนซ้าหรือเปลย่ี นรายวชิ าเรียนใหม่ ท้งั น้ีขอให้อยู่
ในดลุ ยพนิ ิจของโรงเรียน
ในกรณีท่เี ปลีย่ นรายวิชาเรียนใหม่ ใหห้ มายเหตใุ นระเบยี นแสดงผลการเรียนวา่ เรียนแทนรายวชิ าใด
๑๕.๒ การเปล่ียนผลการเรียน “ร”
การเปล่ยี นผลการเรียน “ร” ให้ดาเนินการดงั น้ี
๑๕.๒.๑ให้ผเู้ รียนดาเนินการแกไ้ ขผลการเรียน “ร” ตามสาเหตุ เม่ือผูเ้ รียนได้
แกไ้ ขปัญหาเสร็จแลว้ ให้ไดร้ ะดบั ผลการเรียนตามปกติ (ต้งั แต่ ๐ - ๔)
๑๕.๒.๒ ถา้ ผเู้ รียนไมด่ าเนินการแกไ้ ขผลการเรียน “ร” ให้ผูส้ อนนาขอ้ มลู ท่มี อี ยู่
ตดั สินผลการเรียนยกเวน้ มเี หตสุ ุดวิสยั ใหอ้ ยใู่ นดุลยพินิจของโรงเรียนทจ่ี ะขยายเวลาการแก้ “ร” ออกไปอกี
ไมเ่ กิน ๑ ภาคเรียน ท้งั น้ีตอ้ งดาเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปี การศึกษาน้นั กรณีที่ผลการเรียนเป็น “๐” ให้
ดาเนินการแกไ้ ขตามหลกั เกณฑ์ การเปลี่ยนผลการเรียน “๐”
๑๕.๓ การเปลย่ี นผลการเรียน “มส”
การเปลีย่ นผลการเรียน “มส” มี ๒ กรณี ดงั น้ี
๑. กรณีผเู้ รียนไดผ้ ลการเรียน “มส” เพราะมเี วลาเรียนไมถ่ งึ ร้อยละ ๘๐ แตม่ ี
เวลาเรียนไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ ๖๐ ของเวลาเรียนท้งั หมด ให้จดั ให้เรียนเพ่ิมเติมโดยใชช้ ว่ั โมงสอนซ่อมเสริม หรือ
ใชเ้ วลาว่าง หรือใชว้ นั หยดุ หรือมอบหมายงานใหท้ า จนมเี วลาเรียนครบตามที่กาหนดไวส้ าหรับรายวิชาน้นั แลว้ จึง
ให้วดั ผลปลายภาคเป็นกรณีพเิ ศษ การแกผ้ ลการเรียน “มส” ใหไ้ ดร้ ะดบั ผลการเรียนไม่เกิน “๑” การแกผ้ ลการ
เรียน “มส” กรณีน้ีใหก้ ระทาให้เสร็จสิ้นภายในปี การศกึ ษาน้นั ถา้ ผูเ้ รียนไมม่ าดาเนินการแกผ้ ลการเรียน
“มส” ตามระยะเวลาท่ีกาหนดไวน้ ้ีให้เรียนซ้า ยกเวน้ มีเหตสุ ุดวิสัย ใหอ้ ยู่ในดุลยพินิจของโรงเรียนท่ีจะขยายเวลา
การแกผ้ ลการเรียน “มส” ออกไปอีกไม่เกิน ๑ ภาคเรียน แต่เมื่อพน้ กาหนดน้ีแลว้ ให้ปฏิบตั ดิ งั น้ี
(๑) ถา้ เป็นรายวิชาพ้ืนฐานให้เรียนซ้ารายวิชาน้นั
(๒) ถา้ เป็นรายวชิ าเพมิ่ เตมิ ให้อยใู่ นดุลยพินิจของโรงเรียน ให้เรียนซ้า
หรือเปลย่ี นรายวิชาเรียนใหม่
๒. กรณีผูเ้ รียนไดผ้ ลการเรียน “มส” และมีเวลาเรียนนอ้ ยกว่าร้อยละ ๖๐ ของ
เวลาเรียนท้งั หมด ใหโ้ รงเรียนดาเนินการดงั น้ี
(๑) ถา้ เป็นรายวิชาพ้นื ฐานให้เรียนซ้ารายวิชาน้นั
โรงเรียนชอ่ งแคพิทยาคม ตาบลชอ่ งแค อาเภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค์
เปล่ียนรายวิชาเรียนใหม่ ๖๗
เรียนแทนรายวชิ าใด หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาตา่ งประเทศ
(๒) ถา้ เป็นรายวิชาเพิ่มเตมิ ใหอ้ ยู่ในดลุ ยพินิจของโรงเรียน ให้เรียนซ้าหรือ
ในกรณีที่เปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนวา่
การเรียนซ้า หากผูเ้ รียนไดร้ ับการสอนซ่อมเสริมและสอบแกต้ วั ๒ คร้ังแลว้ ไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน ให้
เรียนซ้ารายวิชาน้นั อกี ท้งั น้ี ใหอ้ ย่ใู นดลุ ยพนิ ิจของโรงเรียนในการจดั ให้เรียนซ้าในช่วงใดช่วงหน่ึงที่โรงเรียน
เห็นวา่ เหมาะสม เช่น พกั กลางวนั วนั หยดุ ชวั่ โมงว่าง หลงั เลิกเรียน ภาคฤดรู ้อน เป็นตน้
ในกรณีภาคเรียนที่ ๒ หากผูเ้ รียนยงั มีผลการเรียน “๐” “ร” “มส” ให้
ดาเนินการให้เสร็จสิ้นกอ่ นเปิ ดเรียนปี การศึกษาถดั ไป โรงเรียนอาจเปิ ดการเรียนการสอนในภาคฤดรู ้อนเพือ่
แกไ้ ขผลการเรียนของผเู้ รียนได้
๑๕.๔ การเปล่ียนผลการเรียน “มผ”
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กาหนดให้ผูเ้ รียนเขา้ ร่วม
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน ๓ กิจกรรม คอื ๑) กิจกรรมแนะแนว ๒) กิจกรรมนกั เรียน ซ่ึงประกอบดว้ ย กิจกรรม
ลูกเสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด ผูบ้ าเพญ็ ประโยชน์ หรือนกั ศึกษาวชิ าทหาร โดยผเู้ รียนเลือกเรียนอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง
๑ กิจกรรมและเลอื กเขา้ ร่วมกิจกรรมชุมนุม หรือชมรมอกี ๑ กิจกรรม ๓) กิจกรรมเพ่ือสงั คมและ
สาธารณประโยชน์
ในกรณีที่ผูเ้ รียนไดผ้ ลการเรียน “มผ” โรงเรียนตอ้ งจดั ซ่อมเสริมให้ผเู้ รียนทา
กิจกรรมในส่วนทผ่ี เู้รียนไมไ่ ดเ้ขา้ ร่วมหรือไมไ่ ดท้ าจนครบถว้ นแลว้ จึงเปล่ียนผลการเรียนจาก“มผ” เป็น “ผ”ได้
ท้งั น้ีดาเนินการให้เสร็จสิ้นภายในภาคเรียนน้นั ๆ ยกเวน้ มีเหตุสุดวสิ ยั ให้อยู่ในดลุ ยพินิจของโรงเรียนที่จะ
พจิ ารณาขยายเวลาออกไปอกี ไม่เกิน ๑ ภาคเรียน แต่ตอ้ งดาเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปี การศึกษาน้ัน
๑๖. การเล่ือนช้ัน
เมือ่ สิ้นปี การศกึ ษา ผูเ้ รียนที่จะไดร้ ับการเล่ือนช้นั ตอ้ งมีคณุ สมบตั ิตามเกณฑ์ ดงั ต่อไปน้ี
๑๖.๑ รายวิชาพ้ืนฐานและรายวิชาเพิม่ เตมิ ไดร้ ับการตดั สินผลการเรียนผ่านตามเกณฑท์ ี่
กลุ่มสาระการเรียนรู้กาหนด
๑๖.๒ ผเู้ รียนตอ้ งไดร้ บั การประเมนิ และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑท์ โี่ รงเรียนกาหนด
ในการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน
๑๖.๓ ระดบั ผลการเรียนเฉล่ียในปี การศึกษาน้นั ควรไดไ้ มต่ ่ากวา่ ๑.๐๐
โรงเรียนชอ่ งแคพิทยาคม ตาบลช่องแค อาเภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค์
๖๘
หลกั สูตรกล่มุ สาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ
ท้งั น้ีรายวิชาใดท่ไี ม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน โรงเรียนตอ้ งจดั ซ่อมเสริมผเู้ รียนใหไ้ ดร้ ับการ
แกไ้ ขในภาคเรียนถดั ไป แต่ให้เสร็จสิ้นภายในปี การศกึ ษาน้นั ๆ
๑๗. การเรียนซา้ ช้ัน
การเรียนซ้าช้นั มี ๒ ลกั ษณะ คอื
๑) ผูเ้ รียนไดร้ ะดบั ผลการเรียนเฉล่ียในปี การศกึ ษาน้นั ต่ากว่า ๑.๐๐ และมแี นวโนม้ วา่ จะ
เป็นปัญหาตอ่ การเรียนในระดบั ช้นั ท่สี ูงข้นึ
๒) ผเู้ รียนมผี ลการเรียน ๐, ร, มส เกินคร่ึงหน่ึงของรายวชิ าทลี่ งทะเบยี นเรียนใน
ปี การศกึ ษาน้นั ๆ
ท้งั น้ี หากเกิดลกั ษณะใดลกั ษณะหน่ึง หรือท้งั ๒ ลกั ษณะ ให้โรงเรียนแตง่ ต้งั
คณะกรรมการพจิ ารณา โดยคานึงถงึ วุฒิภาวะและความรู้ความสามารถของผเู้ รียนเป็นสาคญั หากเห็นว่าไม่มี
เหตผุ ลอนั สมควรก็ใหซ้ ้าช้นั โดยยกเลกิ ผลการเรียนเดิมและให้ใช้ผลการเรียนใหม่แทน หากพิจารณาแลว้ ไม่
ตอ้ งเรียนซ้าช้นั ใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพินิจของโรงเรียน ในการแกไ้ ขผลการเรียน
๑๘. การสอนซ่อมเสริม
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กาหนดให้โรงเรียนจดั สอน
ซ่อมเสริมเพื่อพฒั นาการเรียนรู้ของผเู้ รียนเตม็ ตามศกั ยภาพ
การสอนซ่อมเสริม เป็นการสอนเพ่อื แกไ้ ขขอ้ บกพร่อง กรณีท่ีผเู้ รียนมีความรู้ ทกั ษะ
กระบวนการ หรือเจตคติ คุณลกั ษณะ ไม่เป็นไปตามเกณฑท์ ี่โรงเรียนกาหนด โรงเรียนตอ้ งจดั สอนซ่อมเสริม
เป็นกรณีพเิ ศษนอกเหนือไปจากการสอนตามปกติ เพอ่ื พฒั นาใหผ้ เู้ รียนสามารถบรรลตุ ามมาตรฐานการเรียนรู้
ตวั ช้ีวดั ท่ีกาหนดไว้ เป็นการให้โอกาสแกผ่ ูเ้ รียนไดเ้ รียนรู้และพฒั นา โดยจดั กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย
และตอบสนองความแตกต่างระหว่างบคุ คล การสอนซ่อมเสริมสามารถดาเนินการไดใ้ นกรณีดงั ตอ่ ไปน้ี
๑) ผเู้ รียนมคี วามรู้ ทกั ษะพ้ืนฐานไมเ่ พยี งพอทจี่ ะศกึ ษาในแต่ละรายวิชาน้นั ควรจดั การ
สอนซ่อมเสริม ปรับความรู้ ทกั ษะพ้นื ฐาน
๒) ผเู้ รียนไมส่ ามารถแสดงความรู้ ทกั ษะกระบวนการ หรือเจตคติ คณุ ลกั ษณะท่ีกาหนด
ไวต้ ามมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้ีวดั ในการประเมนิ ผลระหวา่ งเรียน
๓) ผเู้ รียนท่ีไดร้ ะดบั ผลการเรียน “๐” ให้จดั การสอนซ่อมเสริมก่อนสอบแกต้ วั
๔) กรณีผเู้ รียนมีผลการเรียนไมผ่ ่าน สามารถจดั สอนซ่อมเสริมในภาคฤดูร้อนเพือ่ แกไ้ ข
ผลการเรียน ท้งั น้ีให้อยใู่ นดุลยพนิ ิจของโรงเรียน
โรงเรียนช่องแคพทิ ยาคม ตาบลชอ่ งแค อาเภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค์
๖๙ หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
๑๙. เกณฑ์การจบระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
๑) ผเู้ รียนเรียนรายวิชาพ้นื ฐานและเพม่ิ เตมิ ไมเ่ กิน ๘๑ หน่วยกิต โดยเป็นรายวชิ าพ้ืนฐาน
๖๖ หน่วยกิต และรายวชิ าเพิ่มเติมตามทีโ่ รงเรียนกาหนด
๒) ผเู้ รียนตอ้ งไดห้ น่วยกิต ตลอดหลกั สูตรไมน่ อ้ ยกวา่ ๗๗ หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชา
พ้นื ฐาน ๖๖ หน่วยกิต และรายวิชาเพ่มิ เติมไม่นอ้ ยกว่า ๑๑ หน่วยกิต
๓) ผเู้ รียนมีผลการประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน ในระดบั ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน
ตามท่ีโรงเรียนกาหนด
๔) ผเู้ รียนมีผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ในระดบั ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน
ตามทีโ่ รงเรียนกาหนด
๕) ผูเ้ รียนเขา้ ร่วมกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ
ตามท่โี รงเรียนกาหนด
๒O. เกณฑ์การจบระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
๑) ผูเ้ รียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพ่ิมเตมิ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๘๑ หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชา
พ้นื ฐาน ๔๑ หน่วยกิต และรายวิชาเพิม่ เตมิ ตามทโี่ รงเรียนกาหนด
๒) ผเู้ รียนตอ้ งไดห้ น่วยกิตตลอดหลกั สูตรไม่นอ้ ยกวา่ ๗๗ หน่วยกิต โดยเป็นรายวชิ า
พ้ืนฐาน ๔๑ หน่วยกิต และรายวิชาเพ่มิ เติมไมน่ อ้ ยกว่า ๓๖ หน่วยกิต
๓) ผูเ้ รียนมีผลการประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียน ในระดบั ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ
ตามทโี่ รงเรียนกาหนด
๔) ผเู้ รียนมีผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ในระดบั ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน
ตามที่โรงเรียนกาหนด
๕) ผเู้ รียนเขา้ ร่วมกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนและมีผลการประเมินผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน
ตามที่โรงเรียนกาหนด
โรงเรียนช่องแคพทิ ยาคม ตาบลชอ่ งแค อาเภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค์
๗๐
หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาตา่ งประเทศ
บรรณานุกรม
กระทรวงศกึ ษาธิการ. (๒๕๔๔). หลกั สูตรการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๔๔ .
กรุงเทพฯ: โรงพมิ พค์ ุรุสภาลาดพร้าว.
สภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาต.ิ (๒๕๔๙). แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ ๑๐.
สานกั นายกรัฐมนตรี, สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาต.ิ (๒๕๔๒). พระราชบัญญตั ิ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ: โรงพิมพอ์ งคก์ ารรับส่งสินคา้ และพสั ดุภณั ฑ์
(ร.ส.พ.).
กระทรวงศกึ ษาธิการ. หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑. กรุงเทพ :
แนวปฏิบตั กิ ารวดั และประเมินผลการเรียนรู้ : โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่ง
ประเทศไทย จากดั ลาดพร้าว ,๒๕๕๒.
โรงเรียนชอ่ งแคพิทยาคม ตาบลชอ่ งแค อาเภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค์