วจิ ยั ในช้ันเรียน
เรื่อง
การศกึ ษาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นภาษาอังกฤษ
ของนักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3/๑ โรงเรียนช่องแคพทิ ยาคม
ด้วยส่อื การเรยี นรภู้ าษาองั กฤษออนไลน์
ผู้วิจัย
ครวู ันชยั วิพชุ ฌตยิ ากูล
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ
ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564
โดยไดร้ ับความเหน็ ชอบจาก
……………………………………………..
ครูรัชนี รัตนบุรี
หวั หน้างานฝ่ายวชิ าการ
ประกาศคณุ ูปการ
การศึกษางานวจิ ัยในคร้ังน้ี สำเร็จได้ด้วยความกรุณาจากครูรชั นี รัตนบรุ ี หัวหน้างานฝ่าย
วิชาการ ทไ่ี ดใ้ หค้ วามช่วยเหลือ ให้ความรู้ ความคิดให้คำแนะนำ คำปรึกษาตลอดจนการตรวจแก้ไข
ขอ้ บกพร่องตา่ งๆเปน็ อย่างดี จนการศกึ ษาวิจยั ในครั้งน้ีเสร็จสมบรู ณ์ ผู้วจิ ัยขอขอบคณุ เปน็ อยา่ งสูงไว้
ณ ที่น้ี
ขอขอบพระคุณทา่ นผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นชอ่ งแคพิทยาคม ท่านรองผู้อำนวยการ หัวหนา้ ฝ่าย
วชิ าการ ทกี่ รุณาใหค้ วามอนเุ คราะห์ ให้คำแนะนำ ให้ความรู้ ความคิดท่ีมปี ระโยชน์ และอำนวยความ
สะดวกในการศึกษาวิจัยในคร้ังน้ีเป็นอย่างดี และขอขอบใจนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 ของ
โรงเรียนช่องแคพทิ ยาคมทกุ คนท่ใี ห้ความร่วมมอื เปน็ อยา่ งดีในการวิจัยและเก็บขอ้ มูลทใ่ี ช้ในการศึกษา
วจิ ัยคร้งั นี้ จนกระท่งั การศกึ ษาวจิ ัยครง้ั นเ้ี สร็จสมบรู ณ์
ครูวนั ชัย วพิ ุชฌตยิ ากลู
ผู้วจิ ยั
ชอื่ งานวิจัย การศกึ ษาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นภาษาองั กฤษของนกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3/๑
โรงเรยี นช่องแคพิทยาคม ด้วยส่ือการเรียนรู้ภาษาอังกฤษออนไลน์
ช่อื ผวู้ จิ ัย ครูวันชยั วพิ ุชฌติยากูล
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ
บทคดั ย่อ
การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์คือ ๑) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนภาษาอังกฤษของ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3/1 ด้วยสื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษออนไลน์ ก่อนและหลังการ
เรยี น ๒) เพอ่ื ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนทมี่ ีต่อการเรียนภาษาอังกฤษเพอ่ื การสื่อสาร ด้วยส่ือการ
เรียนรู้ภาษาอังกฤษออนไลน์ โดยใช้การวิจัยแบบแบบกึ่งทดลอง (Quasi - Experimental
Research) ดำเนินการทดลองตามแบบแผนการวิจัย One Group Pretest - Posttest Design
(Fitz-Gibbon,1987 : 113) เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร ก่อนและหลัง และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการ
เรียนภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร ด้วยสื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษออนไลน์ โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็น
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๑ จำนวน ๓๐ คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์โดยหาค่าเฉล่ีย ค่าส่วน
เบ่ยี งเบนมาตรฐาน
ผลการวจิ ัยพบวา่
๑. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาองั กฤษเพื่อการสอื่ สาร ของนกั เรียนระดับชั้นมัธยมศกึ ษา
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษานครสวรรค์ ดว้ ยส่ือการเรียนรู้ภาษาองั กฤษออนไลน์ หลัง
เรียนสงู กว่ากอ่ นเรยี น ซง่ึ มคี วามตา่ งกันอยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถิตทิ ่รี ะดับ ๐.๐๑
การศกึ ษาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนภาษาอังกฤษของนกั เรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3/๑
โรงเรยี นช่องแคพิทยาคม ดว้ ยสื่อการเรยี นรู้ภาษาอังกฤษออนไลน์
1. ความสำคัญและท่ีมา
การศกึ ษาได้รบั การยอมรบั วา่ เป็นส่ิงท่ีสำคัญและจำเป็นตอ่ การพฒั นาคนและพฒั นาชาติให้
เจริญร่งุ เรอื ง และกา้ วไปสกู่ ารเปน็ สว่ นหนึง่ ของสงั คมโลกท่ีมีคุณภาพเท่าเทียมนานาอารยประเทศ
การท่ีจะกา้ วไปสสู่ ังคมโลก จะต้องมีการตดิ ต่อส่ือสารที่ดีเพอ่ื ใหบ้ รรลุวัตถปุ ระสงคท์ ่ีตง้ั ไว้ และ
ภาษาองั กฤษกส็ ามารถตอบโจทย์เร่อื งการตดิ ต่อสื่อสาร เพราะเปน็ ภาษาสากลที่คนทั่วโลกใช้เพื่อ
ติดตอ่ ส่อื สารกันอยา่ งแพรห่ ลาย
อันเนื่องจากในปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ทางกระทรวงศกึ ษาธกิ ารมนี โยบายเร่งด่วนคอื English
Literacy เพือ่ ยกระดบั การศึกษาภาษาอังกฤษให้ดยี งิ่ ขนึ้ ซ่งึ หนงึ่ ในนโยบายเรง่ ดว่ นของปีการศกึ ษานี้
ก็คอื การพัฒนาการเรียนการสอนภาษาองั กฤษทง้ั ระบบ ซ่ึงภาษาองั กฤษถอื เปน็ ภาษาทส่ี ำคัญ เพราะ
ใช้ส่อื สารได้ทว่ั โลก ทางกระทรวงศกึ ษาธกิ ารจึงมนี โยบายท่ีจะส่งเสรมิ ใหน้ กั เรยี น ครู และบคุ ลากร
ทางการศึกษามีระดบั ภาษาทดี่ ขี ึน้ และสามารถนำภาษาองั กฤษไปใช้ได้จรงิ ในชวี ติ ประจำวัน
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารประกาศใชแ้ นวทางการพฒั นาภาษาองั กฤษทั้งระบบดว้ ย
การสอบวดั ระดบั ความสามารถทางภาษาองั กฤษของ ผู้บรหิ าร ครู นักเรียน และบคุ ลากรทางการ
ศกึ ษา ตามกรอบมาตรฐานสากล หรือ CEFR ซง่ึ ทางกระทรวงศกึ ษาธกิ ารยังได้วางกรอบแนวทางการ
พัฒนาการจัดการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษในระยะยาวไปจนถึงปีการศึกษา ๒๕๖๕ โดยมีความ
คาดหวงั ว่าการพัฒนาระบบนี้จะทำใหศ้ กั ยภาพในการเรยี น การใช้ และให้ขอ้ มูลดา้ นภาษาอังกฤษ
ของผู้บรหิ าร ครู นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษามีเพิม่ มากขึ้น
แต่จากรายงานการประเมินคุณภาพผู้เรียนด้านทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษ เพ่ือเตรียมความ
พร้อมความสามารถทางภาษาตามกรอบมาตรฐาน CEFR ระดับA1,A2 สำหรับนักเรียนช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ ๒-๓ สพม.นครสวรรค์ พบว่า ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนด้านทักษะสื่อสาร
ภาษาอังกฤษ ด้านการฟัง(Listening) นกั เรียนทผ่ี ่านรอ้ ยละ ๕๐ ขน้ึ ไป มีเพียง ๔๒.๗๐ ดา้ นการอา่ น
(Reading) นักเรียนท่ีผ่านร้อยละ ๕๐ ข้ึนไป มีเพียง ๓๖.๐๕ และด้านไวยากรณ์ (Grammar)
นักเรียนทผี่ ่านรอ้ ยละ ๕๐ ขึ้นไป มเี พียง ๒๙.๗๐ ซึ่งผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนดา้ นต่างๆ ต่ำกว่า
เกณฑท์ ีโ่ รงเรียนตง้ั ไว้ คือ ร้อยละ ๖๐
จากความเป็นมาและความสำคัญดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยในฐานะที่เป็นครูสอนภาษาอังกฤษ
ของโรงเรยี นช่องแคพิทยาคม จึงสนใจท่ีจะศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนภาษาอังกฤษ ของนักเรียน
ระดับชั้นมัธยมศึกษา ด้วยสื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษออนไลน์ เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการ
พัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษทั้งระบบ ตามกรอบมาตรฐานสากล หรือ CEFR และเพ่ือเป็น
ประโยชนต์ ่อการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าภาษาอังกฤษสบื ไป
2. วัตถปุ ระสงค์ของการวิจยั
1.2.1 เพอื่ เปรยี บเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอื่ สารของนักเรียน
ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษา กอ่ นและหลังการสอน ด้วยส่อื การเรยี นรภู้ าษาอังกฤษออนไลน์
3. ขอบเขตการวจิ ยั
การวิจัยเร่ืองการศึกษาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่
3/๑ โรงเรียนช่องแคพิทยาคม ด้วยสื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษออนไลน์ ผู้วิจัยไดก้ ำหนดขอบเขตการ
วจิ ยั ไว้ 3 ด้าน ได้แก่
1) ขอบเขตด้านตัวแปร ได้แก่ การเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ด้วยส่ือการเรียนรู้
ภาษาอังกฤษออนไลน์ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารด้านทักษะการฟัง พูด
อ่าน และเขยี น กอ่ นเรียนและหลังเรียน ดว้ ยสอ่ื การเรียนรู้ภาษาอังกฤษออนไลน์
2) ขอบเขตด้านประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3/1 โรงเรียนช่องแคพิทยา
คม
3) ขอบเขตดา้ นระยะเวลา 4 สัปดาห์
4. ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ
1. ได้ผลการเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธิก์ ารเรียนภาษาอังกฤษเพือ่ การส่อื สารด้านทักษะการฟงั
การพดู การอา่ นและการเขียน ของนักเรียนระดับชนั้ มัธยมศกึ ษา ดว้ ยสอื่ การเรยี นรู้
ภาษาองั กฤษออนไลน์ ก่อนและหลงั การสอน
5. วิธดี ำเนินการวิจัย
1) รูปแบบการวิจัย เปน็ การวจิ ยั กึง่ ทดลอง (Quasi - Experimental Research) ดำเนนิ การ
ทดลองตามแบบแผนการวจิ ัย One Group Pretest - Posttest Design (Fitz-Gibbon,1987 : 113)
ซึ่งมีรูปแบบการวจิ ยั ดังนี้
2) ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง นักเรียนระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาชนั้ ปที ่ี ๓/1 ท่กี ำลังศึกษาอยู่ใน
ภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔
3) เคร่ืองมอื ท่ใี ช่ในการวิจยั
- แผนการจัดการเรียนรู้วชิ าภาษาอังกฤษ
- แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษ กอ่ นและหลงั เรยี น
4) การวิเคราะห์ขอ้ มลู ผู้วิจัยได้นำข้อมูลที่ได้จากการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ภาษาอังกฤษ ด้วยส่ือการเรียนรู้ภาษาอังกฤษออนไลน์ ก่อนและหลังเรียน นำข้อมูลท่ีได้มาหา
คา่ เฉล่ีย และจุดเบ่ยี งเบนมาตราฐาน
6. ผลการวิเคราะห์ข้อมลู
ผู้วิจัยไดด้ ำเนินการศึกษาทดลองPre – experimental research ตามรปู แบบการวิจัยแบบ
One group pretest posttest design ข้อมลู ท่ไี ด้สามารถแสดงค่าสถิติ โดยจำแนกตาม
วตั ถปุ ระสงคท์ ศี่ กึ ษา ดังน้ี
6.1 ผลการเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนภาษาองั กฤษเพื่อการสอื่ สารของนักเรยี น
ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษา ด้วยสอ่ื การเรียนรภู้ าษาอังกฤษออนไลน์
ผู้วิจยั ได้นำคะแนนผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนวิชาภาษาอังกฤษเพอื่ การสอื่ สารของกล่มุ นกั เรียน
กลมุ่ ทดลองดา้ นทกั ษะฟงั การพูด การอา่ น และการเขียน ซง่ึ ทำการทดลองดว้ ยแบบทดสอบวัด
ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนวิชาภาษาองั กฤษเพื่อการส่อื สาร แบ่งออกเปน็ ๔ ตอน ได้แก่ ตอนท่ี ๑ วัด
ทกั ษะการฟัง ตอนที่ ๒ วัดทักษะการพดู ตอนที่ ๓ วดั ทักษะการอ่าน และตอนที่ ๔ วัดทักษะการ
เขยี น เปน็ แบบทดสอบแบบปรนัย อตั นัย และออรลั โดยทำการทดสอบก่อนและหลงั เรยี น (Pretest -
Posttest) แล้วนำคะแนนมาคำนวณเพ่อื เปรียบเทียบโดยใช้สถติ ิ t – test (Dependent) ซ่งึ ผลการ
วเิ คราะห์ปรากฤผลในตารางท่ี 6.1 ดงั น้ี
ตารางท่ี 6.๑ ผลการเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นภาษาองั กฤษเพื่อการสอ่ื สาร ของนักเรียน
ระดับช้ันมัธยมศกึ ษา ด้วยสอื่ การเรียนรภู้ าษาอังกฤษออนไลน์ กอ่ นเรยี นและหลงั เรียน
(ก่อนเรียน) (หลงั เรยี น)
เรือ่ ง N Pre-test Post-test t-test Sig
S.D. S.D.
การทดสอบการฟัง, ๓๐ ๘.๐๐ ๓.๔๘ ๑๒.๙๓ ๓.๙๐ ๒๓.๖๔ .๐๐
การพดู , การอา่ น
และการเขยี น
ค่า df = ๒๙ ค่า t = ๒๓.๖๔
*มีนยั สำคัญทางสถติ ิทรี่ ะดับ ๐.๐๑
จากตารางท่ี ๔.๑ คะแนนผลการเรียนรู้ก่อนเรียน (Pretest) และหลังเรียน (Posttest)
ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๑ ที่เรียนภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร ด้วยสื่อการเรียนรู้
ภาษาอังกฤษออนไลน์ เม่ือทดสอบความแตกต่างของคะแนนก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ยท่ากับ ๘.๐๐ และ
คา่ ส่วนเบยี่ งเบนมาตราฐานเทา่ กับ ๓.๔๘ และคะแนนหลังเรียน มคี ่าเฉล่ยี ทา่ กบั ๑๒.๙๓ และค่าส่วน
เบี่ยงเบนมาตราฐานเท่ากับ ๓.๙๐ โดยการทดสอบค่า t – test พบว่าค่า t = ๒๓.๖๔ ซึ่งมีความ
ต่างกันอยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ ๐.๐๑ แสดงให้เห็นว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษ
เพื่อการส่ือสาร ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
นครสวรรค์ ด้วยสือ่ การเรียนรู้ภาษาองั กฤษออนไลน์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
ตารางท่ี ๔.๒ ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร ของนักเรียน
ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษา ด้วยสื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษออนไลน์ ด้านการฟัง การพูด การ
อา่ น และการเขยี นของนักเรียนกล่มุ ทดลอง ก่อนทดลองและหลังทดลอง
(ก่อนเรยี น) (หลังเรียน)
การทดสอบ N Pre-test Post-test t-test Sig
S.D. S.D.
การฟัง ๓๐ ๑.๘๐ ๐.๗๑ ๓.๐๗ ๐.๙๘ ๑๕.๔๒ .๐๐
การพดู ๓๐ ๑.๘๗ ๐.๘๑ ๓.๑๐ ๑.๐๖ 15.70 .๐๐
การอ่าน ๓๐ ๒.๑๓ ๐.๙๗ ๓.๕๓ ๑.๐๔ 15.38 .๐๐
การเขียน ๓๐ ๒.๑๓ ๑.๐๐ ๓.๒๗ ๑.๑๑ 14.29 .๐๐
รวมท้งั ๔ ทกั ษะ ๓๐ ๘.๐๐ ๓.๔๘ ๑๒.๙๓ ๓.๙๐ ๒๓.๖๔ .๐๐
คา่ df = ๒๙ คา่ t ๐.๐๐๑ = ๒๓.๖๔
*มีนัยสำคญั ทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๑
จากตารางที่ ๔.๒ คะแนนผลการเรียนรู้ก่อนเรียน (Pretest) และหลังเรียน (Posttest)
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๑ ท่ีเรียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ด้วยสื่อการเรียนรู้
ภาษาอังกฤษออนไลน์ เมื่อทดสอบความแตกต่างของคะแนนก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ยท่ากับ ๘.๐๐ และ
ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐานเท่ากับ ๓.๔๘) และคะแนนหลังเรียน มีค่าเฉลี่ยท่ากับ ๑๒.๙๓ และค่า
สว่ นเบีย่ งเบนมาตราฐานเท่ากับ ๓.๙๐ โดยการทดสอบค่า t – test พบวา่ คา่ t = ๒๓.๖๔ ซ่ึงมีความ
ตา่ งกันอยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๑ แสดงให้เห็นว่าผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนภาษาอังกฤษ
เพ่ือการส่ือสาร ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา
นครสวรรค์ ด้วยสื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษออนไลน์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนเม่ือพิจารณาราย
ทักษะ พบวา่
ทกั ษะการฟงั คะแนนผลการเรียนรู้ ก่อนเรยี นและหลงั เรียน ของนกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี
๓/๑ ท่ีเรียนวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร ด้วยสอ่ื การเรียนรู้ภาษาอังกฤษออนไลน์ มีคะแนนก่อน
เรยี น มีค่าเฉลี่ยท่ากับ ๑.๘๐ และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตราฐานเท่ากับ ๐.๗๑ และคะแนนหลังเรียน มี
ค่าเฉล่ียท่ากับ ๓.๐๗ และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐานเท่ากับ๐.๙๘ เมื่อทดสอบความแตกต่างของ
คะแนนก่อนเรยี นและหลังเรยี นโดยการทดสอบค่า t – test พบวา่ ค่า t = ๑๕.๔๒ ซึ่งมีความต่างกัน
อยา่ งมีนยั สำคัญทางสถติ ิที่ระดบั ๐.๐๑
ทักษะการพูดคะแนนผลการเรียนร้กู อ่ นเรียนและหลงั เรียน ของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี
๓/๑ ที่เรยี นวิชาภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารด้วยส่ือการเรียนรู้ภาษาอังกฤษออนไลน์ มีคะแนนก่อน
เรียน มีค่าเฉล่ียท่ากับ ๑.๘๗ และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ ๐.๘๑ และคะแนนหลังเรยี น มี
ค่าเฉล่ียท่ากับ ๓.๑๐ และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ ๑.๐๖ เม่ือทดสอบความแตกต่างของ
คะแนนก่อนเรียนและหลังเรยี นโดยการทดสอบค่า t – test พบวา่ คา่ t = ๑๕.๗๐ ซึ่งมีความตา่ งกัน
อยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถิติท่รี ะดบั ๐.๐๑
ทกั ษะการอา่ นคะแนนผลการเรียนรู้กอ่ นเรียนและหลงั เรียน ของนกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปี
ที่ ๓/๑ ที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารด้วยสื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษออนไลน์ มีคะแนน
ก่อนเรียน มีค่าเฉลย่ี ท่ากบั ๒.๑๓ และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ ๐.๙๗) และคะแนนหลังเรยี น
มีค่าเฉลี่ยท่ากบั ๓.๕๓ และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 15.38 เม่ือทดสอบความแตกตา่ งของ
คะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน โดยการทดสอบค่า t – test พบวา่ ค่า t = ๑๕.๓๘ ซ่ึงมีความตา่ งกัน
อยา่ งมีนยั สำคัญทางสถติ ทิ รี่ ะดบั ๐.๐๑
ทกั ษะการเขยี นคะแนนผลการเรยี นร้กู ่อนเรยี นและหลงั เรียน ของนักเรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปี
ที่ ๓/๑ ที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารด้วยสื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษมีคะแนนก่อนเรียนมี
ค่าเฉล่ียท่ากับ ๒.๑๓ และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐานเท่ากับ๑.๐๐ และคะแนนหลังเรยี น มีค่าเฉล่ีย
ท่ากับ ๓.๒๗ และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 14.29 เมื่อทดสอบความแตกต่างของคะแนน
กอ่ นเรียนและหลงั เรียนโดยการทดสอบค่า t – test พบว่า ค่า t = ๑๔.๒๙ ซ่ึงมคี วามต่างกันอย่างมี
นยั สำคญั ทางสถติ ิท่ีระดับ ๐.๐๑
ซ่ึงกล่าวได้ว่าคะแนนผลการเรียนรู้ก่อนเรียน (Pretest) และหลังเรียน (Posttest) ของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓/๑ ท่ีเรียนวิชาภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร ด้วยส่ือการเรียนรู้
ภาษาอังกฤษออนไลน์ ทั้ง ๔ ทักษะ มีคะแนนผลการเรียนรู้หลังเรียน (Posttest) สูงกว่าก่อนเรียน
(Pretest) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๑ โดยทักษะท่ีมีคะแนนความแตกต่างของคะแนน
กอ่ นเรียนและหลังเรียนมากท่สี ุดเรยี งไปตามลำดับ ดังน้ี ทักษะการพูด คา่ t = ๑๕.๔๒ ทกั ษะการฟัง
ค่า t = ๑๕.๗๐ ทักษะการอา่ น ค่า t = ๑๕.๓๘ และทกั ษะการเขยี น ค่า t = ๑๔.๒๙
ดังนั้น แสดงว่าผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนภาษาอังกฤษเพ่อื การส่ือสาร ของนกั เรียนระดับชั้น
มธั ยมศกึ ษา ด้วยสื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษออนไลน์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรยี น อยา่ งมนี ยั สำคัญทาง
สถิติทร่ี ะดบั ๐.๐๑
7. สรุปผลการศกึ ษาวจิ ยั
จากการวิจัยครั้งน้ี การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร ของ
นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษา ด้วยสื่อการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษออนไลน์ เป็นการวิจัยแบบผสมวิธี
(Mixed Methodology Research) เป็นการวิจัยเชิงทดลอง(Pre-experimental research) โดยใช้
รปู แบบ One group pretest posttest design มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรยี นภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารด้านทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน ของนักเรยี นช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ก่อนและหลังการสอน ด้วยสื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษออนไลน์ และเพ่ือศึกษาความ
คิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร ด้วยสื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษออนไลน์
โดยกล่มุ ตัวอย่างเปน็ นกั เรียนท่ีกำลงั ศึกษาอยใู่ นภาคเรียนที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่
๓/๑ โรงเรยี นช่องแคพิทยาคม สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษานครสวรรค์ ซ่ึงกลุ่มตัวอย่าง
ได้โดยการสุ่มอย่างง่ายด้วยวิธีการแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เป็นนักเรียนจำนวน ๑ ห้อง
จำนวน ๓๐ คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษอังกฤษซ่ึงใช้สื่อการรเรียนรู้
ภาษาองั กฤษออนไลน์ ท่ีสอนดว้ ยวิธีแบบ2w3p แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนภาษาองั กฤษ
เพื่อการส่ือสาร และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการเรียนภาษาอังกฤษเพื่อการ
ส่ือสารด้วยสื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษออนไลน์ และดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลตามลำดับเพ่ือ
เปรียบเทยี บความแตกต่างของผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารดว้ ยส่ือการเรียนรู้
ภาษาอังกฤษออนไลน์ ก่อนและหลังการสอน โดยการทดสอบค่า t - test แบบDependent และ
วิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามความคิดเห็นด้วยค่าเฉล่ีย( )และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยมี
การสรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะจากการแจกแบบสอบถาม ซึ่งได้ข้อสรุปผลการวิจัยตาม
วตั ถปุ ระสงค์ ดงั น้ี
7.1 ผลการเปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นภาษาอังกฤษเพอ่ื การสื่อสาร ของนักเรยี น
ระดบั ช้ันมัธยมศึกษา ด้วยสอื่ การเรยี นรู้ภาษาอังกฤษออนไลน์
ผลการวิจัยสรุปว่า ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ด้านการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษา ด้วยสื่อการเรียนรู้
ภาษาอังกฤษออนไลน์ กอ่ นเรียนและหลังเรียน มคี วามต่างกนั อยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถติ ิท่ีระดบั ๐.๐๑
แสดงให้เห็นวา่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่ือสาร ของนักเรียนระดับชัน้ มธั ยมศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ ด้วยส่ือการเรียนรู้ภาษาอังกฤษออนไลน์ หลัง
เรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยทักษะท่ีมีการพัฒนาสูงสุด คือ ทักษะการอ่าน และทักษะท่ีมีการพัฒนา
น้อยสุดคือ ทักษะการเขียน จากผลการวิจัยจะเห็นได้ว่า การพัฒนาทักษะในแต่ละด้านน้ันมีความ
ซับซ้อน มีผลการพัฒนาที่ไม่เท่ากัน ซึ่งเกิดจากหลายองค์ประกอบซึ่งครูและนักเรียนต้องอาศัย
ความสัมพนั ธ์การเอาใจใส่ การเข้าใจกัน ซง่ึ สอดคล้องกบั คำกล่าวของมติ รา อังวัฒนกุล ที่วา่ การเรียน
การสอนภาษาอังกฤษ เป็นกระบวนการท่ีซับซ้อนต้องอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างผู้สอน และผู้เรียน
ตลอดจนกระบวนการเรยี นการสอนซง่ึ มพี นื้ ฐานอยู่บนทฤษฏแี ละวิธกี ารตา่ งๆมากมาย
8. อภิปรายผลการวิจัย
จากผลการวจิ ัยเรือ่ ง การศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร ของ
นักเรียนระดบั ชั้นมธั ยมศึกษา สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ ดว้ ยสอื่ การเรียนรู้
ภาษาองั กฤษออนไลน์ครัง้ นี้ สามารถนำมาอธิปรายผลตามลำดับของคำถามวจิ ัยและวัตถปุ ระสงค์ของ
การวิจยั ไดด้ งั น้ี
๑. ผลการศึกษาเพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสารด้าน
การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ด้วยส่ือการเรียนรู้
ภาษาอังกฤษออนไลน์ ก่อนเรียนและหลังเรียน เมื่อทดสอบความแตกต่างของคะแนนก่อนเรียน มี
คา่ เฉลี่ยเท่ากับ ๘.๐๐ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ ๓.๔๘ และคะแนนหลงั เรยี นมีค่าเฉล่ียเทา่ กับ
๑๒.๙๓และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ ๓.๙๐ โดยการทดสอบค่า t – test พบว่าค่า t = ๒๓.๖๔
ซึง่ มีความตา่ งกันอย่างมีนยั สำคัญทางสถติ ทิ ่ีระดบั ๐.๐๑ ทั้งน้ีอาจเนื่องมาจาก กระบวนการสอนด้วย
ส่ือการเรียนรู้ภาษาอังกฤษออนไลน์ ที่ดำเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่ใช้กิจกรรมการ
เรียนการสอบรปู แบบ2w3p ซึ่งมี ๕ ขน้ั ตอนในการสอน ดังน้ี ๑.) ขน้ั นำ/ข้ันนำเขา้ สู่บทเรียน (Warm
up/Lead in) มีจดุ มุ่งหมายเพื่อให้นักเรียนเกิดความพรอ้ มและอยากรู้อยากเรยี นในบทใหม่ เน้ือหา
จะเชื่อมโยงไปสู่สาระสำคัญของบทนั้นๆ เมื่อครูผู้สอนเห็นว่านักเรียนมีความพร้อม เกิดความสนุก
และสนใจอยากเรียนแล้ว ก็เร่ิมเรียนเน้ือหาต่อไป กจิ กรรมที่กำหนดไว้ในข้ันน้มี ีหลากหลาย เช่น เล่น
เกม ปริศนาคำทาย เพื่อทบทวนความรู้ท่ีเรียนมาแล้ว ๒.) ขัน้ นำเสนอ (Presentation) ในข้นั น้ีครูจะ
ให้ขอ้ มูลทางภาษาแก่นักเรียน มกี ารนำเสนอศพั ท์ใหม่เน้ือหาใหมใ่ ห้เข้าใจทั้งรูปแบบและความหมาย
กิจกรรมที่กำหนดไว้ประกอบด้วยการให้ฟังเนื้อหาใหม่ ให้นักเรียนฝึกพูดตาม ในข้ันน้ีครูเป็นผู้ให้
ความรู้ทางภาษาท่ีถูกต้อง และเปน็ แบบอย่างที่ถูกต้องในการออกเสียง คือ Informant (ผู้ให้ความรู้)
รูปแบบของภาษาจึงเน้นท่ีความถูกต้อง (Accuracy) เป็นหลกั ๓.) ขั้นฝึก (Practice) ในขั้นนีน้ กั เรียน
จะได้ฝึกใช้ภาษาที่เรียนมาแล้วในขั้นนำเสนอ โดยมีวัตถุประสงค์ให้นักเรียนใช้ภาษาได้ถูกต้อง
ขณะเดยี วกนั ก็เนน้ เรอื่ งการใช้ภาษาให้คล่องแคล่ว (fluency) การฝึกอาจจะฝึกท้ังชัน้ เปน็ กล่มุ เป็นคู่
หรือรายบุคคล ขั้นนี้เป็นโอกาสท่ีครูจะแก้ไขข้อผิดพลาดของนักเรียนในการใช้ภาษา ซ่ึงการแก้ไข
ข้อผิดพลาดน้ันควรทำหลงั การฝึกหากทำระหว่างทน่ี ักเรยี นกำลังลองผิดลองถูกอยูค่ วามม่นั ใจทีจ่ ะใช้
ภาษาให้คล่องแคล่วอาจลดลงได้ กิจกรรมที่กำหนดไว้ในคู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ มีทั้งใน
ลักษณะที่กล่าวมาน้ี และในลักษณะท่ีเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ฝึกอย่างอิสระ ๔.) ข้ันการใช้ภาษา
(Production) มีจดุ มุ่งหมายเพื่อให้นักเรียนนำคำหรือประโยคท่ีฝึกมาแล้วมาใชใ้ นสถานการณ์ต่างๆ
ในรูปแบบกิจกรรมหลากหลาย เพื่อให้เกิดความคล่องแคล่ว (fluency) และเกิดความสนุกสนาน ใน
ข้ันน้ีเป็นข้ันที่เน้นนักเรียนเป็นผู้ ทำกิจกรรม ครูคอยให้ความช่วยเหลือ ถ้านักเรียนผิดพลาด อย่า
ขัดจังหวะ ให้ปล่อยไปก่อน เพื่อให้นักเรียนรู้สึกสบายใจกิจกรรมที่กำหนดไว้มีหลากหลาย เช่น การ
เล่นเกม การทำชิ้นงาน การทำแบบฝึก การนำเสนอผลงาน ๕.) ข้ันสรุป (Wrap up) เป็นข้ันสุดท้าย
ของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละชั่วโมง จุดประสงค์คือ เพ่ือสรุปส่ิงท่ีได้เรียนแล้ว
กิจกรรมที่เสนอแนะไว้อาจจะเป็นการนำเสนอรายงานของกลมุ่ ทำแบบฝกึ หัดเพอ่ื สรปุ ความรู้ หรือ
เล่นเกมเพือ่ ทดสอบส่งิ ท่ีเรยี นมาแลว้ เมือ่ จัดการเรียนการสอนด้วยสือ่ การเรียนรูท้ ี่มีประสิทธิภาพ ด้วย
แผนการเรียนรู้ท่ีดี ด้วยวิธีการสอนที่ดี ด้วยความเอาใจใส่จากครูผู้สอน และด้วยตัวนักเรียนเองที่มี
ความสุขในการเรียน หลายองค์ประกอบรวมกันจึงส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษเพ่ือ
การส่ือสารของนักเรียนสูงขึ้น จากผลการวิจัยคร้ังนี้ พบว่า คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร รายทักษะ ทั้ง ๔ ทักษะ มีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยแบ่ง
ตามทักษะดังน้ี ทักษะการฟังมีคะแนนผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓/๑ ที่เรียนวชิ าภาษาอังกฤษเพือ่ การส่อื สาร ดว้ ยส่ือการเรยี นรู้ภาษาอังกฤษออนไลน์
มีคะแนนกอ่ นเรียน มีค่าเฉลี่ยเทา่ กับ ๑.๘๐ และคา่ เบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ๐.๗๑ และคะแนนหลัง
เรียน มคี ่าเฉลย่ี เท่ากบั ๓.๐๗ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ ๐.๙๘ เมื่อทดสอบความแตกตา่ งของ
คะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยการทดสอบค่า t – test พบว่าค่า t = ๑๕.๔๒ ทักษะการพูดมี
คะแนนผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๓/๑ ท่ีเรียนวิชา
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ด้วยสื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษออนไลน์ มีคะแนนก่อนเรยี น มีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ ๑.๘๗ และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานเทา่ กับ๐.๘๑ และคะแนนหลังเรียน มคี ่าเฉล่ียเท่ากับ ๓.๑๐
และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ ๑.๐๖ เมื่อทดสอบความแตกต่างของคะแนนก่อนเรียนและหลัง
เรียนโดยการทดสอบค่า t – test พบว่า ค่า t = ๑๕.๗๐ ทักษะการอ่านมีคะแนนผลการเรียนรู้ก่อน
เรียนและหลังเรยี น ของนักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓/๑ ท่เี รียนวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร ดว้ ย
สื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษออนไลน์ มีคะแนนก่อนเรียน มีค่าเฉล่ียเท่ากับ ๒.๑๓ และค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐานเท่ากับ ๐.๙๗ และคะแนนหลังเรียน มีค่าเฉล่ียเท่ากับ ๓.๕๓ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เท่ากบั 15.38 เม่อื ทดสอบความแตกต่างของคะแนนกอ่ นเรียนและหลังเรยี นโดยการทดสอบคา่ t –
test พบว่า ค่า t = ๑๕.๓๘ ทักษะการเขียนมีคะแนนผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียน ของ
นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๑ ที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร ด้วยสื่อการเรียนรู้
ภาษาอังกฤษออนไลน์ มคี ะแนนก่อนเรียน มีค่าเฉล่ียเท่ากบั ๒.๑๓ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ
๑.๐๐ และคะแนนหลังเรียน มีค่าเฉล่ียเท่ากับ ๓.๒๗และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 14.29) เม่ือ
ทดสอบความแตกตา่ งของคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยการทดสอบค่า t – test พบว่า คา่ t =
๑๔.๒๙ ทง้ั ๔ ทักษะ มีคะแนนผลการเรียนรู้หลงั เรยี น (Posttest) สูงกว่าก่อนเรียน (Pretest) อย่าง
มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๑ โดยทักษะท่ีมีการพัฒนาสูงสุด คือ ทักษะการพูด และทักษะท่ีมี
การพัฒนานอ้ ยสุดคือ ทักษะการเขียน ดังน้ี ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ไม่ได้มุ่ง
เพ่อื พัฒนาทกั ษะใดทกั ษะหน่ึงเฉพาะ แตม่ ุ่งเพ่ือพัฒนาทักษะทางภาษาท้ัง ๔ ด้าน คือ การฟัง การพูด
การอา่ น และการเขียน ดงั นัน้ นกั เรียนมีเวลาในการทำกิจกรรมการสื่อสารเพ่ือฝึกฝนทักษะทางภาษา
ทจี่ ำกัด เมอ่ื นักเรียนมีความชอบในกิจกรรมใด นักเรียนกจ็ ะทำกิจกรรมน้ันได้ดี ทักษะนน้ั ๆจึงเหน็ ผล
มากกว่าทักษะอื่นๆ ซ่ึงสอดคล้องกับคำกล่าววของ ริชาร์ด และรอดเจอร์สกล่าวว่า ภาษาเป็น
เคร่ืองมือในการส่ือสารของบุคคลในสงั คม ขอบเขตการใช้ภาษาขึ้นอยู่กับพัฒนาการการเรยี นการสอน
การฝึกทักษะการพูดน้ันจำเป็นต้องมีการฝึกปฏิบัติมากๆ จึงจะเกิดความชำนาญและม่ันใจ แต่
กิจกรรมการสอนมีการหยุดอยู่เพยี งการอภิปรายและการฝึกระยะเวลาส้ันๆภายในช้ันเรียน นักเรียน
ไม่ได้ฝึกปฏิบัติในสถานการณ์จรงิ อย่างต่อเน่ือง จากคำกล่าวดังกลา่ ว ผู้วิจัยจึงเห็นความแตกต่างและ
ความสำคัญของสองคำนี้มากๆคือ “เรียนรู้ กบั ทักษะ” สองคำนมี้ ีเป็นกุญแจสำคัญท่จี ะทำให้ผูเ้ รยี น
เข้าใจการเรียนภาษาได้อย่างแท้จรงิ ว่า เรียนเพื่อรู้ หรือ เรียนเพ่ือใช้ (การฝกึ เพื่อเกดิ เป็นทกั ษะ) การ
เรียนเพื่อรู้นั้น ผู้เรียนจะไดร้ ู้เพียงโครงสร้าง วิธีการฝึก แต่จะไม่เกดิ ทักษะทางภาษาคือทักษะการฟัง
การพูด การอ่าน และการเขียน ส่วนการเรียนเพื่อใช้นั้น ผู้เรียนจะได้ฝึกใช้ภาษาเพ่ือให้เกิดทักษะ
ภาษาเปน็ สิ่งทีต่ ้องไดร้ ับการฝกึ ฝนเพือ่ ให้เกิดความชำนาญ ดังนั้น หัวใจสำคัญของการเรียนภาษา คือ
ตอ้ งเรียนรู้ และฝกึ ฝนอย่างต่อเนื่อง จนเกิดเป็นทกั ษะ
9. ข้อเสนอแนะ
1. ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาจึงควรสนับสนนุ ใหม้ ีการจัดการอบรมสมั มนาเชงิ ปฏิบตั กิ ารทเี่ ก่ียวกับ
สอื่ การเรียนรูเ้ ทคโนโลยี
2. ครคู วรเรยี นรูแ้ ละพฒั นาส่อื การเรยี นรใู้ หมๆ่ อยตู่ ลอดเวลา และนำมาปรับใชใ้ นการจัดการ
เรียนการสอน เพอื่ ให้เกิดประโยน์สงู สุดตอ่ ผู้เรยี น
3. ครูควรสร้างบรรยากาศทดี่ ีในการเรยี นให้แกน่ กั เรียน การเอาใจใส่นกั เรียนด้วยใจ ซ่ึงเปน็
ส่งิ ทด่ี ีและควรสนับสนนุ และให้เกดิ ใหม้ ีตลอดไปในสังคมการศกึ ษา
4. ควรนำไปประยกุ ต์ใช้ เพื่อใหเ้ กดิ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นภาษาอังกฤษและพัฒนางานส่วน
วิชาการของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาทั่วประเทศ อาจมีความ
แตกตา่ งกันไปตามบรบิ ท จึงควรทำการวิจยั เพือ่ ศกึ ษาแนวทางในการปฏบิ ตั ใิ นเขตพ้นื ทอี่ น่ื ด้วย
แบบฟอร์มรายงานการวิจยั ชน้ั เรียน ปกี ารศึกษา 2/2564
ชอื่ งานวิจัย การศกึ ษาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนภาษาองั กฤษของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีที่3/๑
โรงเรยี นชอ่ งแคพทิ ยาคม ด้วยส่อื การเรียนรู้ภาษาองั กฤษออนไลน์
ชอื่ ผ้วู ิจัย ครูวันชยั วพิ ุชฌติยากูล
กลุม่ สาระการเรียนรู้ ภาษาตา่ งประเทศ
เค้าโครงการทำวิจัยในชั้นเรียน มี ไม่มี
ทีม่ าความสำคัญของการวจิ ัย มี ไมม่ ี
ออกแบบเกบ็ ข้อมูล เสรจ็ ไม่เสรจ็
เกบ็ ข้อมูลเรียบรอ้ ย เสร็จ ไมเ่ สร็จ
สรุปและอภปิ รายผล เสรจ็ ไมเ่ สรจ็
สรุปเปน็ รปู เลม่ เสร็จ ไมเ่ สรจ็
ครูวนั ชัย วิพชุ ฌตยิ ากลู
ผวู้ ิจัย
.
ตารางการทำวิจัยในชน้ั เรียน
วนั เดอื น ปี กิจกรรม หมายเหตุ
- ศกึ ษาสภาพปญั หาและวิเคราะหห์ าแนวทางแกป้ ญั หา
25 ตุลาคม 2564 - เขียนเคา้ โครงงานวจิ ัยในชัน้ เรยี น ผู้วิจยั บันทกึ
26-27 ตลุ าคม 2564 - ศึกษาวิธกี ารแกไ้ ขปัญหา ผู้วจิ ยั บนั ทึก
- วิเคราะหผ์ ้เู รียน ผู้วิจยั บันทกึ
1-30 พฤศจิกายน - ออกแบบเคร่อื งมอื ท่ีจะใชใ้ นงานวิจัย
- ทำการทดลอง
2564
- เกบ็ รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ขอ้ มลู
1 ธันวาคม 2564 - สรุป และอภปิ รายผล
2 - 3 ธนั วาคม 2564 - จัดทำรูปเล่ม
ภาคผนวก
แผนการจดั การเรียนรู้
แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นภาษาอังกฤษ
หนงั สือขอความอนเุ คราะหผ์ ู้เช่ยี วชาญตรวจสอบเครื่องมอื
รายนามผู้เชี่ยวชาญ ตรวจแก้ไขเคร่อื งมอื วิจยั
๑. พระมหาบญุ สขุ สุทธฺ ิญาโณ, ผศ. รองคณบดีคณะครศุ าสตร์
๒. ผศ. ดร.เกษม แสงนนท์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั
๓. นายจักรกฤษณ์ สนอว่ ม
๔. นายวชั รพล อรา่ มเรอื ง ผอู้ ำนวยการหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นชอ่ งแคพิทยาคม
สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา
นครสวรรค์
ครูวิทยฐานะครชู ำนาญการ
หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ
โรงเรียนวเิ ชียรกลน่ิ สุคนธอ์ ปุ ถัมภ์
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา
พระนครศรอี ยุธยา