The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นังสืออ่านเพิ่มเติม E-BOOK " กฎหมายเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว ชุมชนและประเทศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Supirada Khamnahome, 2022-09-15 11:34:44

หนังสืออ่านเพิ่มเติม E-BOOK

นังสืออ่านเพิ่มเติม E-BOOK " กฎหมายเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว ชุมชนและประเทศ

หนังสืออ่านเพิมเติม E-Book
กฏหมายทีเกียวข้องกับตนเอง
ครอบครวั ชุมชน และประเทศชาติ

BOOK OF THE

LAW

ธนากร เ สื อ ต่ า ง ม . 4 / 2 เ ล ข ที . 2 2

เ ด โ ช ชั ย บุ ต ร ใ ส ม . 4 / 2 เ ล ข ที . 2 2

คํานาํ

หนังสืออ่านเพิมเติม E-book เล่มนี จัดทําขึนเพือ
ใชป้ ระกอบในการเรยี นการสอนในวชิ าสังคมศึกษา (ส31105)
ซงึ ผู้จัดทําได้รบั มอบหมายจากครูผู้สอนใหไ้ ปศึกษาคันควา้
เพิมเติมจากเอกสาร วารสาร อินเทอรเ์ น็ต และแหล่งข้อมูล
ต่างๆ โดยมีจุดประสงค์เพือใหผ้ ู้จัดทําได้ฝกการค้นควา้
และนาํ สิงทีได้ศึกษาค้นควา้ มาสรา้ งเปนชนิ งานเก็บไวเ้ ปน
ประโยชน์ต่อการเรยี นการสอนของตนเองและครูต่อไปผู้
จัดทําไปไปศึกษาค้นควา้ รวบรวมและเรยี บเรยี งออกมาเปน
หนังสืออ่านเพิมเติม E-book เล่มนีนีซงึ ประกอบด้วยเนือหา
กฏหมายเกียวกับตนเอง ครอบครวั ชุมชนและประเทศ ซงึ
ผู้จัดทําหวงั เปนอย่างยิงวา่ หนังสืออ่านเพิมเติม E-book
เล่มนีจะเปนประโยชน์ต่อผู้ทีสนใจและผู้ทีนาํ ไปใชใ้ หเ้ กิดผล
สัมฤทธติ ามความคาดหวงั

ผู้จัดทํา
นายธนากร เสือต่าง
นายเดโชชยั บุตรใส

สารบัญ

01 กฎหมายทีเกียวข้องกับตนเอง
และครอบครวั

กฎหมายแพง
กฎหมายอาญา

02 กฎหมายทีเกียวข้องกับชุมชน
และประเทศชาติ

กฎหมายรัฐธรรมนูญ
กฎหมายรบั ราชการทหาร

กฏหมายภาษอี ากร
กฎหมายคมุ ครองผบู ริโภค
กฎหมายพระราชบัญญัติคอมพิวเตอร

01

ก ฎ ห ม า ย ที เ กี ย ว ข้ อ ง
กั บ ต น เ อ ง

แ ล ะ ค ร อ บ ค รั ว

01

ก ฎ ห ม า ย ที เ กี ย ว ข้ อ ง กั บ ต น เ อ ง แ ล ะ ค ร อ บ ค รัว

กฎหมายท่ีเกี่ยวขอ งกบั ตนเองและครอบครวั
จะแบงออกเป็น 2 สว นไดแ ก

กฎหมาย กฎหมาย
แพง อาญา

01

ก ฎ ห ม า ย ที เ กี ย ว ข้ อ ง กั บ ต น เ อ ง แ ล ะ ค ร อ บ ค รัว

กฎหมายแพง่ มลี ักษณะ
เปนกฎหมายเอกชน ที
กําหนดความสมั พนั ธ์
ระหวา่ งเอกชนกับเอกชน
ดว้ ยกัน เปนเรอื งทีรฐั ไมเ่ ขา้ มายุง่ เกียว เพราะไมม่ ี
ผลกระทบต่อสงั คมสว่ นรวม จงึ ปล่อยใหป้ ระชาชน
มอี ิสระในการกําหนดความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งกันเอง
ภายในกรอบของกฎหมาย

เราสามารถแบง่ ประเภทของ
กฎหมายแพง่ ได้ดังนี

ผเู้ ยาว์ บตั รประจาํ ตัวประชาชน

การหมนั การสมรส

การรบั รองบุตร นิติกรรม-สญั ญา

01

ก ฎ ห ม า ย ที เ กี ย ว ข้ อ ง กั บ ต น เ อ ง แ ล ะ ค ร อ บ ค รัว

1.ผเู้ ยาว์

ผเู้ ยาว์ คอื บุคคลทอี อ่ นอายุ ออ่ นประสบการณ์ และขาดการควบคมุ
สภาพจติ ใจ จงึ ถอื วา่ เปนผหู้ ยอ่ นความสามารถ เพราะยงั ไมบ่ รรลนุ ติ ภิ าวะ ไม่
อาจจดั การกจิ การและทรพั ยส์ นิ ของตน ดงั นนั กฎหมายจงึ ใหค้ วามคมุ้ ครอง
ชว่ ยเหลอื จนกวา่ บุคคลนนั มอี ายุครบ 20 ปบรบิ ูรณ์ จงึ เปนบุคคลผบู้ รรลุ
นติ ภิ าวะ

ผเู้ ยาวบ์ รรลนุ ติ ภิ าวะเมอื ใด ?

กฏหมายไดก้ ําหนดวธิ กี ารบรรลนุ ติ ภิ าวะ
จากการเปนผเู้ ยาวอ์ ยู่ 2 วธิ ี คอื

1.การบรรลนุ ติ ภิ าวะโดยทางอายุ (การทอี ายุครบ 20 ป บรบิ ูรณ)์
2.การบรรลนุ ติ ภิ าวะโดยทางสมรส มาตรา 20 บญั ญตั วิ า่ "ผู้
เยาวย์ อ่ มบรรลนุ ติ ภิ าสะเมอื ทําการสมรส หากการสมรสนนั ได้
ทําตามบทบญั ญตั มิ าตรา 1448”

01

ก ฎ ห ม า ย ที เ กี ย ว ข้ อ ง กั บ ต น เ อ ง แ ล ะ ค ร อ บ ค รัว

1. ผเู้ ยาว์

การสมรสของผเู้ ยาว
์ - ถา้ ชายและหญงิ มอี ายุมากกวา่ 17ปขนึ ไป แตไ่ ม่
เกนิ 20ป ทงั คตู่ อ้ งไดร้ บั ความยนิ ยอมจากผแู้ ทนโดยชอบธรรม
- ถา้ อายุไม่
ถงึ 17ป ตอ้ งไดร้ บั คําสงั ศาล คอื ศาลตอ้ งอนญุ าตใหส้ มรสกอ่ น เพราะอาจมี
เหตอุ นั สมควร เชน่ หญงิ ตงั ครรภ
์ จากขอ้ กฎหมาย ดงั น
ี ประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณชิ ยม์ าตรา 1454, 1436 บญั ญตั วิ า่
ผเู้ ยาวจ์ ะทําการ
หมนั หรอื สมรสไดต้ อ้ งไดร้ บั ความยนิ ยอมของบุคคลดงั ตอ่ ไปน


บดิ าและมารดา

ในกรณที ีมที ังบดิ ามารดา


บดิ าหรอื มารดา
ในกรณที มี ารดาหรอื บดิ าตายหรอื ถกู ถอน
อํานาจปกครองหรอื ไมอ่ ยูใ่ นสภาพหรอื ฐานะที
อาจใหค้ วามยนิ ยอม หรอื โดยพฤตกิ ารณผ์ เู้ ยาว์
ไมอ่ าจขอความยนิ ยอมจากมารดาหรอื บดิ าได้
ผรู้ บั บุตรบุญธรรม
ในกรณที ผี เู้ ยาวเ์ ปน
บุตรบุญธรรม

ผปู้ กครอง

ในกรณที ไี มม่ บี ุคคลซงึ อาจใหค้ วามยนิ ยอมหรอื มี
แตบ่ ุคคลดงั กลา่ วถกู ถอนอํานาจการหมนั ทผี เู้ ยาว์
ทําโดยปราศจากความยนิ ยอมดงั กลา่ วเปนโมฆยี ะ















01

ก ฎ ห ม า ย ที เ กี ย ว ข้ อ ง กั บ ต น เ อ ง แ ล ะ ค ร อ บ ค รัว

6. นติ กิ รรม-สญั ญา

สญั ญาสาํ คญั ทคี วรรู้

สญั ญาซอื ขาย สญั ญาซอื ขาย
สญั ญาขายฝาก

สญั ญาเชา่ สญั ญาเชา่ ทรพั ย์
สญั ญาเชา่ ซอื

สญั ญากยู้ มื -ประกนั หนี สญั ญากยู้ มื เงนิ
คําประกนั
จาํ นาํ
จาํ นอง

01

ก ฎ ห ม า ย ที เ กี ย ว ข้ อ ง กั บ ต น เ อ ง แ ล ะ ค ร อ บ ค รัว

6. นติ กิ รรม-สญั ญา

สญั ญาซอื ขาย

สัญญาท่ผี ขู ายโอนกรรมสิทธิ์ ในทรัพยสินใหแกผ ซู ้ือและผูซ้อื
ตกลงวา จะใชร าคาทรัพยส นิ นัน้ ใหแกผ ขู าย

การโอนกรรมสทิ ธ์ิ หมายถึง การโอนความเป็นเจา ของใน
ทรัพยส นิ ท่ีซ้ือขายนัน้ ไปใหแ กผ ูซ้อื ผูซ้ือเม่อื ไดเป็นเจาของก็
สามารถท่ีจะใชไดร ับประโยชนหรือจะขายตอไปอยางไรกไ็ ด
ราคาทรัพยส นิ จะชําระเม่ือไรนัน้ เป็นเร่ืองท่ผี ูซ้ือผูข ายจะตอง
ตกลงกัน ถา ตกลงกันใหช าํ ระราคาทนั ทกี ็เป็นการซ้อื ขาย
เงนิ สด ถาตกลงกันชําระราคาในภายหลงั ในเวลาใดเวลาหน่ึง
เพียงครงั้ เดียวตามทต่ี กลงกนั ก็เป็นการซ้ือขายเงนิ เช่ือ แตถ า
ตกลงผอ นชําระใหกนั เป็นครัง้ คราวกเ็ ป็นการซ้ือขายเงนิ ผอ น

การซอื ขายอสงั หารมิ ทรพั ยห์ รอื สงั หารมิ ทรพั ย์
ชนดิ พเิ ศษตอ้ งตกลงกนั เปนลายลกั ษณอ์ กั ษร
หรอื มกี ารวางมดั จาํ หรอื มกี ารชาํ ระหนบี างสว่ น
ไวล้ ว่ งหนา้ หากมฝี ายใดฝายหนงึ ไมป่ ฏบิ ตั ติ าม
สญั ญายอ่ มฟองรอ้ งใหป้ ฏบิ ตั ติ ามสญั ญารวม

ทงั เรยี กคา่ เสยี หายจากฝายทผี ดิ สญั ญาได้

01

ก ฎ ห ม า ย ที เ กี ย ว ข้ อ ง กั บ ต น เ อ ง แ ล ะ ค ร อ บ ค รัว

6. นติ กิ รรม-สญั ญา

สญั ญาขายฝาก

เป็นสญั ญาซ้อื ขายซ่ึงสทิ ธแิ หง ความเป็นเจา ของในทรัพยส ินตกไป
ยังผูซ ้อื โดยผซู ้ือตกลงในขณะทาํ สัญญาวา ผูขายมีสทิ ธิไถทรพั ยสินนัน้
คืนไดภ ายในกําหนดเวลาเทาใดแตต อ งไมเ กนิ เวลาท่กี ฎหมายกาํ หนดไว
เชน ขายทด่ี นิ โดยมีขอ ตกลงวา ถาผขู ายตองการซ้ือคนื ผซู ้ือจะยอมขาย
คืนเชน นี้ถอื วาเป็นขอ ตกลงใหไ ถคืนได

สญั ญาเชา่ ทรพั ย์

คอื สญั ญาทม่ี ีบคุ คลอยสู องฝาย ฝายแรกคอื ผใู หเชา ฝายท่ีสองคือ
ผูเชา ทัง้ สองฝายตา งก็มหี นี้ทีจ่ ะตองชาํ ระใหแกก ันและกัน โดยฝายผูให
เชา มีหนี้ทีจ่ ะตองใหผเู ชา ไดใชหรอื ไดรับประโยชนในทรพั ยท่เี ชา สวนฝาย
ผเู ชา ก็มีหนี้ที่จะตองชําระคา เชาเป็นการตอบแทน

สญั ญาเชา่ ซอื

คือสัญญาทีเ่ จาของทรัพยสนิ เอาทรัพยสินของตนออกใหผ อู ่นื เชา
เพ่อื ใชสอยหรอื เพ่ือใหไดรับประโยชน และใหค ํามนั่ วาจะขายทรัพยนัน้
หรือจะใหท รัพยสนิ ท่เี ชาตกเป็นสิทธแิ กผเู ชา ซ้อื เม่ือไดใ ชเงนิ จนครบตาม
ทตี่ กลงไวโ ดยการชาํ ระเป็นงวดๆจนครบตามขอ ตกลง

รหู้ รอื ไม่ ?
สญั ญาเชา่ ซอื มใิ ชส่ ญั ญาซอื ขายผอ่ นสง่ แมว้ า่
จะมลี กั ษณะคลา้ ยคลงึ กนั เรอื งชาํ ระราคาเปน

งวด ๆ กต็ ามเพราะการซอื ขายผอ่ นสง่ นนั
กรรมสทิ ธใิ นทรพั ยส์ นิ เปนของผซู้ อื ทนั ทขี ณะ

ทาํ สญั ญาไมต่ อ้ งรอใหช้ าํ ระราคาครบแต่
ประการใด

01

ก ฎ ห ม า ย ที เ กี ย ว ข้ อ ง กั บ ต น เ อ ง แ ล ะ ค ร อ บ ค รัว

6. นติ กิ รรม-สญั ญา

สญั ญากยู้ มื เงนิ

เปนสญั ญาอยา่ งหนึงซงึ เกิดจากบุคคลใดบุคคล
หนึงซงึ เรยี กวา่ "ผกู้ ้"ู มคี วามต้องการจะใชเ้ งินแต่
ตนเองมเี งินไมพ่ อหรอื ไมม่ เี งินไปขอก้ยู มื จากบุคคล
อีกคนหนงึ เรยี กวา่ "ผใู้ หก้ ้"ู และผกู้ ้ตู กลงจะใชค้ ืนภาย
ในกําหนดเวลาใดเวลาหนึงการก้ยู มื จะมผี ลสมบูรณก์ ็
ต่อเมอื มกี ารสง่ มอบเงินทียมื ใหแ้ ก่ผทู้ ีใหย้ มื ในการกู้
ยมื นีผใู้ หก้ ้จู ะคิดดอกเบยี หรอื ไมก่ ็ได้

คําประกนั

หมายถึง สญั ญาทีบุคคลหนงึ เรยี กวา่ "ผคู้ ําประกัน"สญั ญาวา่ จะชาํ ระหนี
ใหแ้ ก่เจา้ หนถี ้าหากลกู หนไี มย่ อมชาํ ระหน

สญั ญาคําประกัน ต้องทําตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวต่อไปนี คือ
ต้องทําหลักฐานเปนหนงั สอื อยา่ งใดอยา่ งหนงึ และ ต้องลง
ลายมอื ชอื ของผคู้ ําประกัน

ชนดิ ของสญั ญาคําประกัน ไดแ้ ก่ สญั ญาคําประกันอยา่ งไม่ จาํ กัด
จาํ นวน และสญั ญาคําประกันจาํ กัดความรบั ผดิ

จาํ นาํ จาํ นอง

คือสญั ญาซงึ บุคคลคนหนึงเรยี ก คือการทีใครคนหนงึ เรยี กวา่ ผู้จาํ นอง
วา่ ผู้จาํ นํา สง่ มอบ สงั หารมิ ทรพั ยใ์ ห้ เอาอสงั หารมิ ทรพั ยอ์ ันได้แก่ ทีดิน
แก่บุคคลอีกคนหนงึ เปนผคู้ รอบครอง บา้ นเรอื น เปนต้น ไปตราไวแ้ ก่บุคคล
เรยี กวา่ ผูร้ บั จาํ นํา เพอื ประกันการชาํ อีกคนหนงึ เรยี กวา่ ผรู้ บั จาํ นอง
ระหนี

01

ก ฎ ห ม า ย ที เ กี ย ว ข้ อ ง กั บ ต น เ อ ง แ ล ะ ค ร อ บ ค รัว

กฎหมายอาญา กฎหมาย
ทีวา่ ดว้ ยความผดิ และโทษ
ทีกําหนดไวส้ าํ หรบั ความ
ผดิ ตัวบทที สาํ คัญๆ ของ
กฎหมายอาญาก็คือประมวลกฎหมายอาญานอกจาก
ประมวลกฎหมายอาญาแล้วยงั มพี ระราชบญั ญตั ิอืนๆ
ทีกําหนดโทษทางอาญาสาํ หรบั การฝาฝนพระราช
บญั ญตั ินนั เชน่ พระราชบญั ญตั ิยาเสพ ติดใหโ้ ทษ
พระราชบญั ญตั ิการพนนั เปนต้น

ประเภทของความผิด

ความผดิ ทางอาญามี 2 ประเภทคือ
1. ความผดิ ในตัวเอง
2. ความผดิ เพราะกฎหมายหา้ ม

ลักษณะของการเกิดความผดิ

กฎหมายอาญาแบง่ ลักษณะของการกระ
ทําความผดิ ไว้ 3 ประเภทคือ

1. ความผดิ โดยการกระทํา
2. ความผดิ โดยการงดเวน้ การกระทํา
3. ความผดิ โดยการละเวน้ การกระทํา

01

ก ฎ ห ม า ย ที เ กี ย ว ข้ อ ง กั บ ต น เ อ ง แ ล ะ ค ร อ บ ค รัว

ประเภทของกฎหมายอาญามดี ังนี

ความผดิ เกยี วกบั ทรพั ย์ ความผดิ เกยี วกบั ชวี ติ และรา่ งกาย

ประหารชวี ติ โทษทางอาญา

คือ นาํ ตัวไปยงิ ดว้ ยปนให้
ตาย

จาํ คกุ นาํ ตัวไปขงั ไวท้ ีเรอื นจาํ
กักขงั
ปรบั นาํ ตัวไปขงั ไว้ ณ ทีอืน ที
รบิ ทรพั ยส์ นิ ไมใ่ ชเ่ รอื นจาํ เชน่ นาํ ไปขงั ไว้
ทีสถานตี ํารวจ

นาํ ค่าปรบั ซงึ เปนเงินไปชาํ ระ
ใหแ้ ก่เจา้ พนกั งาน

รบิ ทรพั ยส์ นิ คือ รบิ เอา
ทรพั ยส์ นิ นนั เปนของหลวง
เชน่ ปนเถือน ใหร้ บิ ฯลฯ

01

ก ฎ ห ม า ย ที เ กี ย ว ข้ อ ง กั บ ต น เ อ ง แ ล ะ ค ร อ บ ค รัว

ความผดิ เกยี วกบั ทรพั ย์

การลักทรพั ย์ คือ การเอาทรพั ยข์ องผอู้ ืนหรอื ทีผอู้ ืนเปน
เจา้ ของรวมอยูด่ ว้ ยไป โดยต้องการจะครอบครองทรพั ยน์ ันไว้ เพอื
ตนเองเอาไปขายหรอื ใหก้ ับบุคคลอืนก็ตามแต่ ผทู้ ีกระทําความผดิ ฐาน
ลักทรพั ยจ์ ะต้องถกู ระวางโทษไมเ่ กิน 3 ป และปรบั ไมเ่ กิน 6 พนั บาท

การยกั ยอกทรพั ย์ คือ การยกั ยอกทรพั ย์ เปนกรณีทีทรพั ยน์ นั
ไดต้ กมาอยูใ่ นความครอบครองของบุคคลหนงึ แล้วบุคคลนนั ไดย้ ดึ
เพอื ไวเ้ ปนประโยชน์กับตนเอง ซงึ ทําใหเ้ จา้ ของทรพั ยไ์ ด้รบั ความเสยี
หาย

การวงิ ราวทรพั ย์ เปนการลักทรพั ยโ์ ดยฉกฉวยเอาซงึ หน้า
หมายถึง เปนการขโมยเจา้ ของรตู้ ัวและทรพั ยจ์ ะต้องอยูใ่ กล้ชดิ ตัวเจา้
ทรพั ย์ ผกู้ ระทําการวงิ ราวทรพั ยจ์ ะต้องถกู ระวางโทษจาํ คกุ ไมเ่ กิน 5 ป
และปรบั ไมเ่ กิน 1 หมนื บาท อยา่ งไรก็ตามถ้าการวงิ ราวทรพั ยท์ ําใหผ้ อู้ ืน
ไดร้ บั อันตรายหรอื เสยี ชวี ติ เชน่ กระชากสรอ้ ยจากเจา้ ของแล้วสรอ้ ย
บาดคอเจา้ ของสรอ้ ย ผทู้ ีกระทําจะต้องถกู ระวางโทษหนกั ขนึ ด้วย

การกรรโชกทรพั ย์ การกรรโชกทรพั ย์ หากจะยกตัวอยา่ งใหเ้ หน็
ไดอ้ ยา่ งชดั เจนคงต้องยกตัวอยา่ ง
กรณีทีพบเหน็ ได้บอ่ ย คือ การทีรนุ่ ทีบงั คับเอาเงินจากรุน่ นอ้ งหรอื ที
เรยี กกันวา่ “แก็งค์ดาวไถ่”

01

ก ฎ ห ม า ย ที เ กี ย ว ข้ อ ง กั บ ต น เ อ ง แ ล ะ ค ร อ บ ค รัว

ความผดิ เกยี วกบั ทรพั ย์

ชงิ ทรพั ย์ คือ การลักทรพั ยท์ ีประกอบด้วยการใชก้ ําลังเขา้
ทํารา้ ยหรอื ขูเ่ ขญ็ วา่ จะใชก้ ําลังเขา้ ทํารา้ ยในทันที ทังนี เพอื ใหผ้ ทู้ ีครอบ
ครองทรพั ยน์ ันอยูย่ นิ ยอมใหท้ รพั ยไ์ ป หรอื กระทําไปเพอื ใหเ้ กิดความ
สะดวกในการนําทรพั ยน์ นั ไป เชน่ ขณะทีนายเอกกําลังเดินเล่นอยู่ นาย
โท ก็เขา้ มาบอกใหส้ รอ้ ยทองใหถ้ ้าไมใ่ หจ้ ะทํารา้ ยหรอื จะเอาปนยงิ ให้
ตายจนนายเอกต้องยอมถอดสรอ้ ยของตนให้ เปนต้น

ปล้นทรพั ย์ คือ มลี ักษณะเชน่ เดียวกับการชงิ ทรพั ยต์ ่างกัน
เพยี งวา่ มผี รู้ ว่ มชงิ ทรพั ยต์ ังแต่ 3 คนขนึ ไป ผทู้ ีกระทําความผดิ ฐาน
ปล้นทรพั ยจ์ ะต้องถกู ระวางโทษตังแต่ 10 ป ถึง 15 ป และปรบั ตังแต่ 2
หมนื บาท ถึง 3 หมนื บาท หากการปล้นทรพั ยผ์ ปู้ ล้นคนใดคนหนงึ มี
อาวุธติดตัวไปด้วย หรอื ในการปล้นเปนเหตใุ หเ้ จา้ ทรพั ยห์ รอื บุคคลอืน
ได้รบั ถกู ทํารา้ ยหรอื เสยี ชวี ติ ผกู้ ระทําความผดิ ทกุ คนแมจ้ ะไมไ่ ด้พก
อาวุธหรอื รว่ มทํารา้ ยเจา้ ทรพั ยห์ รอื บุคคลอืน กฎหมายก็ถือวา่ ทกุ คนมี
สว่ นรว่ มในการกระทําความผดิ ดว้ ย ซงึ มผี ลใหจ้ ะต้องรบั โทษหนกั ขนึ
กวา่ การปล้นทรพั ยโ์ ดยไมม่ อี าวุธหรอื ไมไ่ ด้มกี ารทํารา้ ยผใู้ ด

ทําให้เสยี ทรพั ย์ คือ เปนกรณีทีผกู้ ระทําตังใจทีจะทํารา้ ยหรอื
ทําใหท้ รพั ยส์ นิ ของผอู้ ืนไดร้ บั ความเสยี หาย เชน่ ไมพ่ อใจอาจารยฝ์ าย
ปกครองจงึ เอาเหรยี ญไปขูดรถของอาจารย์ หรอื อิจฉาเพอื นทีมี
โทรศัพท์จงึ เอาโทรศัพท์เพอื นไปทิง เปนต้น

01

ก ฎ ห ม า ย ที เ กี ย ว ข้ อ ง กั บ ต น เ อ ง แ ล ะ ค ร อ บ ค รัว

ความผดิ เกยี วกบั ชวี ติ และรา่ งกาย

หมวดที 1 ความผิดต่อชวี ติ
มาตรา ๒๙๑ ผใู้ ดกระทําโดยประมาท และการกระทํานนั เปนเหตใุ หผ้ อู้ ืน
ถึงแก่ความตาย ต้องระวางโทษจาํ คกุ ไมเ่ กินสบิ ป และปรบั ไมเ่ กินสอง
แสนบาท

มาตรา ๒๙๒ ผใู้ ดกระทําด้วยการปฏิบตั ิอันทารณุ หรอื ด้วยปจจยั
คล้ายคลึงกันแก่บุคคลซงึ ต้องพงึ ตน ในการดํารงชพี หรอื ในการอืนใด
เพอื ใหบ้ ุคคลนนั ฆา่ ตนเอง ถ้าการฆา่ ตนเองนนั ได้เกิดขนึ หรอื ได้มกี าร
พยายามฆา่ ตนเอง ต้องระวางโทษจาํ คกุ ไมเ่ กินเจด็ ป และปรบั ไมเ่ กิน
หนึงแสนสหี มนื บาท

มาตรา ๒๙๓ ผใู้ ดชว่ ยหรอื ยุยงเดก็ อายุยงั ไมเ่ กินสบิ หกปหรอื ผซู้ งึ ไม่
สามารถเขา้ ใจวา่ การกระทําของตนมสี ภาพ หรอื สาระสาํ คัญอยา่ งไร
หรอื ไมส่ ามารถบงั คับการกระทําของตนได้ ใหฆ้ า่ ตนเอง ถ้าการฆา่
ตนเองนันไดเ้ กิดขนึ หรอื ได้มกี ารพยายามฆา่ ตนเอง ต้องระวางโทษจาํ
คกุ ไมเ่ กินหา้ ป หรอื ปรบั ไมเ่ กินหนึงแสนบาท หรอื ทังจาํ ทังปรบั

มาตรา ๒๙๔ ผใู้ ดเขา้ รว่ มในการชุลมุนต่อสรู้ ะหวา่ งบุคคลตังแต่สาม
คนขนึ ไป และบุคคลหนงึ บุคคลใดไมว่ า่ จะเปนผทู้ ีเขา้ รว่ มในการนนั หรอื
ไม่ ถึงแก่ความตายโดยการกระทําในการชุลมุนต่อสนู้ นั ต้องระวาง
โทษจาํ คกุ ไมเ่ กินสองป หรอื ปรบั ไมเ่ กินสหี มนื บาท หรอื ทังจาํ ทังปรบั

01

ก ฎ ห ม า ย ที เ กี ย ว ข้ อ ง กั บ ต น เ อ ง แ ล ะ ค ร อ บ ค รัว

ความผดิ เกยี วกบั ชวี ติ และรา่ งกาย

หมวดที 2 ความผดิ ต่อรา่ งกาย
มาตรา ๒๙๘ ผใู้ ดกระทําความผดิ ตาม มาตรา ๒๙๗ ถ้าความผดิ นันมี
ลักษณะประการหนึงประการใดดังทีบญั ญัติไวใ้ นมาตรา ๒๘๙ ต้อง
ระวางโทษจาํ คกุ ตังแต่สองปถึงสบิ ปและปรบั ตังแต่สหี มนื บาทถึงสอง
แสนบาท

มาตรา ๒๙๙ ผใู้ ดเขา้ รว่ มในการชุลมุนต่อสรู้ ะหวา่ งบุคคลตังแต่สามคน
ขนึ ไปและบุคคลหนึงบุคคลใดไมว่ า่ จะเปนผทู้ ีเขา้ รว่ มในการนนั หรอื ไม่
รบั อันตรายสาหสั โดยการกระทําในการชุลมุนต่อสนู้ นั ต้องระวาง
โทษจาํ คกุ ไมเ่ กินหนงึ ป หรอื ปรบั ไมเ่ กินสองหมนื บาท หรอื ทังจาํ ทัง
ปรบั

มาตรา ๓๐๐ ผใู้ ดกระทําโดยประมาท และการกระทํานนั เปนเหตใุ หผ้ อู้ ืน
รบั อันตรายสาหสั ต้องระวางโทษจาํ คกุ ไมเ่ กินสามป หรอื ปรบั ไมเ่ กิน
หกหมนื บาท หรอื ทังจาํ ทังปรบั

01

ก ฎ ห ม า ย ที เ กี ย ว ข้ อ ง กั บ ต น เ อ ง แ ล ะ ค ร อ บ ค รัว

ความผดิ เกยี วกบั ชวี ติ และรา่ งกาย

หมวดที 3 ความผดิ ฐานทําให้แท้งลกู

มาตรา ๓๐๑ หญิงใดทําใหต้ นเองแท้งลกู หรอื ยอมใหผ้ อู้ ืนทําใหต้ น
แท้งลกู ขณะมอี ายุครรภ์เกินสบิ สองสปั ดาห์ ต้องระวางโทษจาํ คกุ ไม่
เกินหกเดอื น หรอื ปรบั ไมเ่ กินหนึงหมนื บาท หรอื ทังจาํ ทังปรบั

มาตรา ๓๐๒ ผใู้ ดทําใหห้ ญิงแท้งลกู โดยหญิงนนั ยนิ ยอม ต้องระวาง
โทษจาํ คกุ ไมเ่ กินหา้ ป หรอื ปรบั ไมเ่ กินหนึงแสนบาท หรอื ทังจาํ ทังปรบั

มาตรา ๓๐๓ ผใู้ ดทําใหห้ ญงิ แท้งลกู โดยหญงิ นนั ไมย่ นิ ยอม ต้องระวาง
โทษจาํ คกุ ไมเ่ กินเจด็ ป หรอื ปรบั ไมเ่ กินหนงึ แสนสหี มนื บาท หรอื ทังจาํ
ทังปรบั

มาตรา ๓๐๔ ผใู้ ดเพยี งแต่พยายามกระทําความผดิ ตามมาตรา ๓๐๑
หรอื มาตรา ๓๐๒ วรรคแรก ผนู้ นั ไมต่ ้องรบั โทษ

มาตรา ๓๐๕ ถ้าการกระทําความผดิ ตามมาตรา ๓๐๑ หรอื มาตรา ๓๐๒
เปนการกระทําของผปู้ ระกอบวชิ าชพี เวชกรรมและตามหลักเกณฑ์ของ
แพทยสภา

01

ก ฎ ห ม า ย ที เ กี ย ว ข้ อ ง กั บ ต น เ อ ง แ ล ะ ค ร อ บ ค รัว

ความผดิ เกยี วกบั ชวี ติ และรา่ งกาย

หมวดที 4 ความผดิ ฐานทอดทิงเด็กคนปวยเจบ็ หรอื คนชรา

มาตรา ๓๐๖ ผใู้ ดทอดทิงเดก็ อายุยงั ไมเ่ กินเก้าปไว้ ณ ทีใด เพอื ใหเ้ ด็ก
นนั พน้ ไปเสยี จากตน โดยประการทีทําใหเ้ ดก็ นนั ปราศจากผดู้ แู ล ต้อง
ระวางโทษจาํ คกุ ไมเ่ กินสามป หรอื ปรบั ไมเ่ กินหกหมนื บาท หรอื ทังจาํ
ทังปรบั

มาตรา ๓๐๗ ผใู้ ดมหี น้าทีตามกฎหมายหรอื ตามสญั ญาต้องดแู ลผซู้ งึ
พงึ ตนเองมไิ ด้ เพราะอายุ ความปวยเจบ็ กายพกิ าร หรอื จติ พกิ าร
ทอดทิงผซู้ งึ พงึ ตนเองมไิ ด้นันเสยี โดยประการทีนา่ จะเปนเหตใุ หเ้ กิด
อันตรายแก่ชวี ติ ต้องระวางโทษจาํ คกุ ไมเ่ กินสามป หรอื ปรบั ไมเ่ กินหก
หมนื บาท หรอื ทังจาํ ทังปรบั

มาตรา ๓๐๘ ถ้าการกระทําความผดิ ตามมาตรา ๓๐๖ หรอื มาตรา ๓๐๗
เปนเหตใุ หผ้ ถู้ กู ทอดทิงถึงแก่ความตาย หรอื รบั อันตรายสาหสั ผู้
กระทําต้องระวางโทษดงั ทีบญั ญัติไวใ้ นมาตรา ๒๙๐ มาตรา ๒๙๗ หรอื
มาตรา ๒๙๘ นนั

02

ก ฎ ห ม า ย ที เ กี ย ว ข้ อ ง
กั บ ชุ ม ช น

และประเทศ

02

กฎหมายทีเกียวข้องกับชุ มชนและประเทศ

กฎหมายทีเ่ กยี่ วขอ งกบั ชุมชนและประเภทแบง
เป็น 5 สวน ดังนี้

กฎหมาย กฎหมาย กฎหมาย
รฐั ธรรมนูญ รบั ราชการทหาร ภาษีอากร

กฎหมาย กฎหมาย
ค้มุ ครองผบู้ รโิ ภค พระราชบญั ญตั ิ

คอมพวิ เตอร์

02

กฎหมายทีเกียวข้องกับชุ มชนและประเทศ

กฎหมาย รฐั ธรรมนญู ของประเทศไทยมใี ช฀บงั คบ
รฐั ธรรมนูญ อยูใ่ นป฀จจุบนั คือ รฐั ธรรมนญู ราช
อาณาจกั ร ไทยพุทธศักราช 2540 ซงึ ประเภท

ของรฐั ธรรมนญู แบง่ ได้ ดงั นี

รฐั ธรรมนญู ทีเปนลายลักษณอ์ ักษร

หรอื รฐั ธรรมนูญประเภทจารตี ประเพณี
ซงึ อังกฤษเปนต้นแบบของรฐั ธรรมนูญ
ประเภทนี เนืองจากววิ ฒั นาการทางการ
ปกครองประชาธปิ ไตยของอังกฤษ ทีอาศัย
ขนบธรรมเนยี มประเพณี และเอกสารอืนๆ
ทีมาจากหลายแหล่งด้วยกัน เชน่ จากคํา
พพิ ากษาของศาล ธรรมเนยี มปฏิบตั ิทีเคย
ปฏิบตั ิสบื ต่อกันมาจนผปู้ กครองไมอ่ าจ
ละเมดิ ได้ เอกสารสาํ คัญ

รฐั ธรรมนญู ทีไมเ่ ปนลายลักษณอ์ ักษร

ปนรฐั ธรรมนูญทีใชก้ ันอยา่ งแพรห่ ลายในรฐั สมยั ใหม่
ในครสิ ต์ศตวรรษที 18 พรอ้ มกับการปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตย เพราะบทบญั ญตั ิในรฐั ธรรมนญู ของ
ประเทศระบบเผดจ็ การมบี ทบญั ญตั ิกําหนดใหพ้ รรค
คอมมวิ นิสต์

02

กฎหมายทีเกียวข้องกับชุ มชนและประเทศ

รฐั ธรรมนูญมคี วามสาํ คัญต่อรฐั ระบบการเมอื ง
การปกครอง ประชาชน และการศึกษาในเรอื งที
เกียวขอ้ ง ดังนี

1. การศึกษาพฒั นาทางการเมอื งของรฐั โดย

กฎหมาย เฉพาะเกียวกับสถาบนั และโครงสรา้ งทางการเมอื ง
การปกครอง

รฐั ธรรมนูญ 2. รฐั ธรรมนูญเปนกติกาสงู สดุ ในการปกครอง
ประเทศ ทําใหร้ ฐั กําหนดความเปนเอกราชของ

ประเทศ และได้รบั การรบั รองในการเมอื งระหวา่ งประเทศ รวมทังอํานาจอธปิ ไตย

ภายในรฐั ด้วย

3. รฐั ธรรมนญู เปนเครอื งมอื สนบั สนุนระบอบการปกครอง ไมว่ า่ จะ

ปกครองด้วยระบบใดก็ตาม ในระบอบประชาธปิ ไตย รฐั ธรรมนูญจะเปนเครอื งมอื

จาํ กัดอํานาจของรฐั และผปู้ กครองใหอ้ ยูภ่ ายในขอบเขต จดั ระเบยี บความสมั พนั ธ์

ระหวา่ งสถาบนั ทางการเมอื งการปกครอง กําหนดบทบาทในการตรวจสอบถ่วง

ดลุ กัน และสง่ เสรมิ สทิ ธเิ สรภี าพของประชาชน สว่ นระบบเผดจ็ การรฐั ธรรมนญู ก็

เปนเครอื งมอื ในการกํากับแนวปฏิบตั ิของรฐั ผปู้ กครองและประชาชนใหเ้ ปนไป

ตามอุดมการณท์ างการเมอื ง

4. รฐั ธรรมนญู ชว่ ยเสรมิ สรา้ งเสถียรภาพของรฐั บาล ประเทศทีใช้

รฐั ธรรมนูญเปนลายลักษณ์อักษร เชน่ ฝรงั เศส ไทย เยอรมนี ไดใ้ ชร้ ฐั ธรรมนูญ

เปนเครอื งมอื ในการปรบั ปรงุ แก้ไขปญหาต่างๆ เพอื ใหร้ ฐั บาลมเี สถียรภาพเพมิ

ขนึ เชน่ ฝรงั เศสเมอื ประสบความล้มเหลวทางการปกครองก็ไดอ้ าศัย

รฐั ธรรมนญู ค.ศ. 1958 เปนเครอื งมอื สรา้ งฝายบรหิ ารทีเขม้ แขง็ ขนึ ได้ เชน่ เดียว

กับไทยและเยอรมนที ีใชร้ ฐั ธรรมนญู เปนเครอื งชว่ ยสรา้ งเสถียรภาพของรฐั บาล

ไดเ้ ปนผลสาํ เรจ็

02

กฎหมายทีเกียวข้องกับชุ มชนและประเทศ

กฎหมาย ชายไทยทกุ คนมหี นา้ ทีต้องถกู เกณฑ์เขา้ รบั
รบั ราชการทหาร ราชการทหารตามระยะเวลาทีทางราชการกําหนด
โดยมี พระราชบญั ญตั ิรบั ราชการทหาร พ.ศ. 2497
กล่าวไวว้ า่ "บรรดาชายทีมสี ญั ชาติเปนไทยตาม
กฎหมายเมอื มอี ายุยา่ งเขา้ สบิ แปดปในพุทธศักราช
ใดต้องไปแสดงตนเพอื ลงบญั ชที หารกองเกินที
อําเภอท้องทีซงึ เปนภมู ลิ ําเนาของตนภายในเดอื น
พฤศจกิ ายนของพุทธศักราชนนั ผใู้ ดไมส่ ามารถจะ

ไปลงบญั ชที หารกองเกินดว้ ยตนเองไดต้ ้องใหบ้ ุคคลซงึ บรรลนุ ติ ิภาวะและพอจะ

เชอื ถือไดไ้ ปแจง้ แทนใหน้ ายอําเภอสอบสวนใหแ้ นช่ ดั เพอื ลงบญั ชหี ารกองเกินไวถ้ ้า
ไมม่ ผี แู้ ทน ใหถ้ ือวา่ ผนู้ นั หลีกเลียงขดั ขนึ " โดยชายไทยทีมคี ณุ สมบตั ิดงั กล่าวจะ

ต้องปฏิบตั ิ ดังนี
1. การลงบญั ชที หารกองเกิน เมอื มอี ายุยา่ งเขา้ 18 ปใน พ.ศ.ใด ใหไ้ ปแสดงคน ที
อําเภอซงึ เปนภมู ลิ ําเนาทหารของตนถ้าฝาฝนมโี ทษจาํ คกุ ไมเ่ กิน 3 เดอื นหรอื ปรบั ไม่
เกิน 300 บาท หรอื ทังจาํ ทังปรบั
2. การรบั หมายเรยี กผู้ลงบญั ชเี ปนทหารกองเกิน เมอื มอี ายุยา่ งเขา้ 21 ปต้องไป
แสดงตนเพอื รบั หมายเรยี กทีอําเภอทีเขตถ้าฝาฝนมโี ทษจาํ คกุ ไมเ่ กิน 3 เดอื น ปรบั
ไมเ่ กิน 300 บาท หรอื ทังจาํ ทังปรบั
3. การตรวจคัดเลือกทหาร เมอื รบั หมายเรยี กแล้ว ทหารกองเกินจะต้องไปแสดง

ตนเพอื รบั การตรวจ เลือกเปนทหารประจาํ การ มฉิ ะนนั มคี วามผดิ ต้องระวางโทษจาํ
คกุ ไมเ่ กิน 3 ป หลักฐานทีจะต้องนาํ ไปแสดงคือใบสาํ คัญทหารกองเกิน บตั รประจาํ

ตัวประชาชน และประกาศนยี บตั รหรอื หลักฐานการศึกษา

บุคคลทไี มต่ อ้ งเขา้ รบั ราชการทหาร

พระภกิ ษุทมี สี มณศักดิ คนพกิ ารทพุ พลภาพ

02

กฎหมายทีเกียวข้องกับชุ มชนและประเทศ

กฎหมาย ภาษีอากร คือเงินทีรฐั บาลเรยี กเก็บจาก
ภาษีอากร ประชาชนตามกฎหมายเพอื เปนรายได้ของรฐั โดย
รฐั ก าหนด วา่ ประชาชนทีมรี ายไดต้ ้องเสยี ภาษีใหก้ ับ
รฐั เพอื รฐั จะได้ใชเ้ งินส าหรบั การใชจ้ า่ ยในด้าน
ต่างๆ ของรฐั บาลเพอื เปนการอ านวยความสะดวก
ความสขุ ต่างๆ ของประชาชน รายได้ของรฐั บาลที
เรยี กเก็บเงินภาษีของประชาชน ทีต้องจา่ ยใหร้ ฐั มี
รายละเอียดดังนี

กรมทีมหี นา้ ทีจดั เก็บภาษี 3 กรมหลักอยูใ่ นสงั กัดกระทรวงการคลัง ประกอบด้วย

กรมสรรพากร กรมศุลกากร กรมสรรพสามติ

ประมวลกฎหมายรษั ฎากร เปนกฎหมายทีใหอ้ ํานาจกรมสรรพากร กระทรวง
การคลังจดั เก็บภาษีเงิน ได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดน้ ติ ิบุคคล และภาษีมูลค่า
เพมิ มสี าระสาํ คัญดงั นี

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เปนภาษีทีเรยี กเก็บจากบุคคลผมู้ รี ายได้ เชน่
ขา้ ราชการพนกั งานผปู้ ระกอบอาชพี อิสระ เชน่ ทนายความ นกั รอ้ ง นกั แสดง
เปนต้น ทังนีจะเก็บจากเงินได้พงึ ประเมนิ ทีผเู้ สยี ภาษีดงั กล่าวได้รบั หกั ดว้ ยค่าใช้
จา่ ยและค่าลดหยอ่ ยเหลือเปนเงินไดส้ ทุ ธเิ ท่าใดจงึ นําไปคํานวณภาษีตามอัตราที
กฎหมายกําหนด ผทู้ ีมรี ายได้มากยอ่ มต้องเสยี ภาษีมาก ผมู้ รี ายได้นอ้ ยจะเสยี
ภาษีนอ้ ย

02

กฎหมายทีเกียวข้องกับชุ มชนและประเทศ

กฎหมาย สาํ หรบั มนษุ ยเ์ งินเดอื นทีมเี งินได้ ปกติการยนื แบบ
ภาษีอากร แสดงรายการ จะยนื ปละ 1 ครงั (ยนื แบบฯ ภายใน
วนั ที 31 มนี าคม ของปถัดไป) แต่ถ้าเงินได้บาง

ลักษณะ เชน่ การใหเ้ ชา่ ทรพั ยส์ นิ เงินได้จากวชิ าชพี

อิสระ เงินได้จากการรบั เหมา เงินได้จากธุรกิจ การ

พาณชิ ย์ เปนต้น จะต้องยนื แบบฯ ตอนกลางป
(สาํ หรบั เงินได้ทีเกิดขนึ ใน 6 เดือนแรก ภายในเดอื น
กันยายนของทกุ ป)

02

กฎหมายทีเกียวข้องกับชุ มชนและประเทศ

วธิ คี ํานวณภาษีเงนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดาสนิ ปการคํานวณภาษีใหท้ ําเปน 3 ขนั ตอน คอื

123

คดิ ภาษีแบบขนั บนั ได คดิ ภาษีแบบเหมา เปรยี บเทยี บและสรปุ

02

กฎหมายทีเกียวข้องกับชุ มชนและประเทศ

123

คดิ ภาษีแบบขนั บนั ได คดิ ภาษีแบบเหมา เปรยี บเทยี บและสรปุ

02

กฎหมายทีเกียวข้องกับชุ มชนและประเทศ

123

คดิ ภาษีแบบขนั บนั ได คดิ ภาษีแบบเหมา เปรยี บเทยี บและสรปุ

กรณที จี ะตอ้ งคํานวณภาษีตามวธิ คี ดิ แบบเหมา คอื ตอ่ เมอื มรี ายไดท้ างอนื นอก
เหนอื จากเงนิ ไดป้ ระเภทที 1 หรอื เงนิ เดอื น หากรายไดจ้ ากทางอืนทงั หมดมี
จาํ นวนรวมกนั ตงั แต่ 120,000 บาทขนึ ไป ใหค้ ํานวณในอตั รารอ้ ยละ 0.5 ของ
ยอดเงนิ ไดพ้ งึ ประเมนิ

โดยวธิ นี มี ขี อ้ ควรระวงั คอื
จะคํานวณจากรายไดท้ างอนื ๆ ทกุ ทางยกเวน้ เงนิ เดอื น
หากคํานวณดว้ ยวธิ คี ดิ แบบเหมาแลว้ มภี าษีทตี อ้ งเสยี ทงั สนิ ไมเ่ กนิ 5,000
บาท จะไดร้ บั การยกเวน้ ภาษีในวธิ นี ี

02

กฎหมายทีเกียวข้องกับชุ มชนและประเทศ

123

คดิ ภาษีแบบขนั บนั ได คดิ ภาษีแบบเหมา เปรยี บเทยี บและสรปุ

เปรยี บเทยี บและสรปุ โดยใหเ้ ทยี บกนั ระหวา่ ง 2 วธิ นี ี คอื วธิ คี ดิ แบบขนั
บนั ได กบั วธิ คี ดิ แบบเหมา โดยวธิ ใี ดคํานวณแลว้ เสยี ภาษีสงู กวา่ ใหเ้ ลอื กเสยี
ภาษีตามวธิ นี นั

02

กฎหมายทีเกียวข้องกับชุ มชนและประเทศ

กฎหมาย กฎหมายคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคของไทยในปจจุบนั
ค้มุ ครองผบู้ รโิ ภค มจี าํ นวนหลายฉบบั ซงึ กฎหมายแตล่ ะฉบบั มี
อํานาจและหนา้ ทใี นการใหค้ วามคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค
ทแี ตกตา่ งกนั โดยมหี นว่ ยงานราชการทําหนา้ ทใี น
การบงั คบั ใชใ้ หเ้ ปนไปตามกฎหมาย ซงึ หนว่ ยงาน
ราชการดงั กลา่ ว กระจาย อยูต่ ามกระทรวงตา่ ง ๆ
โดยสามารถแบง่ ออกเปน 2 ประเภท ดงั นี

1. กฎหมายคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคทีมหี นา้ ทีคมุ้ ครองสทิ ธขิ องผบู้ รโิ ภคโดยตรง
คอื พระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองผบู้ รโิ ภค พ.ศ. 2522 ซงึ แกไ้ ขเพมิ เตมิ โดยพระราช
บญั ญตั คิ ณะกรรมการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค (ฉบบั ที 2) พ.ศ. 2541 ไดก้ ําหนดใหผ้ ู้
บรโิ ภคมสี ทิ ธทิ จี ะไดร้ บั ความคมุ้ ครองตามกฎหมาย 5 ประการดงั นี

สทิ ธทิ จี ะไดร้ บั ขา่ วสารรวมทงั คําพรรณนาคณุ ภาพทถี กู ตอ้ งและเพยี งพอ
เกยี วกบั สนิ คา้ หรอื บรกิ าร

สทิ ธทิ จี ะไดอ้ สิ ระในการเลอื กหาสนิ คา้ หรอื บรกิ าร
สทิ ธทิ จี ะไดร้ บั ความปลอดภยั จากการใชส้ นิ คา้ หรอื บรกิ าร
สทิ ธทิ จี ะไดร้ บั ความเปนธรรมในการทําสญั ญา
สทิ ธทิ จี ะไดก้ ารพจิ ารณาและชดเชยความเสยี หา
หลกั ทวั ไปของการบงั คบั ใชก้ ฎหมาย คอื เมอื มกี ฎหมายฉบบั ใดใหอ้ ํานาจใน
การคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคไวเ้ ปนการเฉพาะแลว้ กต็ อ้ งบงั คบั ตามกฎ หมายฉบบั นนั
ตวั อยา่ งเชน่ กรณที ผี บู้ รโิ ภคถกู ละเมดิ สทิ ธเิ กยี วกบั เรอื งอาหาร ผบู้ รโิ ภค
สามารถไปรอ้ งเรยี นทสี าํ นกั งานคณะ กรรมการอาหารและยาซงึ เปนหนว่ ยงานที
มอี ํานาจหนา้ ที ตามพระราชบญั ญตั อิ าหาร พ.ศ. 2522 ซงึ เปนกฎหมายคมุ้ ครอง
ผบู้ รโิ ภค เฉพาะเรอื งสนิ คา้ อาหารเทา่ นนั แตถ่ า้ กรณไี มม่ กี ฎหมายใด หรอื หนว่ ย
งานใดใหค้ วามคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคเปนการเฉพาะแลว้ กต็ อ้ งใช้ พระราชบญั ญตั ิ
คมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค พ.ศ. 2522 ซงึ ใหค้ วามคมุ้ ครองในผบู้ รโิ ภคดา้ นสนิ คา้ และ
บรกิ ารทวั ไป

02

กฎหมายทีเกียวข้องกับชุ มชนและประเทศ

2. กฎหมายคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคทีมหี นา้ ทีคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค โดยการเขา้ ไป
ควบคมุ ตรวจสอบ และกํากบั ดแู ลผปู้ ระกอบธรุ กจิ ทผี ลติ สนิ คา้ หรอื บรกิ าร
เพอื ใหผ้ บู้ รโิ ภคไดร้ บั ความเปนธรรมและไดร้ บั ความปลอดภยั ในการใชส้ นิ คา้
และการรบั บรกิ าร โดยสามารถแบง่ ออก เปน 2 ประเภท ดงั นี

2.1 กฎหมายคมุ้ ครองเพอื ใหผ้ บู้ รโิ ภคได้ 2.2 กฎหมายคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคเพอื ใหผ้ ู้
รบั ความปลอดภยั ในการใชส้ นิ คา้ และ บรโิ ภคไดร้ บั ความเปนธรรมในการใช้
การรบั บรกิ าร เชน่ สนิ คา้ และการรบั บรกิ าร เชน่

กฎหมายคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคโดย กฎหมายคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคโดย
กระทรวงพาณชิ ย์
กระทรวงสาธารณสขุ
- พระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั สขุ ภาพ - พระราชบญั ญตั กิ ารแขง่ ขนั ทางการ
แหง่ ชาติ พ.ศ. 2545 คา้ พ.ศ. 2542
- พระราชบญั ญตั อิ าหาร พ.ศ. 2522 - พระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยราคาสนิ คา้
- พระราชบญั ญตั ยิ า พ.ศ. 2510 และบรกิ าร พ.ศ. 2542
กฎหมายคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคโดย
กฎหมายคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคโดย กระทรวงยุตธิ รรม
กระทรวงอุตสาหกรรม
- พระราชบญั ญตั มิ าตรฐานผลติ ภณั ฑ์ - พระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยขอ้ สญั ญาไม่
อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เปนธรรม พ.ศ. 2540
- พระราชบญั ญตั วิ ตั ถอุ ันตราย พ.ศ.
2535

เมอื ผบู้ รโิ ภคถกู ละเมดิ สทิ ธหิ รอื ไมไ่ ดร้ บั
ความเปนธรรมจากผปู้ ระกอบธรุ กจิ เนอื งจากการใช้
สนิ คา้ หรอื บรกิ าร ผบู้ รโิ ภคยอ่ มได้ รบั ความคมุ้ ครอง
ตามกฎหมายโดยผบู้ รโิ ภคสามารถรอ้ งเรยี นไดท้ ี
สาํ นกั งานคณะกรรมการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคคณะ
กรรมการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคคณะอนกุ รรมการ
คมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคประจาํ จงั หวดั หรอื หนว่ ยงานที
เกยี วขอ้ ง

02

กฎหมายทีเกียวข้องกับชุ มชนและประเทศ

กฎหมาย พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ คอื พระราชบญั ญตั ทิ วี า่ ดว้ ย
พระราชบญั ญตั ิ การกระทําผดิ เกยี วกบั คอมพวิ เตอร์ ซงึ
คอมพวิ เตอรท์ วี า่ นกี เ็ ปนไดท้ งั คอมพวิ เตอรต์ งั โตะ๊
คอมพวิ เตอร์ คอมพวิ เตอรโ์ นต้ บุค๊ สมารต์ โฟน รวมถงึ ระบบ
ตา่ งๆ ทถี กู ควบคมุ ดว้ ยระบบคอมพวิ เตอรด์ ว้ ย ซงึ
เปนพ.ร.บ.ทตี งั ขนึ มาเพอื ปองกนั ควบคมุ การกระ
ทําผดิ ทจี ะเกดิ ขนึ ไดจ้ ากการใชค้ อมพวิ เตอร์ หาก
ใครกระทําความผดิ ตามพ.ร.บ.คอมพวิ เตอรน์ ี กจ็ ะ
ตอ้ งไดร้ บั การลงโทษตามทพี .ร.บ.กําหนดไว้
ปจจุบนั มคี นใชค้ อมพวิ เตอร์ รวมถงึ สมารต์ โฟน

เปนจาํ นวนมาก บางคนกอ็ าจจะใชใ้ นทางทเี ปนประโยชน์ แตบ่ างคนกอ็ าจใชส้ งิ นี
ทํารา้ ยคนอืนในทางอ้อมดว้ ยกไ็ ด้ เราอาจจะไดย้ นิ ขา่ วเรอื งการกระทําความผดิ
ทางคอมพวิ เตอรอ์ ยูบ่ า้ ง ซงึ บางเหตกุ ารณก์ ส็ รา้ งความเสยี หายไมน่ อ้ ยเลย เพอื
จดั การกบั เรอื งพวกนี เลยตอ้ งมพี .ร.บ.ออกมาควบคมุ ในเมอื การใช้
คอมพวิ เตอรเ์ ปนเรอื งใกลต้ วั เรา พ.ร.บ.คอมพวิ เตอรก์ เ็ ปนเรอื งใกลต้ วั เราเชน่
กนั หากเราไมร่ เู้ อาไว้ เราอาจจะเผลอไปทําผดิ โดยทเี ราไมไ่ ดต้ งั ใจกไ็ ด้

พ.ร.บ. คอมพวิ เตอร์ มกี ฉี บบั ?

ประเทศไทย มี พ.ร.บ. คอมพวิ เตอร์ มา
แลว้ 2 ฉบบั คอื ฉบบั แรก ป 2550 และ

ฉบบั สอง ป 2560 โดย พ.ร.บ.
คอมพวิ เตอรฉ์ บบั ลา่ สดุ คอื ฉบบั ป 2560

แกไ้ ขมใิ ห้ “ความผดิ หมนิ
ประมาท” เปนความผดิ ตาม
พ.ร.บ คอมพวิ เตอร์ อกี ตอ่ ไป

02

กฎหมายทีเกียวข้องกับชุ มชนและประเทศ

พระราชบญั ญตั ิ (พ.ร.บ.) วา่ ดว้ ยการกระทําความผดิ เกยี วกบั คอมพวิ เตอร์
พ.ศ.2560 ทสี ภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาตใิ หค้ วามเหน็ ชอบเมอื เดอื นธนั วาคม เมอื ป
2559 และไดป้ ระกาศลงราชกจิ จานเุ บกษาเมอื วนั ที 24 มกราคม 2560 มผี ลบงั คบั
ใชแ้ ลว้ ในวนั ที 24 พ.ค.2560
เพอื การใชอ้ อนไลนอ์ ยา่ งถกู กฎหมาย สาํ หรบั สาระสาํ คญั ทหี ลายคนควรพงึ ระวงั
ใน พ.ร.บ.วา่ ดว้ ยกระทําความผดิ เกยี วกบั คอมพวิ เตอร์ พ.ศ. 2560 หรอื
พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ ฉบบั 2มสี าระสาํ คญั จาํ งา่ ยๆ ดงั นี
1. การฝากรา้ นใน Facebook, IG ถอื เปนสแปม ปรบั 200,000 บาท
2. สง่ SMS โฆษณา โดยไมร่ บั ความยนิ ยอม ใหผ้ รู้ บั สามารถปฏเิ สธขอ้ มูลนนั ได้ ไม่
เชน่ นนั ถอื เปนสแปม ปรบั 200,000 บาท
3. สง่ Email ขายของ ถอื เปนสแปม ปรบั 200,000 บาท

4. กด Like ไดไ้ มผ่ ดิ พ.ร.บ.คอมพฯ์ ยกเวน้ การกดไลค์ เปนเรอื งเกยี วกบั สถาบนั
เสยี งเขา้ ขา่ ยความผดิ มาตรา 112 หรอื มคี วามผดิ รว่ ม
5. กด Share ถอื เปนการเผยแพร่ หากขอ้ มูลทแี ชรม์ ผี ลกระทบตอ่ ผอู้ ืน อาจเขา้
ขา่ ยความผดิ ตาม พ.ร.บ.คอมพฯ์ โดยเฉพาะทกี ระทบตอ่ บุคคลที 3
6. พบขอ้ มูลผดิ กฎหมายอยูใ่ นระบบคอมพวิ เตอรข์ องเรา แตไ่ มใ่ ชส่ งิ ทเี จา้ ของ
คอมพวิ เตอรก์ ระทําเอง สามารถแจง้ ไปยงั หนว่ ยงานทรี บั ผดิ ชอบได้ หากแจง้
แลว้ ลบขอ้ มูลออกเจา้ ของกจ็ ะไมม่ คี วามผดิ ตามกฎหมาย เชน่ ความเหน็ ใน
เวบ็ ไซตต์ า่ ง ๆ รวมไปถงึ เฟซบุก๊ ทใี หแ้ สดงความคดิ เหน็ หากพบวา่ การแสดง
ความเหน็ ผดิ กฎหมาย เมอื แจง้ ไปทหี นว่ ยงานทรี บั ผดิ ชอบเพอื ลบไดท้ นั ที
เจา้ ของระบบเวบ็ ไซตจ์ ะไมม่ คี วามผดิ

บรรณานุกรม

https://contentshifu.com/blog/computer-law
https://www.rd.go.th/49125.html
https://pridi.or.th/th/content/2021/06/748
https://www.lawreform.go.th/uploads/files/1579159164-z0g5i-
k7mh7.pdf
http://www.thaischool1.in.th/_files_school/32100978/other/ita_321009
78_1_20200914-182831.pdf
http://www.bpp.go.th/bpp_st6/BPPNITIK/INDEX/civil%20law/pang01.h
tm
https://dla.wu.ac.th/th/archives/3547
https://www.sw2.ac.th/images/user/root/soc31102/57so3110207.pdf
https://www.krisdika.go.th/librarian/getfile?sysid=300167&ext=htm

LAW


Click to View FlipBook Version