The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นางอรนรินทร์ มีสัจจานนธนกุล รายงานการฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

นางอรนรินทร์ มีสัจจานนธนกุลรายงานการฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษา

นางอรนรินทร์ มีสัจจานนธนกุล รายงานการฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษา

คำนำ

รายงานฉบับจัดทำขึ้นตามหลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
ก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ตาม หนังสือสำนกั งาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.7/ว8 ลงวันท่ี 29 เมษายน 2565 ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการ
การ อาชีวศึกษาโดยความร่วมมือกับสถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา โดยกำหนด
กิจกรรมในการพัฒนาตามกรอบหลักสูตรและเกณฑ์การพัฒนาที่กำหนดขึ้น รายงานฉบับนี้ประกอบไปด้วย
สรุปผลการพัฒนาตนเองในกิจกรรมที่ ๓ การฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษา เพื่อให้ผู้พัฒนาได้รับการฝึก
ปฏบิ ัตกิ ารบริหารสถานศกึ ษาในสถานการณจ์ รงิ อันจะก่อให้เกิด คุณลักษณะการดำรงตนของรองผู้อำนวยการ
สถานศึกษาอาชีวศึกษายุคชีวิตวิถีอนาคต (Next Normal) ภาวะ ผู้นำทางวิชาการและวิชาชีพ การบริหาร
และการจัดการในสถานศึกษา ได้ศึกษาแนวทางการนำนโยบายสู่การ ปฏิบัติจริง การสร้างเครือข่ายในการ
แลกเปลีย่ นเรยี นรู้และนำความรู้ ประสบการณ8ทีไ่ ด้ไปประยกุ ต8ใช้ในการ บริหารจัดการในสถานศึกษา ให้
เกิดประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลเหมาะสมกบั สถานการณ์ปจั จุบนั

อรนรินทร์ มสี จั จานนธนกลุ
ผู้จดั ทำ

สารบญั หนา้
เร่อื ง 1
ข้อมลู พ้ืนฐานของสถานศกึ ษาแหง่ ท่ี 1 และแหง่ ท่ี 2
ประเด็นการศึกษา สถานศึกษาแห่งที่ 1 2
2
1. กลยทุ ธในการขบั เคลอ่ื น Future Skill ของสถานศกึ ษา 4
2. ระบบการบรหิ ารจัดการสคู่ ณุ ภาพ 4
3. การสรา้ งความเขม้ แขง็ ของระบบความรว่ มมือกบั สถานประกอบการ
4. การขบั เคล่อื นระบบงานวิชาการ 7
ประเดน็ การศกึ ษา สถานศกึ ษาแห่งท่ี 2 8
1. กลยทุ ธในการขับเคล่อื น Future Skill ของสถานศึกษา 9
2. การสรา้ งความเขม้ แข็งของระบบความรว่ มมอื กบั สถานประกอบการ 9
3. ระบบการบรหิ ารจัดการสูค่ ณุ ภาพ 11
4. การขับเคลื่อนระบบงานวชิ าการ
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก รปู ภาพการฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศกึ ษา
ภาคผนวก ข แบบบนั ทึกการฝึกประสบการณใ์ นสถานศกึ ษา
ภาคผนวก ค ใบลงเวลาการฝกึ ประสบการณ์ในสถานศกึ ษา

รายงานการฝึกประสบการณใ์ นสถานศึกษา 1

วทิ ยาลยั เทคนิคกาญจนาภเิ ษก มหานคร และวิทยาลยั อาชวี ศึกษาปทุมธานี
ระหว่างวนั ที่ 25 เมษายน – 6 พฤษภาคม 2565

1. ข้อมลู พืน้ ฐานสถานศกึ ษา
วทิ ยาลัยเทคนคิ กาญจนาภิเษก มหานคร สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
วสิ ยั ทัศน์

วิทยาลยั เทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร มุ่งจัดการศึกษาระดับอาชีวศกึ ษาการฝกึ อบรมเพ่อื พัฒนา
ศักยภาพของบุคคลให้มีความรู้ ความสามารถ เป็นช่างฝึมือ ช่างเทคนิค และนักเทคโนโลยี ที่มีคุณธรรมใน
วิชาชีพ และมีความสามารถในการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีวิสัยทัศน์ในการทำงานที่ดำรงชี พด้วยตนเองและ

ครอบครัว เพิ่มคุณภาพผลผลิตโดยรวมของประเทศโดยการจดั การศึกษาทีห่ ลากหลาย ให้สอดคล้องกับความ
ต้องการของผู้เรียน สถานประกอบการ ชุมชนท้องถิ่น ตลาดแรงงาน ตลอดจนให้สงั คมมีส่วนรว่ มในการจดั
การศกึ ษาและสามารถทจี่ ะปรับปรงุ และพฒั นาการจดั การศกึ ษาให้พรอ้ มทจี่ ะเข้าสมู่ าตรฐานนานาชาติได้

แผนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาวิทยาลัยเทคนคิ กาญจนาภิเษก มหานคร
เพื่อจัดการศึกษาและพัฒนานักเรียนนักศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ระดับ
ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชน้ั สูง (ปวส.) และระดบั ปริญญาตรี (ทล.บ.) ของวทิ ยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษกมหา

นคร ให้เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ มสี ติปัญญา มที ักษะในการประกอบอาชพี เปน็ สมาชิกที่ดขี องสงั คม โดย
ให้เปน็ นโยบาย ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สอดคล้องกับงานประกันคุณภาพและโรงเรียน
พระราชทาน ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

พันธกิจ 1. มงุ่ พฒั นาบุคลากรใหม้ คี ณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพอย่างต่อเนอื่ ง ดว้ ยเทคโนโลยีสารสนเทศ
2. มุ่งจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะ ตอบสนองแรงงานและสถาน

ประกอบการ ใหท้ ันตอ่ เทคโนโลยีท่เี ปล่ียนแปลง

3. มุ่งพัฒนาผลงาน การวจิ ัยและนวัตกรรมเพื่อตอบสนองการให้บริการตอ่ ชมุ ชน
4. พฒั นาการบรหิ ารจดั การใหม้ คี ุณภาพและประสทิ ธิภาพด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ

วทิ ยาลัยการอาชีวศึกษาปทุมธานี สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
วิสัยทัศน์ : "เป็นสถานศึกษาที่บรู ณาการ การจัดอาชวี ศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนให้มีความ
เป็นเลศิ ตามคณุ ภาพมาตรฐาน"

พนั ธกิจ
พนั ธกจิ ท่ี 1 บรู ณาการการจัดการศกึ ษาวิชาชพี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม อตุ สาหกรรม
การทอ่ งเท่ียว และเกษตรกรรม ให้สอดคล้องกับความตอ้ งการของตลาดแรงงานโดยร่วมกบั ภาคเี ครือข่าย

พนั ธกจิ ท่ี 2 ผลิตและพฒั นากำลงั คนดา้ นอาชีวศึกษา ใหม้ สี มรรถนะทางวชิ าชีพ เปน็ พลเมอื งดีมี จิต
อาสาตามคุณลักษณะที่พึงประสงค์ต่อสังคมและมีทกั ษะชีวิตในศตวรรษที่ 21 สามารถปฏิบัติงานอาชีพ ได้
อยา่ งมีคณุ ภาพเป็นทย่ี อมรับตามมาตรฐาน

พันธกจิ ท่ี 3 ส่งเสรมิ การสร้างองค์ความรู้ เพือ่ พฒั นา นวตั กรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวิจัย
และการเปน็ ผู้ประกอบการ

พนั ธกิจท่ี 4 พัฒนาสถานท่ี แหลง่ เรยี นรู้ ฝกึ อบรมและบริการวิชาชีพท่ีหลากหลายเพ่ือให้บริการ ด้าน

วิชาการใหแ้ ก่บุคคล ชุมชน และหน่วยงานทัว่ ไป

2. วเิ คราะห์บรบิ ทของสถานศกึ ษา 2
วิทยาลยั เทคนคิ กาญจนาภเิ ษก มหานคร

จุดแข็ง (Strength)

1. บคุ ลากรมีความรคู้ วามสามารถตรงตามสาขาวิชาและความถนดั

2. มีสาขาวิชา และสาขางานที่หลากหลาย ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนได้ตามความถนัดและความ

ตอ้ งการของผู้เรยี น ชุมชน ตลาดแรงงาน

3. พัฒนาบคุ ลากรใหม้ ีความพรอ้ มทางด้านวชิ าการอยู่เสมอ

4. ผบู้ รหิ าร ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา เข้าไปมสี ่วนรว่ มกบั ชมุ ชน สถานประกอบการ

จุดออ่ น (Weakness)

1. ครภุ ัณฑ์ อุปกรณ์ในการจัดการเรยี นการสอนไมเ่ พียงพอและไม่ทนั สมยั

2. หอ้ งเรียนและห้องปฏิบัตกิ ารไมไ่ ด้รบั การดแู ลซอ่ มบำรุง อย่างตอ่ เน่อื ง

3. งบประมาณมไี มเ่ พียงพอ

4. บคุ ลากรมไี มเ่ พยี งพอ

5. มกี ารทะเลาะววิ าทของนักเรียน

ผบู้ ริหารวิทยาลยั เทคนคิ กาญจนาภิเษก มหานคร ไดม้ แี นวคิดการบรหิ ารการจดั การสถานศึกษาและ

คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา โดยทกุ องคก์ รล้วนแสวงหาบุคลากรทมี่ ีความรู้ ความสามารถ และทัศนคติ

ทด่ี เี ขา้ มาเป็นส่วนหนง่ึ ของทมี ทกุ องคก์ รตา่ งขับเคลอ่ื นดว้ ยบคุ ลากรซึง่ เป็นทรพั ยากรที่ทรงคณุ คา่ ยิ่งไปกว่านั้น

คณุ ค่าของบคุ ลลที่สามารถรวมกนั เปน็ ทีมท่ีมปี ระสทิ ธิภาพกจ็ ะสง่ ผลต่อความสำเรจ็ ขององคก์ รได้

ทีมงานทมี่ ปี ระสิทธิภาพสามารถสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันให้กบั องค์กรไดอ้ ยา่ งยัง่ ยนื ความ

ทา้ ทายขององคก์ ร คือทำอย่างไรให้การทำงานเป็นทมี เกดิ ขนึ้ ได้อยา่ งเป็นรูปธรรม และทำอยา่ งไรใหเ้ ป็นทีมทม่ี ี

ประสทิ ธิภาพ ทมี ท่ีเป็นรปู ธรรม ไมใ่ ชท่ มี ทจ่ี ัดต้ังเฉพาะกิจ แตเ่ ปน็ Mindset ของการพฒั นางานสู่เป้าหมาย

เดียวกั การทำงานที่มุ่งมน่ั รว่ มแรงรว่ มใจบรรลุเป้าหมายใหไ้ ด้ มีระบบการทำงานที่ชดั เจน ทุกคนรหู้ น้าท่ี

ปฏิบัตภิ ารกจิ ใหด้ ีทส่ี ุด สมานสามคั คี ให้ความร่วมมอื ช่วยเหลือเกื้อกูล ผลกั ดนั กนั และกนั ช่นื ชมความสำเรจ็

ร่วมกนั ร่วมภาคภูมิใจดว้ ยกนั

ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาจงึ มุ่งมัน่ ทจี่ ะพฒั นาและยกระดบั การทำงานเปน็ ทีม โดยมีกลยุทธ์ในการ

ขับเคลอื่ น FUTURE SKILL ของสถานศึกษา และมีระบบการบรหิ ารจัดการส่คู ุณภาพ โดยใช้ Model กล

ยทุ ธ์การจดั การและสร้างพลงั ทีมงานท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพดว้ ยรปู แบบ KTCM Teamwork สคู่ วามสำเรจ็ ของ

วทิ ยาลัยเทคนคิ กาญจนาภิเษก มหานคร ดงั นี้

K : Knowledge Tearms ทีมสร้างความรู้แกเ่ ดก็ ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ เกดิ ทกั ษะฝมี ือในการเรยี นสาย

อาชพี ไดแ้ ก่

- การสอน ถ่ายทอดความรู้ของครอู ยา่ งมอื อาชีพ

- การไดร้ บั รางวลั จากการประกวด/แขง่ ขนั ของนักเรยี น นกั ศกึ ษา

- การมีวิทยฐานะของครสู งู ขึ้น

T : Talent PR Teams ทมี สรา้ งความท้าทายในการประชาสัมพนั ธป์ รบั ภาพลักษณข์ อง 3

วทิ ยาลัย ไดแ้ ก่

- การนำเสนอข่าวในทางสรา้ งสรรค์

- ใช้ทุกชอ่ งทางในการสือ่ สารกับสังคม

- บอกกล่าวเร่ืองราวที่ดแี ก่ ผปู้ กครอง ชุมชน สังคม

- ปรบั ภมู ทิ ศั นใ์ หส้ ะอาด รม่ รน่ื เปิดรบั การมาเยือนของบคุ คลภายนอก

C : Community Teams ทมี สร้างเครอื ขา่ ยชุมชน สงั คม และสว่ นราชการในพื้นท่ีไดแ้ ก่

- นำความรูไ้ ปใหบ้ ริการชุมชน (Fix it center)

- ประสานความร่วมมือกบั สว่ นราชการ

- สร้างการมีสว่ นรว่ มจากทกุ ภาคสว่ น

M : Manaufacturing Teams ทีมสรา้ งเครอื ข่ายความรว่ มมือกับสถานประกอบการ ไดแ้ ก่

- สรา้ งความร่วมมอื กับสถานประกอบการท่จี ัดการศกึ ษาดา้ นอาชวี ศกึ ษา

- การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนร่วมกบั ภาคอุตสาหกรรม

- ความร่วมมือท้งั ภายในประเทศและต่างประเทศ

วทิ ยาลยั ยังได้จดั การศึกษาและพัฒนานักเรียนนักศกึ ษาในระดับประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ปวช.) ระดบั

ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชนั้ สงู (ปวส.) และระดับปริญญาตรี (ทล.บ.) ของวิทยาลยั เทคนคิ กาญจนาภิเษกมหา

นคร ให้เปน็ ผู้มคี วามรู้ ความสามารถ มีสติปญั ญา มีทักษะในการประกอบอาชพี เปน็ สมาชกิ ทด่ี ีของสังคม โดย

ให้เป็นนโยบาย ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สอดคล้องกบั งานประกันคุณภาพและโรงเรียน

พระราชทาน ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ วิทยาลัยฯ จึงกำหนดวัตถุประสงค์การจัด

การศึกษา ดังนี้

๑. องค์กรมีภาพลักษณท์ ่ดี ี

๒. ผสู้ ำเรจ็ การศกึ ษามีคุณภาพเป็นทย่ี อมรบั

๓. ผรู้ ับบรกิ ารมีความพงึ พอใจ

๔. การบริการวชิ าการและวิชาชีพเป็นทย่ี อมรับ

๕. องคก์ รนา่ เชอื่ ถอื

๖. ผลงานวจิ ัยมีประโยชนแ์ ละเป็นทยี่ อมรบั ของอตุ สาหกรรมและชมุ ชน

๗. มหี ลกั สูตรทส่ี อดคล้องกบั ความต้องการ

๘. มกี ารเรียนการสอนที่มปี ระสทิ ธิภาพ

๙. มเี ครอื ข่ายความรว่ มมอื ในการทำวิจัยและบริการวชิ าการ

๑๐. มรี ะบบและกลไกในการสนบั สนนุ การวิจยั ที่มปี ระสทิ ธิภาพ

๑๑. มีระบบประชาสมั พนั ธ์ทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพ

๑๒. มรี ะบบประกันคุณภาพทมี่ ีประสทิ ธภิ าพ

13. มกี ระบวนการทม่ี ีประสทิ ธิภาพ

๑4. มบี คุ ลากรทม่ี สี มรรถนะตามกำหนด

๑5. มวี ฒั นธรรมการทำงานทีด่ ี 4

๑6. มขี วญั กำลงั ใจในการทำงาน

๑7. มีระบบสารสนเทศท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ

๑8. มกี ารจดั การองค์ความรู้

๑9. มรี ะบบบรหิ ารทรพั ยากรทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพ

20. มรี ะบบการหารายไดท้ ่เี พม่ิ ข้นึ

สถานศึกษาผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษาภายใต้บริบทความร่วมมือของ ชุมชน สถาน

ประกอบการ ตลาดแรงงาน หน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ ง ตามเป้าหมายของการปฏิรูปการศกึ ษาในทศวรรษท่สี องและ

ฝกึ อบรมวชิ าชีพ กำลังคนอาชวี ศกึ ษาท่ีอย่นู อกระบบใหเ้ พ่มิ ขน้ึ

วทิ ยาลยั เทคนคิ กาญจนาภิเษก มหานคร มีการสรา้ งความเข้มแข็งของระบบความร่วมมอื กบั สถาน

ประกอบการ มีการพฒั นาหลกั สูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ โดยสถานศึกษามกี ารศึกษาความต้องการ

ของตลาดแรงงานเพื่อการพฒั นาหรอื ปรับปรงุ หลกั สตู ร มีการประสานงานกับสถานประกอบการอย่างต่อเนื่อง

ในการพัฒนาหรือการปรบั ปรงุ หลักสตู ร มีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะในสาขางานหรือรายวิชาร่วมกับ

สถานประกอบการ เพื่อให้ผู้เรียนมีสมรรถนะอาชีพสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความ

ต้องการของตลาดแรงงาน มีการใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะที่ได้จากการพัฒนา อีกทั้งยังมีการติดตาม

ประเมินผล และปรงุ สูตรฐานสมรรถนะทไี่ ดจ้ ากการพัฒนา อยา่ งต่อเนอ่ื ง

สถานศึกษามีความสำเร็จในการดำเนินการบริหารจัดการสถานศึกษา ตามนโยบายสำคัญที่

หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษามอบหมาย โดยความร่วมมือของผู้บริหาร ครู

บุคลากรทางการศึกษาและผู้เรียน รวมทั้งการช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุนจากผู้ปกครอง ชุมชน สถาน

ประกอบการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน

สถานศึกษามีการสร้างความร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ ท้ังในประเทศและ

ต่างประเทศในการจัดการศึกษา การจัดทรัพยากรทางการศึกษา กระบวนการเรียนรู้ การบริการทาง

วิชาการและวิชาชีพ โดยใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม เพื่อพัฒนาผู้เรียนและคนในชุมชนสู่สังคมแห่งการ

เรียนรู้

การสร้างความเช่ือมัน่ ให้แก่ผทู้ ่มี ีสว่ นเก่ยี วขอ้ ง

1. การผลิตกำลังคนผู้สำเร็จการศึกษาอย่างมีคุณภาพ มีความรู้ ทักษะในการประยุกต์ใช้ ในทุก

สาขาวิชา ปลูกฝังลักษณะอันพึงประสงค์ที่ดีให้กับผู้เรียน ให้เป็นพลเมืองที่ดีของสังคม อย่างมีคุณภาพ

ตอบสนองความตอ้ งการของตลาดแรงงานและสถานประกอบการ

2. จัดทำแผนคุณภาพการศกึ ษา และแผนปฏิบัตกิ ารประจำปีโดยมีส่วนร่วมของบุคลากรภายใน

และภายนอกสถานศึกษา รูปแบบคณะกรรมการ เพอ่ื ประโยชนแ์ ละคุณภาพในการจดั การศึกษา

3. การนำเสนอข้อมูลให้กับผู้มีสว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษาท้งั ภายในและภายนอกสถานศึกษาได้

รบั ทราบขอ้ มลู การจัดการศกึ ษาอย่างสม่ำเสมอและต่อเน่ือง

ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนให้การจัดการศึกษามีคุณภาพ การ

ขับเคลอื่ นระบบงานวชิ าการ โดยการจดั สรรทรพั ยากรทีม่ อี ยู่ในสถานศึกษาให้เกิดประโยชนส์ งู สุดภายใต้

5
บทบาทและหน้าที่ของผู้บริหารที่มีต่อภาระงานในสถานศึกษามากที่สุดนั้นคือขอบข่ายงานด้าน
วิชาการที่จะส่งผลต่อผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่ประกอบด้วยปัจจยั หลายประการไมว่ ่าจะเป็นด้าน
สภาพแวดล้อมภายนอกสถานศึกษา สถานที่ตั้ง แหล่งชุมชน การคมนาคม และสภาพแวดล้อมภายใน
สถานศึกษาเกย่ี วกับโครงสรา้ งการบรหิ ารงาน อาคารสถานทแ่ี ละบรรยากาศภายในสถานศกึ ษา ทส่ี ง่ ผลตอ่ การ
เรียนการสอน หากพจิ ารณาในส่วนของปัจจัยนำเข้าเช่นหลักสตู รสถานศึกษา สถานศึกษาครูผู้สอนผู้เรียนสื่อ
สนับสนุนการเรียนการสอน ตลอดจนกระบวนการบริหารจัดการด้านวิชาการระบบและกลไกต่าง ๆ ที่ใช้ใน
การขับเคลื่อนให้การจัดการเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดการศึกษาโดยเฉพาะการจัด
การศึกษาในระดับอาชีวศกึ ษาทัง้ ภาครัฐและเอกชนมีเป้าหมายหลกั คือผลติ และพฒั นากำลงั คนในด้านวิชาชีพ
ระดับฝีมือระดับเทคนิค และระดับเทคโนโลยีซึ่งมีความจำเป็นอย่างมากที่ภาครัฐต้องส่งเสริมให้จัดการ
อาชีวศึกษาให้สอดคล้องกับแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติและแผนการศึกษาแห่งชาตเิ พ่อื ผลติ และ
พัฒนากำลังคนให้สูงขึ้นตามความต้องการของตลาดแรงงานเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรม จัดการศึกษาเพ่ือ
ตอบสนองความตอ้ งการของสถานประกอบการ

การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาท่ีเป็นแบบอย่างท่ีดี (Best Practice) ความ
ร่วมมือของสถานศึกษากับสถานประกอบการเป็นเร่ืองที่จำเป็นและสำคัญ เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยน
เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ครูฝึก หรือผู้เช่ียวชาญ รวมถึงวัสดุอุปกรณ์ เคร่ืองมือท่ีทั นสมัย
และมีเทคโนโลยีที่สูง โดยเฉพาะเทคโนโลยียานยนต์ ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและเป็นงาน
บริการท่ีต้องตามเทคโนโลยีท่ีเปล่ียนแปลงนี้ให้ทันกับยุคสมัยดังกล่าว วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก
มหานคร ได้รับการคัดลือกจากมูลนิธิกลุ่มบริษัท ตรีเพชรอีซูซุ จำกัด ให้เ ป็น ๑ ใน ๑๒ ศูนย์การ
เรียนรู้เทคโนโลยียานยนต์ (สนับสนุนโดยอีซูซุ) ทั่วประเทศ ในการที่จะเป็นศูนย์อบรมความรู้
เทคโนโลยียานยนต์ให้กับครู นักศึกษา สถานศึกษาบริเวณใกล้เคียง ได้รับการสนับสนุนสื่อการเรียน
การสอน วัสดุฝึก เครื่องมือพิเศษ รวมถึงวิทยากรผู้เชี่ยวชาญในการให้ความรู้ และคำปรึกษา
เทคโนโลยียานยนต์ที่ทันสมัย เพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และการเรียนรู้ของผู้เรียนท่ีทันสมัย
และก้าวทันเทคโนโลยี ส่งผลให้ผู้เรียนได้รับรางวัลมากมาย

วิทยาลัยได้ดำเนินโครงการคลินิกวิชาการ เพื่อช่วยเหลือผู้เรียนที่มีปัญหาเรื่องการเรียน และ
แก้ปัญหาผู้เรียนในการออกกลางคัน ส่งผลให้ผู้เรียนได้จบตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ และ
ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชัน้ สูง โดยเปน็ ความร่วมมือจากครูผสู้ อน ผปู้ กครอง นกั เรยี น นักศึกษา เพ่ือร่วมกัน
ชว่ ยเหลือผู้เรียนใหจ้ บตามหลักสูตร

สถานศึกษาได้นำกลยุทธ์จากแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ไปจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี
การศึกษา เพื่อกำหนดเป็นโครงการ เพื่อขับเคล่ือนระบบงานวิชาการ

1. ดา้ นหลักสูตรอาชีวศึกษา ใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะท่สี อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผู้เรียน
ชุมชน สถานประกอบการ ตลาดแรงงาน มีการปรับปรุงรายวิชาเดมิ หรือกำหนดรายวิชาใหม่ หรือกลุ่มวิชา
เพิ่มเติมให้ทันตอ่ การ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความต้องการของตลาดแรงงาน โดยความร่วมมือกบั
สถานประกอบการหรือ หนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

6
2. สถานศึกษามีครูที่มีคุณวุฒิการศึกษาและมีจำนวนตามเกณฑ์ที่กำหนด ได้รับการ
พัฒนาอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง เพื่อเป็นผู้พร้อมทั้งด้านคุณธรรม จริยธรรมและความเข้มแข็งทาง
วิชาการและวิชาชีพ จัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียน
ทั้งวัยเรียนและวัยทำงาน ตามหลักสูตร มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา ตาม
ระเบียบหรือข้อบังคับเกี่ยวกับการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนของแต่ละหลักสูตร
ส่งเสริม สนับสนุน กำกับ ดูแลให้ครูจัดการเรียนการสอนรายวิชาให้ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์
3. สถานศึกษามีความสำเร็จในการดำเนินการบริหารจัดการสถานศึกษา ตามนโยบายสำคัญที่
หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษามอบหมาย โดยความร่วมมือของผู้บริหาร ครู
บุคลากรทางการศึกษาและผู้เรียน รวมท้ังการช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุนจากผู้ปกครอง ชุมชน สถาน
ประกอบการและหน่วยงานที่เก่ียวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน

สรปุ บรบิ ทของสถานศึกษาทงั้ 4 ประเดน็ วิเคราะหข์ ้อมลู โดยใชก้ ระบวนการ PDCA

รายงานการฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษา 7

วิทยาลยั การอาชีวศึกษาปทมุ ธานี

ระหวา่ งวันที่ 2 พฤษภาคม – 6 พฤษภาคม 2565

วิเคราะห์บรบิ ทสถานศกึ ษา วทิ ยาลยั การอาชีวศึกษาปทุมธานี

จดุ แข็ง (Strength)

1. บุคลากรมคี วามรู้ความสามารถตรงตามสาขาวิชาและความถนดั

2. มีสาขาวิชา และสาขางานที่หลากหลาย ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนได้ตามความถนัดและ ความ

ตอ้ งการของตลาดแรงงาน

3. มีการสง่ เสรมิ และพฒั นาบุคลากรใหม้ ีความพรอ้ มทางดา้ นวชิ าการอยูเ่ สมอ

4. สภาพแวดลอ้ มอาคารสถานทภ่ี ายในวิทยาลัยเอ้ือต่อการจัดการเรียนการสอน

5. มีหอพกั ให้นักศึกษาในราคาย่อมเยา

จุดอ่อน (Weakness)

1. ครุภณั ฑ์ อุปกรณใ์ นการจัดการเรียนการสอนไม่เพียงพอและไมท่ นั สมยั

2. งบประมาณมไี มเ่ พยี งพอ

3. บุคลากรมีไม่เพียงพอ

4. ครูมีภาระงานสนับสนุนการศึกษาควบคู่กบั การสอนทำให้ขาดประสิทธิภาพในการปฏิบัตงิ าน

วิทยาลยั การอาชวี ศกึ ษาปทุมธานี จดั การศกึ ษาเพอื่ รองรับการก้าวสูม่ าตรฐานสากล ยกระดับสูงสุด

ในการเปน็ ศูนย์กลางของอาชวี ศึกษา เป็นแหลง่ เรยี นรู้ การจดั ประชมุ สัมมนา และเตรยี มพร้อมในการสร้าง

กำลงั คน บคุ ลากรทจี่ ะก้าวสู่การแข่งขันในยุคดิจิตอล พร้อมทจ่ี ะสรา้ งใหน้ ักเรยี น นกั ศึกษา สร้างอาชีพ โดย

การบูรณาการเทคโนโลยี “Digital Learning Platform” ให้ผู้เรยี นในสาขาวิชาชพี กา้ วทันกับการเปลย่ี นแปลง

ของพลวัตเตรยี มพร้อมสู่โลกอาชวี ท่ีไรพรมแดนอยา่ งมีคณุ ภาพ ภายใต้พระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จ

พระเจ้าอย่หู วั รัชกาลที่ 10

ผู้บริหารสถานศึกษามีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาสถานศึกษา ในสถานการณ์ปัจจุบันโดยใช้กลยุทธ์ใน

การขบั เคลอ่ื น FUTURE SKILL ของสถานศกึ ษา

• ในยุคของการแข่งขันและการเปลี่ยนแปลงอย่างก้าวกระโดดของโลกดิจิตอลเราจึงจำเป็นต้อง

ปรับตวั ใหม้ คี วามสามารถในการตอบสนองส่ิงต่างๆท่ีเปล่ียนไป ในยุค 5G วิทยาลัยการอาชีวศึกษาปทุมธานี

เราก้าวเขา้ สู่มาตรฐานสากลยกระดบั สูงสุดใหเ้ ป็นศูนยก์ ลางทางการศกึ ษา เป็นแหลง่ เรียนรู้ ท่ีสรา้ งกำลังคน

เพื่อเตรียมพรอ้ มกา้ วเข้าสู่การแข่งขันในยคุ Digital Disruption อย่างเต็มรูปแบบ เพอื่ รองรบั การเปลย่ี นแปลง

สู่มิติชีวิตอนาคต (Next Normal) ให้ผู้เรียนในทุกสาขาวิชาชีพก้าวทันกับการเปลี่ยนแปลงของพลวัต

เตรียมพร้อมกับโลกอาชีวะที่ไร้พรมแดนอย่างมีคุณภาพ คือการให้ผู้เรียนมีความรู้ มีความสามารถและ

สมรรถนะอาชีพที่หลากหลายเปน็ Multi-skill และเราจะเป็นผู้เลือกมากกว่าจะเปน็ ผู้ถกู เลอื ก change for

your life คุณเปลี่ยนชวี ติ คณุ ได้

• เพิม่ เติม Soft Skill แมท้ กั ษะท่ีใชป้ ระกอบวิชาชีพโดยเฉพาะ หรือ Hard Skill ต้องครบเคร่ือง Soft

Skill กส็ ำคัญ เพราะถือเป็นทักษะพน้ื ฐานทชี่ ว่ ยเสริมให้งานมีคุณภาพมากข้นึ

• อัปเดตทกั ษะใหม่ ๆ เพื่อมาประยกุ ตใ์ ช้ในการทำงานทน่ี ับวันเปล่ียนแปลงตลอดเวลา 8

• มกี ารบูรณาการการจดั การศกึ ษาวิชาชพี ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม อุตสาหกรรมการ

ทอ่ งเทีย่ ว และเกษตรกรรม ใหส้ อดคล้องกบั ความต้องการของตลาดแรงงาน โดยรว่ มกับภาคีเครือขา่ ย

• ผลิตและพัฒนากำลังคนด้านอาชีวศึกษา ให้มีสมรรถนะทางวิชาชีพ เป็นพลเมืองดีมีจิตอาสาตาม

คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงคต์ อ่ สังคมและมีทกั ษะชีวติ ในศตวรรษท่ี 21

สถานศกึ ษาไดม้ ีการสร้างความเข้มแขง็ ของระบบความร่วมมอื กับสถานประกอบการ

วิทยาลัยการอาชีวศึกษาปทุมธานี ได้ร่วมกับภาคีเครือข่ายความร่วมมือการจัดการอาชีวศึกษาให้มี

ความเข้มแขง็ และไดร้ บั การยอมรับสมู่ าตรฐานสากล ประกอบด้วย

1) การสรา้ งเครือข่ายระหวา่ งสถานศกึ ษากับหนว่ ยงานอืน่

2) ผลติ กำลังคนท่สี อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของสถานประกอบการ

3) มกี ารประสานงานกบั สถานประกอบการอย่างต่อเนอื่ ง ในการพัฒนาหรอื การปรบั ปรงุ หลกั สูตร

4) มกี ารศกึ ษาความต้องการของตลาดแรงงานเพื่อการพัฒนาหรอื การปรบั ปรุงหลกั สตู ร

5) มีการพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะในสาขางานหรอื รายวิชารว่ มกับสถานประกอบการหรือ

หน่วยงานทีเ่ ก่ยี วขอ้ งเพอื่ ใหผ้ ู้เรยี นมสี มรรถนะอาชีพสอดคลอ้ งกบั การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี

และความตอ้ งการของตลาดแรงงาน

6) ผลิตผสู้ ำเรจ็ การศกึ ษาอย่างมีคุณภาพ

7) มกี ารใชห้ ลักฐานสมรรถนะทีไ่ ดจ้ ากการพัฒนา

8) มกี ารติดตาม ประเมนิ ผล และปรับปรงุ หลกั สูตรฐานสมรรถนะทไ่ี ดจ้ ากการพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

9) ปลกู ฝังคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ มที่พงึ ประสงค์

วทิ ยาลัยการอาชวี ศกึ ษาปทมุ ธานี มีระบบการบริหารจดั การสคู่ ุณภาพ เปน็ ท่ีประจกั ษ์และไดร้ ับการ

ยอมรบั จากทกุ ภาคส่วน ประกอบด้วย

1) การเขา้ รว่ มแข่งขนั ทักษะวิชาชีพระดบั จงั หวดั ระดับภาค และระดับชาติ

2) สถานศกึ ษาตน้ แบบทวิภาคสี านพลงั ประชารัฐ Excellent Model School - DVE

3) ประกาศเกียรติคุณ "ความดีตอบแทนคุณแผ่นดิน" Best Practice Awards 2020 สาขาบริหาร

และพัฒนาองค์กร

4) การประกวดโครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยนื ประเภทที่ 6 โรงเรียนที่ไดร้ ับความร้จู าก

วิทยาลัย และใชไ้ ดผ้ ลดีเดน่

5) สถานศึกษาต้นแบบปลอดเครือ่ งดื่มแอลกอฮอลแ์ ละยาสบู

6) ผสู้ นบั สนนุ กจิ กรรมงานวันคนพกิ ารสากลดเี ย่ียม

7) การเข้าร่วมการแขง่ ขนั ทักษะช่างสำรวจ รางวลั ชนะเลศิ ระดับชาติ

8) การเข้ารว่ มการแข่งขนั ทกั ษะการจัดสวนในภาชนะแก้วใส รางวัลรองชนะเลศิ ระดับชาติ

9) การเข้าร่วมการแข่งขัน"ระบบป้องกันการหลับใน" โครงการประกวดโครงงานสิ่งประดิษฐ์

Go Further Innovator Scholarship 2020 ระดับอาชวี ศึกษา รางวัลรองชนะเลศิ ระดบั ชาติ

10) สถานศกึ ษาท่ีสนบั สนนุ การปฏิบตั งิ านศูนยซ์ ่อมสรา้ งเพื่อชมุ ชน (Fix it Center)

9
11) โครงการ "Excellent Model School (EMS) : สถานศกึ ษาต้นแบบทวภิ าคี สานพลงั
ประชารัฐ” จัดการศกึ ษาแผนกวชิ าการโรงแรม รว่ มกับบริษทั ไมเนอร์ อนิ เตอรเ์ นชน่ั แนล จำกดั (มหาชน)
12) โครงการสร้างศนู ย์ความเป็นเลศิ ดา้ นอาชีวศกึ ษา (Excellent Center) สาขาวิชาการโรงแรม
13) ผลกั ดันศนู ยค์ วามเปน็ เลศิ ด้านอาชวี ศึกษา (Excellent Center) สาขาวชิ าไฟฟ้ากำลงั
สถานศึกษามีความสำเร็จในการดำเนินการบริหารจัดการสถานศกึ ษา ตามนโยบายสำคญั ที่หนว่ ยงาน
ต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษามอบหมาย โดยความร่วมมือของผู้บริหาร ครู บุคลากร
ทางการศึกษาและผเู้ รยี น รวมทัง้ การช่วยเหลือ สง่ เสรมิ สนบั สนุนจากผู้ปกครอง ชมุ ชน สถานประกอบการ
และหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งท้งั ภาครัฐและภาคเอกชน สง่ ผลให้ระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา ซ่งึ เปน็ สว่ น
หนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง วิทยาลัยการอาชีวศึกษาปทุมธานี
ดำเนนิ การ ประเมินคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา โดยจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ระบบออนไลน์ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ.2561 ซึ่งมีผลการประเมินตามมาตรฐานการอาชีวศกึ ษา
ประจำปีการศึกษา 2562 โดยภาพรวม มีค่าคะแนน 93.40 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม รายละเอียดดังนี้
สถานศึกษานำผลการประเมินและการตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษาของ สถานศกึ ษา มาศกึ ษาวเิ คราะห์
เพ่ือกำหนดแผนพัฒนายกระดับคณุ ภาพการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษาใหเ้ พ่มิ ขน้ึ
การขบั เคลือ่ นระบบงานวชิ าการของวทิ ยาลยั การอาชีวศึกษาปทมุ ธานี ประกอบดว้ ย

1) ใชห้ ลกั สูตรฐานสมรรถนะทสี่ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผเู้ รียน ชมุ ชน สถาน
ประกอบการ ตลาดแรงงาน มีการปรับปรงุ รายวชิ าเดิม หรอื กำหนดรายวิชาใหม่ หรอื กลมุ่ วชิ าเพมิ่ เติมใหท้ ัน
ต่อการเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยแี ละความตอ้ งการของตลาดแรงงาน โดยความรว่ มมอื กับสถาน
ประกอบการหรอื หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วข้อง

2) จดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ตอบสนองความตอ้ งการของผเู้ รียนทัง้ วยั เรยี น
และวยั ทำงาน ตาม หลักสูตร มาตรฐานคุณวุฒอิ าชีวศกึ ษาแต่ละระดบั การศกึ ษา ตามระเบยี บหรือข้อบงั คับ
เกี่ยวกับการจดั การศึกษาและการประเมนิ ผลการเรียนของแตล่ ะหลกั สตู ร สง่ เสรมิ สนบั สนุน กำกบั ดแู ลให้
ครจู ัดการเรียน การสอนรายวิชาใหถ้ ูกต้อง ครบถว้ น สมบรู ณ์

3) โครงการ "Excellent Model School (EMS) : สถานศกึ ษาตนแบบทวิภาคีสานพลงั ประชา
รัฐ” จดั การศึกษาสาขาวิชาการโรงแรมระดับ ปวช. และ ปวส. รวมกบั บริษทั ไมเนอร อินเตอรเนชั่นแนล
จํากัด (มหาชน)

4) ไดร้ บั งบประมาณ สรา้ งศูนยก์ ารเรยี นรูโ้ ครงการชมุ ชนปลอดภยั ใชไ้ ฟ PEA จำนวน 89,900
บาท จากการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค บางกะดี2

5) โครงการฝึกอบรมการใชเ้ ครอ่ื งมอื ชา่ งกอ่ นออกฝกึ อาชพี ในสถานประกอบการ รว่ มกบั
สมาคม ช่างเหมาไฟฟา้ และเครอื่ งกลไทย โดยให้ความรแู้ ก่ นกั เรยี น นักศึกษา ชา่ งไฟฟา้

6) ในปงี บประมาณ 2564 วทิ ยาลัยการอาชวี ศึกษาปทุมธานไี ดร้ บั จดั สรรงบประมาณโครงการ
พฒั นาศนู ย์ความเป็นเลศิ ทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center) สาขาวชิ าการโรงแรม และสาขาวชิ าไฟฟา้
กำลัง เพอ่ื เพม่ิ กำลงั คน และเรง่ ยกระดบั คณุ ภาพกำลงั ในกลมุ่ ผสู้ ำเรจ็ การศึกษาอาชวี ศกึ ษา ให้มสี มรรถนะใหม่

ทักษะใหม่ โดยกระบวนการสร้าง New Skill, Up Skill และ Re Skill และพฒั นาสถานศกึ ษาต้นแบบ 10
เพื่อการขยายผลการผลติ และพฒั นากำลังคนอย่างมีกรอบและทิศทางทีเ่ หมาะสม

SWOT Matrix ของ วิทยาลยั การอาชีวศึกษาปทมุ ธานี (วกศ.ปทุมธาน)ี

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก
รูปภาพการฝกึ ประสบการณ์ในสถานศกึ ษา

รปู ภาพฝึกประสบการณ์ในสถานศกึ ษา
วทิ ยาลัยเทคนิคกาญจนาภเิ ษก มหานคร
ระหวา่ งวนั ท่ี 25 เมษายน – 29 เมษายน 2565

รปู ภาพดงู านตามแผนกวิชา วทิ ยาลยั เทคนคิ กาญจนาภเิ ษก มหานคร

รปู ภาพดงู านตามแผนกวิชา วทิ ยาลยั เทคนคิ กาญจนาภเิ ษก มหานคร

รปู ภาพฝกึ ประสบการณ์ในสถานศกึ ษา
วทิ ยาลยั การอาชีวศกึ ษาปทมุ ธานี

ระหวา่ งวนั ท่ี 2 พฤษภาคม – 6 พฤษภาคม 2565

รปู ภาพดงู านตามแผนกวิชา วทิ ยาลยั การอาชวี ศกึ ษาปทมุ ธานี

รปู ภาพดงู านตามแผนกวิชา วทิ ยาลยั การอาชวี ศกึ ษาปทมุ ธานี

ภาคผนวก ข
แบบบันทกึ การฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศกึ ษา

แบบบันทกึ การฝึกประสบการณ์ในสาถนศึกษา
วทิ ยาลัยเทคนิคกาญจนาภเิ ษก มหานคร

















แบบบันทกึ การฝกึ ประสบการณใ์ นสาถนศกึ ษา
วิทยาลยั การอาชีวศึกษาปทมุ ธานี















ภาคผนวก ค
ใบลงเวลาปฏิบัตงิ าน












Click to View FlipBook Version