The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คณิตศาสตร์และสถิติ-01 ความรู้เบื้องต้นทางสถิติ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หน่วยที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นทางสถิติ

คณิตศาสตร์และสถิติ-01 ความรู้เบื้องต้นทางสถิติ

บทที่ 1

ความร้เู บอ๊ื งต้น
เก่ฝี วกับสถติ ิ

สาระการเรยี นรู้

1. ความหมาฝของสถิติ
2. ขอบขา่ ฝของสถติ ิ
3. ประโฝชน์ของสถติ ิ
4. ธรรมชาติของขอ้ มูล
5. ระเบฝี บวธิ ถี างสถิติ

ปัจจุบันเป็นยุคของข้อมูลข่าวสาร ความก้าวหน้าของ “
เทคโนโลยีในปัจจุบันได้เจรญิ ก้าวหนา้ ไปอยา่ งรวดเร็ว จึงมผี ลทา

“ให้การติดต่อสื่อสาร การค้นหาข้อมูล กระทาได้อย่างรวดเร็ว
ซ่ึงเทคโนโลยีสารสนเทศก็เป็นเทคโนโลยีแขนงหน่ึงท่ีเข้ามา
สัมพันธ์เกี่ยวข้องกับข้อมูลทางสถิติ เพราะสถิติเป็นวิธีการทาง
วทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งหนึ่งทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั การวดั การรวบรวม การจัด
กระทาข้อมูล เพ่ือนาไปใช้ในการอธิบายปรากฏการณ์ทางสังคม
ความสมั พันธร์ ะหวา่ งองค์ประกอบหรือปัจจัยต่าง ๆ และ นาไปสู่
การสรุปข้นั สดุ ทา้ ย

ความหมาย

1 ของสถิติ

สถติ ิ สถติ ิ

หมายถึง บรรดาตวั เลขซ่งึ ไดจ้ ากการ หมายถึง หลกั การและระเบยี บท่วี า่
รวบรวม เพือ่ หาความหมายท่ีแนน่ อน
จากสิง่ ทตี่ ้องการ ศึกษา โดยท่ัวไปจะ ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมลู ที่เปน็ ตัวเลข

เรียกสถติ ติ ามความหมายนี้ว่า และ ซึง่ แสดงถงึ ขอ้ เทจ็ จรงิ ตา่ ง ๆ อัน
นาไปสกู่ ารตดั สินใจท่ีมีเหตุผล
“ข้อมลู สถติ ิ” (Statistical Data)
เราเรยี กสถิตติ ามความหมายน้วี า่

“สถติ ิศาสตร์” (Statistics)

“ต่อมาความหมายของคาว่า“สถิติ”ได้มีความหมาย “
กว้างขวางขึน้ กว่าเดิม เช่น ข้อมูลเก่ียวกับธุรกิจ ข้อมูลทาง
การแพทย์ เป็นต้น ประกอบกับความเจริญก้าวหน้าใน
ปัจจุบันท่ีคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาท ทาให้สามารถ
เรียกขอ้ มลู ออกมาใช้ได้อยา่ งทันทว่ งที ปัจจุบันความหมาย
ของคาว่า “สถิติ” จึงสามารถพิจารณาแยกออกเป็น
ความหมายด้านต่าง ๆ ได้ดังนี้

ความหมาย

1 ของสถิติ

1. ขอ้ มูลสถติ ิ 2. สถติ ศิ าสตร์

หมายถึง ตัวเลขทแี่ ทนขอ้ เทจ็ จริง ศาสตร์ทีเ่ ก่ียวกับเทคนิคต่าง ๆ ใน
(Numerical Facts) ทไี่ ด้มีการจด การกระทากบั ขอ้ มลู ทีต่ ้องการศกึ ษา
บนั ทกึ ไว้ เช่น สถติ นิ กั ทอ่ งเท่ยี ว
ชาวตา่ งชาติท่เี ข้ามาทอ่ งเที่ยวใน ซ่งึ ประกอบดว้ ย 4 ข้ันตอน คือ
จงั หวดั เชียงใหม่ในรอบ 10 ปที ีผ่ ่านมา การเก็บรวบรวมข้อมูล การนาเสนอ

ข้อมูล การวิเคราะหข์ อ้ มูล
การตคี วามหมายขอ้ มลู

ความหมาย

1 ของสถติ ิ

3. วิชาสถิติ 4. ค่าสถติ ิ

หมายถึง วชิ าทางวทิ ยาศาสตรส์ าขา หมายถงึ ค่าตวั เลขทีค่ านวณหรือ
หน่งึ ซง่ึ มีรากฐานและเน้ือหามาจาก ประมวลผลไดจ้ ากกล่มุ ขอ้ มูลตัวอยา่ ง
คณติ ศาสตรแ์ ละตรรกวิทยา โดยอาศัย โดยอาศัยวิธกี ารทางสถติ ิคา่ สถติ ทิ ม่ี ี
ทฤษฎคี วามนา่ จะเปน็ และหลกั การ การใชก้ ันอยบู่ อ่ ย ๆ เชน่ คา่ สูงสุด

ของเหตผุ ล คา่ ต่าสุด ฐานนยิ ม

ขอบข่าย

2 ของสถิติ

สถติ เิ ชิงพรรณนา สถิตเิ ชิงอนุมาน

คอื หลักการท่ีเกยี่ วกบั ระเบยี บวธิ ที างสถิตทิ ่ี เปน็ การวิเคราะหข์ ้อมลู จากตวั อย่างทเ่ี กบ็ มาได้
ใช้ ในการรวบรวมข้อมูล การจัดระเบียบ และอนมุ านหรอื โยงผลสรปุ ไปสูป่ ระชากร โดย
ขอ้ มลู การนาเสนอขอ้ มลู ซ่ึงเปน็ การแสดง อาศัยวธิ กี ารทางสถติ ิ ซง่ึ การอนมุ านอาจทาใน
ให้เหน็ ลกั ษณะของขอ้ มูล โดยการตัด รูปของการประมาณคา่ เพอ่ื แสดงลักษณะของ
รายละเอียดท่ไี มส่ าคัญออกและเสนอเฉพาะ
ประชากร หรอื การทดสอบสมมติฐาน
ลักษณะทสี่ าคญั ของขอ้ มลู เหลา่ นั้น

ประโยชน์

3 ของสถิติ

1. ประโฝชน์ในระดับบุคคล
2. ประโฝชน์ในระดบั ครัวเรอื น
3. ประโฝชน์ในระดบั หนว่ ฝงานธรุ กจิ เอกชน

4. ประโฝชนใ์ นระดับประเถศ

ธรรมชาติ

4 ของขอ้ มลู

1. ลักผณะของขอ้ มลู

1. ข้อมูลเชิงปรมิ าณ 2. ข้อมูลเชิงคุณภาพ
(Quantitative Data) (Qualitative Data)
คอื ขอ้ มลู ท่ใี ช้แทนขนาดหรอื ปริมาณ ซึง่ วดั ออกมา คือ ขอ้ มูลทีไ่ มส่ ามารถวัดออกมาเป็นคา่ ตวั เลขได้
เป็นคา่ ของตวั เลขไดโ้ ดยตรง เชน่ อายุ ส่วนสูง โดยตรง แต่จะเปน็ ขอ้ มลู ทบี่ รรยายคุณสมบตั หิ รอื
น้าหนัก ราคา พืน้ ท่ี ปริมาตร ความกวา้ ง ความยาว ลักษณะของสงิ่ ทีก่ าลงั สนใจ เช่น เพศ สถานภาพ
รายได้ คะแนนสอบ ความเร็ว ระยะทาง เป็นตน้ ความนยิ มพรรคการเมือง ความคิดเหน็ เชื้อชาติ
ศาสนา ระดับการศกึ ษา สผี วิ เปน็ ต้น

2. มาตรการวดั ของข้อมลู

1. มาตรนามบญั ญตั ิ 2. มาตรเรียงลาดับ
(Nominal Scale) (Ordinal Scale)
เป็นมาตรการวัดขนั้ พน้ื ฐานโดยแบง่ ขอ้ มลู ออกเปน็ เปน็ มาตรการวดั ทใ่ี ช้กับข้อมูลที่สามารถจดั เรียง
กลมุ่ ๆ ทีเ่ พียงแต่จัดประเภท โดยยังไมม่ ีการจัดลาดบั ลาดบั ของขอ้ มลู ใหล้ ดหลนั่ กันเปน็ ขนั้ ๆ ตามปริมาณ
จงึ เป็นการกาหนดชือ่ ใหก้ บั วัตถสุ ิ่งของหรือเหตุการณ์ และคุณภาพมากน้อย แตย่ ังไมส่ ามารถบอกได้ว่า
ต่าง ๆ ซึง่ มคี วามแตกต่างกนั ในด้านคณุ ภาพ แต่ยงั ไม่ แตล่ ะขนั้ ห่างกนั เทา่ ไร และทกุ ๆ ขนั้ เทา่ กันหรือไม่
มคี วามหมายเกีย่ วกับลาดับทางด้านปรมิ าณ

2. มาตรการวดั ของขอ้ มลู

3. มาตรอนั ตรภาค 4. มาตรอตั ราส่วน
(Interval Scale) (Ratio Scale)
เป็นมาตรการวัดทเ่ี ปน็ คุณสมบตั ิพื้นฐานเหมือนมาตร
เรยี งลาดับ แต่มาตรการวัดแบบน้ีสามารถบอกความ เป็นมาตรการวดั ที่สมบรู ณ์ทสี่ ดุ โดยมคี ณุ สมบตั ิ
แตกตา่ งของขอ้ มูลไดเ้ ป็นช่วง ๆ เชน่ การวดั อุณหภูมิ พื้นฐานเหมือนมาตรอันตรภาค แตต่ ัวเลขศูนยใ์ น
เป็น 100 C ซึง่ กค็ ือ 100 ช่วงท่เี ท่า ๆ กนั แต่ตวั เลข 0 มาตรการวดั แบบนี้เป็นศูนย์ที่แทจ้ รงิ โดยถ้าวดั เป็น
ในมาตรการวดั แบบน้ไี ม่เป็นศูนยท์ ่ีแทจ้ ริง (Absolute จานวนเท่าของขอ้ มูลกจ็ ะเป็นจริง เชน่ นา้ หนัก 0
Zero) แต่เป็นศนู ยส์ มั พัทธ์ (Relative Zero)
กิโลกรมั กแ็ สดงว่าไม่มีน้าหนกั เลย

“ 3. ขอ้ มลู สถติ ิ

ขอ้ มลู สถิติ (Statistical Data)
หรอื คา่ การสังเกต (Observation)

หมายถงึ ขอ้ เท็จจรงิ เกี่ยวกบั เรอ่ื งทส่ี นใจศึกษา ซ่ึงอาจจะอยู่ในรปู ตวั เลข เช่น “

นา้ หนัก ระยะทาง เป็นตน้ หรืออาจจะเป็นขอ้ เทจ็ จริงท่ไี มเ่ ปน็ ตัวเลข เช่น อาชพี

เพศ เป็นต้น ขอ้ มลู หรือขอ้ เท็จจริงต้องมจี านวนมาก เพอ่ื เป็นการแสดงถึงลกั ษณะ

ของกล่มุ หรอื ส่วนรว่ ม นาไปใชใ้ นการเปรยี บเทยี บ หรือตคี วามหมายได้

ด้วยเหตุนข้ี ้อเท็จจรงิ เพยี งหน่วยเดยี วจงึ ไมเ่ ปน็ ขอ้ มลู สถติ

ระเบียบวธิ ี

5 ทางสถิติ

1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Collection of Data)

1. ขอ้ มูลปฐมภมู ิ (Primary Data) 2. ขอ้ มูลถุตยิ ภมู ิ
เปน็ ข้อมูลที่ผตู้ ้องการศึกษาไดเ้ ก็บรวบรวมมาเอง (Secondary Data)
ซง่ึ ข้อมลู ประเภทนีจ้ ะเป็นข้อมูลทท่ี นั ตอ่ เหตุการณ์ การได้มาซ่ึงขอ้ มูลประเภทน้ีผ้ทู ่ตี อ้ งการศกึ ษาไมไ่ ด้ลง
ปจั จบุ นั แตอ่ าจจะตอ้ งเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยและเสียเวลามาก มอื เก็บข้อมลู ดว้ ยตนเอง แต่อาจรวบรวมมาจาก
ในการเก็บรวบรวม แต่จะเป็นข้อมูลทีไ่ ด้มาจากแหล่ง หน่วยงานใดหน่วยงานหน่ึง ซ่งึ มีเป็นผเู้ กบ็ บนั ทึกไว้
แลว้ แต่บางคร้งั ขอ้ มลู เหลา่ นีอ้ าจไม่ทนั สมยั
ผู้ใหข้ ้อมลู โดยตรง
หรือไม่ครบถว้ น

วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมข้อมูลโดยถ่วั ไปถี่นิยมใช้กันมาก มดี ังน๊ี

1. ถะเบีฝนประวัติ (Registration)
2. การสารวจ (Survey)
3. การสามะโน (Census)
4. การสังเกต (Observation)

5. การถดลอง (Experiment)

2. การนาเสนอข้อมลู (Presentation of Data) “

เปน็ การกระทากบั ขอ้ มลู หลงั จากทไ่ี ดร้ วบรวมมาแลว้ ใหเ้ ป็นหมวดหมู่

“ ง่ายตอ่ การทาความเขา้ ใจ และสะดวกต่อการนาไปใชป้ ระโยชน์
ซึ่งการนาเสนอข้อมลู มีรูปแบบต่าง ๆ ตามความเหมาะสมกบั ลักษณะ
ของข้อมูลและมีเทคนิคตา่ ง ๆ ท่ใี ช้เพ่ือให้ขอ้ มูลเหลา่ น้นั มีความ
นา่ สนใจมากขนึ้

3. การวเิ คราะหข์ ้อมูล (Analysis of Data) “

เปน็ การนาข้อมลู ท่ีได้มาคานวณหาคา่ สถิตติ ่าง ๆ ตามลกั ษณะของ

“ ข้อมลู ทีต่ อ้ งการศกึ ษา เพือ่ นาไปใช้เปน็ พน้ื ฐานสาคัญในการตอบ
คาถาม หรอื ข้อสงสัยในเร่ืองท่ีต้องการทราบ สาหรบั กระบวนการ
วเิ คราะห์ข้อมลู ทางสถิตมิ ีมากมายหลายวธิ ี โดยวธิ ีการแต่ละวธิ ี
กเ็ หมาะสมกบั ลักษณะของขอ้ มูลแตกต่างกนั ไป

4. การตีความหมาฝข้อมูล (Interpretation of Data) “

“ การตีความหมายหรอื การแปลความหมายของขอ้ มลู เป็นขั้นตอน
สุดท้ายของระเบียบวธิ ที างสถติ ิ ซึ่งเป็นการนาเอาผลการวเิ คราะห์
ขอ้ มูลซ่งึ เปน็ ค่าสถติ ิต่าง ๆ มาอธิบายความหมายทีไ่ ด้เพอ่ื ใหผ้ ศู้ กึ ษา
หรอื สนใจสามารถเข้าใจผลการวเิ คราะห์

สรุป

- สถิตมิ คี วามหมาย 2 ประการ ประการแรกคือ สถติ ิ หมายถึง บรรดาตัวเลขทไ่ี ดจ้ ากการรวบรวม
ข้อมลู เพ่ือหาความหมายท่แี น่นอนจากส่ิงท่ตี อ้ งการศกึ ษา ความหมายท่ีสอง หมายถงึ ศาสตรท์ ีเ่ ปน็ ทงั้
วิทยาศาสตร์ และศลิ ปศาสตร์

- ขอบข่ายของสถติ ิ แบง่ เปน็ สถิติเชงิ พรรณนาและสถิตเิ ชิงอนุมาน
- ประโยชนข์ องสถิติ คือ ประโยชนใ์ นระดบั บคุ คล ระดับครัวเรอื น ระดบั หน่วยงานธุรกจิ เอกชน
และระดับประเทศ
- ขอ้ มลู หมายถึง ข้อเท็จจรงิ เกี่ยวกบั เรื่องทก่ี าลงั สนใจศกึ ษา แบ่งตามลกั ษณะของขอ้ มูลได้
2 ลกั ษณะ คือ ข้อมูลเชงิ ปรมิ าณและขอ้ มูลเชงิ คณุ ภาพ พิจารณาตามมาตรการวัดของขอ้ มลู แบ่งได้ 4 ระดบั
คือ มาตรนามบัญญัติ มาตรเรียงลาดบั มาตรอันตรภาค และมาตรอตั ราส่วน
- ระเบียบวิธีทางสถติ ิ มี 4 ขนั้ ตอน คือ การเกบ็ รวบรวมข้อมลู การนาเสนอข้อมลู การวิเคราะห์
ข้อมูล และการตีความหมายข้อมูล


Click to View FlipBook Version