The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ใบงาน 3.5 ประเด็นที่ 1 (20 เมษายน 2565)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วิไลวรรณ

ใบงาน 3.5 ประเด็นที่ 1 (20 เมษายน 2565)

ใบงาน ๓.๕ การบรหิ ารจดั การองค์กรสมยั ใหม่ กลุ่มที่ 2

วทิ ยากรพ่เี ลย้ี ง ผอู้ ำนวยการจรุ ี ทพั วงษ์

เลขท่ี ๑ นางสาวธญั ญลักษณ์ จีระออน เลขท่ี ๒ นายเกรียงศกั ดิ์ บญุ ขวาง

เลขท่ี ๓ นางอรนรนิ ทร์ มสี จั จานนธนกลุ เลขท่ี ๔ นายกติ ตศิ ักดิ์ ห่วงมติ ร

เลขที่ ๕ นายจักรวตั ิ สอนแสง เลขท่ี ๖ นางสาววไิ ลวรรณ โรจณรุ่งเรืองบุญ

เลขท่ี ๗ นายสถาพร อนุ่ เรอื นงาม เลขที่ ๘ นายสรุ ชัย เสาหงษ์

เลขท่ี ๙ นางวลิ าวลั ย์ วัชโรทยั เลขที่ ๑๐ นายธัญวัฒน์ ทองสกุ

สมรรถนะหลกั ที่ ๓ การบรหิ ารสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา
สมรรถนะยอ่ ยที่ ๓.๕ การบรหิ ารจัดการองค์กรสมยั ใหม่
สมรรถนะที่คาดหวัง สามารถเป็นผู้นำในการบริหารจัดการสถานศึกษาแนวใหม่ ที่มีการปรับตัวมีความยืดหยุ่น
ในการบริหารงาน ภายใต้สภาวะปกติใหม่ (New Normal) สู่ยุคชีวิตวิถีอนาคต (Next Normal) เพื่อขับเคลื่อน
สถานศึกษาใหเ้ ปน็ องค์กรสมยั ใหม่

ประเดน็ ท่ี ๑ ในฐานะรองผู้อำนวยการสถานศกึ ษา ท่านจะมีแนวคดิ วิธีการในการบริหารจดั การ
สถานศึกษาอยา่ งไร เพอื่ ขบั เคลอ่ื นสถานศกึ ษาใหเ้ ป็นองค์กรสมยั ใหม่

การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีปัจจุบันและที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคตมีอัตราการ เปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว
มากเม่อื เปรยี บเทียบกับการเปลี่ยนแปลงในอดีตท่ีผ่านมาซึ่งมีผลกระทบต่อการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาเปน็ อย่าง
มาก ดังนั้นในฐานะรองผู้อำนวยการสถานศึกษา จึงมีความจำเป็นที่ต้องเปลี่ยนทศั นคติและแนวคิดการบริหารของ
ตนเองให้ทันต่อสถานการณ์การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กดิ ขึน้ ทัง้ นเี้ พอ่ื ใหส้ ถานศึกษามีความทันสมัยสามารถบรหิ ารจัดการ
สถานศกึ ษาได้อยา่ งมีคณุ ภาพในทกุ ๆด้านโดยมีแนวคดิ และวิธกี ารในการบรหิ ารสถานศกึ ษาดงั น้ี

1. ร่วมกนั กำหนดวสิ ัยทศั น์ดา้ น ICT ของสถานศกึ ษาให้ชัดเจนวา่ ตอ้ งการไปในทศิ ทางใด และจะนำมาใช้
กับการบริหารสถานศกึ ษาในเร่ืองใดบ้างให้เท่าทันกับการเปล่ียนแปลงวิถชี วี ติ แบบ New normal

2. การบรหิ ารจัดการโครงสร้างพื้นฐานให้สามารถใช้งานไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ได้แก่
Hardware,Software, Network และเครอื ข่ายไรส้ ายต่างๆของสถานศึกษาให้ครู อาจารย์ บคุ ลากรและนกั เรียน
ทุกคนสามารถใช้และเข้าถึงได้อย่างรวดเร็ว สะดวกตอ่ การใชง้ าน พร้อมทั้งจัดสรรทรพั ยากรตา่ งๆเพอ่ื สนับสนนุ
อย่างเพียงพอ

3. การสร้างวฒั นธรรมการทำงานและบรรยากาศสถานศึกษาใหม้ ีการใช้แพลตฟอร์มดิจทิ ลั อย่าง
แพร่หลายไม่วา่ จะเป็นการจัดการเรียนการสอนของครู การบรหิ ารงานสถานศึกษาในดา้ นตา่ งๆ ตลอดจนการให้
นกั เรยี นสามารถใชแ้ ละเขา้ ถงึ แหลง่ ขอ้ มลู ความรตู้ า่ งๆผ่าน Internet ได้ตลอดเวลา เช่นการเรยี นออนไลน์ การ
เขา้ ถึงสอื่ และแล่งการเรียนรู้ผา่ นสอื่ ออนไลน์

4. การฝกึ อบรมพัฒนาบุคลากรทุกคนของสถานศกึ ษาใหม้ ีความรคู้ วามสามารถด้าน ICT รู้ สรา้ ง และ
ใช้ ส่ือเทคโนโลยีคจิ ทิ ัลอยา่ งอยา่ งต่อเน่อื งสมำ่ เสมอ เชน่ การเชิญผู้เชีย่ วชาญมาใหค้ วามรู้ และทกั ษะด้าน
เทคโนโลยดี จิ ิทลั อบรมการสร้างสือ่ นวตั กรรมการเรยี นการสอน ใหก้ บั ครูผู้สอน

5. ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาทกุ คนต้องทำตนให้เปน็ ตัวอยา่ งทดี่ สี ามารถใช้ ICT ในการปฏิบตั ิงานอยา่ งได้
เหมาะสมและสามารถนำเทคโนโลยดี จิ ิทัลมาใชก้ ับบคุ ลากรเพือ่ ลดขั้นตอนการทำงาน

6. ส่งเสรมิ สนบั สนุนสร้างแรงจงู ใจครอู าจารย์บคุ ลากรทกุ คนของสถานศกึ ษาใหน้ ำความรู้ความสามารถ
ด้าน ICT และเทคโนโลยีตา่ งๆที่สถานศึกษาจดั ให้มาสรา้ งนวตั กรรมใหมๆ่ ในการจัดการเรียนการสอนหรือการ
ปฏบิ ตั งิ าน เช่น การให้รางวัลหรือเกยี รติบัตรยกยอ่ งชมเชยผ้ทู ี่ใช้เทคโนโลยใี นการปฏิบตั งิ านดเี ลิศ การแข่งขยั การ
ประกวดสอื่ การสอนสำหรบั ครผู ู้สอน เป็นตน้

7. จัดให้มรี ะบบการกำกบั ติดตามและการให้คำปรึกษาเก่ียวกบั การใช้ ICT ของสถานศึกษาทัง้ ครอู าจารย์
บุคลากรทุกคนและนกั เรียนวา่ สามารถใช้ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ เปน็ ไปตามนโยบายอย่างถูกต้องเหมาะสมหรือไม่

โดยคณุ สมบัติของผนู้ ำทีค่ วรมใี นการนำพาองคก์ ารสกู่ ารเปล่ียนแปลงและสามารถขับเคลอื่ นไปสู่
องคก์ รสมยั ใหม่ดงั นี้

1) มองภาพรวมแบบ Bird Eye View มองให้กว้าง มองให้คลอบคลุมและสามารถเชอ่ื มโยงทำงานแบบองค์
รวม

2) ระบุปญั หา ความท้าทายให้ออก มองวกิ ฤตให้เปน็ โอกาส แบบ Growth mindset รู้เท่าทันปัญหาและ
นำปญั หานั้นมาคิดค้นแกไ้ ขให้ถอื เปน็ ประเดน็ ทา้ ทายท่จี ะต้องผ่านไปให้ได้

3) ปลุกคนใหเ้ ข้าใจสาเหตุการเปล่ยี น เป็นผู้นำแบบประสานสมั พนั ธ์ ประนปี ระนอม และโนม้ นา้ วบคุ ลากร
ใหเ้ ขา้ ใจถึงการเปลย่ี นแปลง ยอมรบั การเปลย่ี นแปลง และสามารถปรับตัวเขา้ กับการปล่ียนแปลงในยุค
วิถอี นาคต

4) รักษาวนิ ยั ให้สมดลุ กับสภาวการณท์ ี่เปลี่ยนแปลง ปรบั เปลย่ี นตามเทคโนโลยียุค New mormal
5) สรา้ งการมสี ว่ นรวม ปลกู ฝงั ความเป็นเจา้ ของ การเสริมสร้างความสามคั คีและร่วมกิจกรรมของหมู่คณะ ทั้ง

ในและนอกหนว่ ยงานเปน็ ผูใ้ หค้ วามรว่ มมือ หรอื เข้าร่วมกิจกรรมทีจ่ ัดขน้ึ ภายนอกหน่วยงานจะเห็นไดจ้ าก
การได้รับมอบหมายทง้ั ในบทบาทของผนู้ ำและผ้ตู ามทีด่ ี
6) การทำงานเป็นทมี การทำงานแบบมีส่วนรว่ ม สร้างระบบงานในสถานศกึ ษาใหท้ กุ คนรบู้ ทบาทหน้าทขี่ อง
ตนเองและทำใหด้ ที ีส่ ดุ ทกุ คนมสี ว่ นรว่ มในการแสดงความคดิ เห็น เปิดโอกาสยอมรับและฟงั ความคิดเห็น
ของผ้ใู ต้บงั คบั บัญชาสามารถจูงใจให้เกดิ การยอมรบั และใหค้ วามชว่ ยเหลอื เปน็ ผูม้ ีความสามารถในดา้ น
องค์ความร้แู ละทักษะในการในการคิดและเสนอเหตผุ ล ให้ความเห็น ปรกึ ษา และเสนอแนะในงานที่
รับผดิ ชอบ สรา้ งเครือขา่ ยการมสี ่วนร่วม โดยใช้สือ่ โซเซียลในการบริหารจดั การรว่ มกับการส่ือสารแบบ

เผชิญหนา้ (Face to face communication) อาทเิ ช่น องค์กรภายนอก ผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสยี สถาน
ประกอบการ และหนว่ ยงานท่ีเกย่ี วขอ้ งรว่ มกนั จดั การศึกษา
7) รับฟังเสียงคนตวั เล็กๆ ให้ครอบคลมุ เพ่ือรบั ฟงั ปัญหา และร่วมกันแสดงความคิดเหน็ ในการทำงาน

ใบนำเสนอผงั มโนทศั น์

ใบงาน ๓.๕ การบรหิ ารจัดการองคก์ รสมยั ใหม่

ประเด็นท่ีประเด็นท่ี ๑ ในฐานะรองผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา ทา่ นจะมแี นวคดิ วธิ ีการในการบรหิ ารจัดการ

สถานศกึ ษาอยา่ งไร เพ่อื ขับเคลอื่ นสถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ องค์กรสมยั ใหม่

กลุม่ ที่………2…………………………………………………..

รายชอ่ื สมาชกิ กลมุ่

เลขท่ี ๑ นางสาวธัญญลักษณ์ จรี ะออน เลขที่ ๒ นายเกรยี งศกั ด์ิ บญุ ขวาง

เลขที่ ๓ นางอรนรินทร์ มสี จั จานนธนกุล เลขท่ี ๔ นายกติ ตศิ กั ดิ์ ห่วงมติ ร

เลขท่ี ๕ นายจกั รวตั ิ สอนแสง เลขที่ ๖ นางสาววไิ ลวรรณ โรจณรุ่งเรอื งบญุ

เลขท่ี ๗ นายสถาพร อ่นุ เรอื นงาม เลขท่ี ๘ นายสรุ ชยั เสาหงษ์

เลขท่ี ๙ นางวลิ าวัลย์ วชั โรทยั เลขที่ ๑๐ นายธัญวฒั น์ ทองสุก

แนวคิด วธิ กี ารในการบริหารจดั การสถานศกึ ษาอยา่ งไร เพื่อขบั เคลอื่ นสถานศึกษาใหเ้ ป็นองคก์ รสมยั ใหม่

คณุ สมบตั ขิ องผนู้ ำทค่ี วรมใี นการนำพาองคก์ ารสกู่ ารเปลย่ี นแปลงและสามารถขบั เคลอ่ื นไปสู่
องคก์ รสมยั ใหมด่ งั นี้


Click to View FlipBook Version