1
บนั ทกึ การฝึกประสบการณ์ในสถานศกึ ษา
การพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งตงั้ ใหด้ ารงตาแหนง่
รองผูอ้ านวยการสถานศกึ ษาประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
สงั กดั สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
ของ
นายจักรวตั ิ สอนแสง
กลุ่มที่ ๒ เลขท่ี ๕
สถานทฝ่ี ึกประสบการณ์แหง่ ที่ ๑ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยสี ระแก้ว
ระหว่างวนั ท่ี ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ ถงึ วนั ที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๖๕
สถานทีฝ่ ึกประสบการณ์แห่งท่ี ๒ วิทยาลัยการอาชพี กบินทรบ์ ุรีระหวา่ ง
วันท่ี ๒ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ถึงวันท่ี ๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕
2
รายงานการฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศกึ ษา
วิทยาลัยการอาชีพกบนิ ทรบ์ ุรี และวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยสี ระแก้ว
ระหว่างวันท่ี 25 เมษายน – 6 พฤษภาคม 2565
วทิ ยากรพเี่ ล้ียง.....ผอ.จุรี ทพั วงษ์…………...................................................................................................
ช่อื -สกลุ ................นายจกั รวัติ สอนแสง....... กลุ่มท่ี........2...........เลขท่ี......................5.....................
ขอ้ มูลพน้ื ฐานของสถานศึกษา
1. ประวัติวิทยาลัยการอาชีพกบนิ ทรบ์ รุ ี
วทิ ยาลัยการอาชีพกบนิ ทรบ์ ุรี จดั ตง้ั ขน้ึ เมื่อวันที่ 18 มถิ นุ ายน 2540 ตงั้ อยทู่ ่ี 202 หมู่ 3 ถนน 304
ตาบลลาดตะเคียน อาเภอกบินทร์บุรี จงั หวดั ปราจนี บุรี สังกดั กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ ตาม
นโยบายการพฒั นากาลังคนเพือ่ พฒั นาประเทศ ในแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 8 ตาม
โครงการขยายโอกาสทางการศึกษาใหแ้ กป่ ระชาชน อย่างทั่วถงึ และผลติ กาลังคนด้านวิชาชพี ใหเ้ พยี งพอ
ตอ่ ความต้องการของตลาดแรงงาน วิทยาลัยการอาชีพกบนิ ทร์บุรี มีพื้นท่ี 59 ไร่ 3 งาน 9 ตารางวา โดย
เป็นทด่ี ินสาธารณะติดถนนสาย 304 ฉะเชิงเทรา - นครราชสีม
๒. ปรชั ญา วสิ ัยทัศน์ พนั ธกจิ
ปรชั ญา (Philosophy)
“ร่วมใจพัฒนา รักษาวนิ ัย ใฝ่หาความรู้ เชิดชูคุณธรรม”
วสิ ยั ทศั น์ (Vision)
“สรา้ งคนดี ใหม้ ีอาชพี ”
พนั ธกิจ (Mission)
วิทยาลยั การอาชีพกบนิ ทรบ์ ุรีได้จัดดาเนินการตามหลกั การของพันธกจิ 9 ประการ ดังน้ี
1. ผลติ นกั เรียน – นกั ศึกษา ในระดับ ปวช. และ ปวส. ให้เปน็ คนดี คนเกง่ มีคณุ ภาพ
2. จดั การเรยี นการสอนหลกั สตู รระยะสัน้ เพอ่ื ตอบสนองต่อชุมชนทอ้ งถ่ิน ตามความต้องการ
ของประชาชน
3. จัดการเรียนการสอนหลกั สตู รวิชาชพี แกนมัธยม และประถม เพื่อปลูกฝงั ความรู้พ้ืนฐานทาง
วิชาชีพทีส่ ามารถนาไปประกอบอาชีพ และเปน็ พืน้ ฐานในการเรยี นวิชาชีพ
4. จดั ดาเนนิ การเทียบโอนความร้แู ละประสบการณ์เพอื่ ใหป้ ระชาชนสามารถเพิม่ คุณวุฒิทาง
วิชาชพี และพัฒนาทักษะความชานาญทางวชิ าชีพ
5. ดาเนินการเพม่ิ ปรมิ าณและคุณภาพผู้เรียนอาชวี ศึกษาในประเทศได้ ในอตั ราส่วน 50 : 50 ให้
มีคุณภาพความชานาญทางวิชาชีพและมีงานทา
3
6. ใหบ้ รกิ ารชว่ ยเหลือชุมชน อาชวี ะบริการดา้ นการสอนความรู้ทางวชิ าชีพ บรกิ ารซอ่ มสร้างเพอ่ื
ชมุ ชน การชว่ ยเหลอื ประชาชน
7. อนรุ ักษ์ พฒั นาเสริมสร้างคา่ นยิ มความเป็นไทย ตามทฤษฎีเศรษฐกจิ พอเพยี งของ
พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ฯ
8. วจิ ยั และพัฒนา เพ่ือพฒั นาด้านวชิ าชีพและเสรมิ สร้างส่งิ ประดษิ ฐ์ของคนรนุ่ ใหม่
9. เสรมิ สร้างและพัฒนาให้นักเรียน – นักศึกษา ผจู้ บอาชวี ศึกษามศี ักดิ์ศรี มีความก้าวหน้าในการ
ประกอบอาชีพ และเป็นที่ยอมรับของสังคม
ข้อมูลพ้ืนฐานวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสระแกว้
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสระแก้ว เรมิ่ ก่อตัง้ ครงั้ แรกเม่ือ พ.ศ. 2505 บนเน้อื ท่ี 6,250
ไร่ ในนามโรงเรยี นเกษตรกรรมสงเคราะห์ โดยมี นายแสง สุริยะ เปน็ ครูใหญ่คนแรก ใชช้ อ่ื ว่า
“โรงเรียนเกษตรกรรมสงเคราะห์ปราจีนบุรี” จัดการศึกษาในรูปของการจดั สรรท่ดี นิ ให้นักเรียนท่ีจบชัน้
ป.7 เข้ามาเรียนเมื่อเรียนจบช้ัน ม.ศ.3 ก็จัดสรรท่ีดินใหน้ ักเรียน คนละ 25 ไร่ ต่อมาปี พ.ศ. 2519 ได้จัด
การศกึ ษาเปน็ การเรยี นการสอนระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายสายอาชพี เกษตรกรรม และเปลี่ยนชอ่ื เปน็
โรงเรยี นเกษตรกรรมปราจนี บุรี
ปี พ.ศ. 2524 จดั การเรยี นการสอนระดับ ปวส. และเปลี่ยนช่ือเปน็ วิทยาลยั เกษตรกรรม
ปราจีนบุรี เม่อื วนั ท่ี 28 กนั ยายน 2524
ปี พ.ศ. 2536 เปลี่ยนชอ่ื เป็นวิทยาลยั เกษตรกรรมสระแก้ว ตามช่อื จังหวัด
ปี พ.ศ. 2539 เปลี่ยนช่อื เป็นวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสระแกว้ ถงึ ปัจจุบัน
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสระแกว้ ตัง้ อยู่ที่ 109 หมู่ท่ี 10 ตาบลผ่านศึก
อาเภออรัญประเทศ มีอาณาเขตติดกับราชอาณาจักรกัมพชู า เป็นสถานศกึ ษาประเภทอาชวี ศกึ ษาแหง่
เดียวท่ีสามารถให้บริการการศกึ ษาด้านการเกษตรท้ังคนไทย เกษตรกรไทย นกั เรยี นไทยและนักเรียนของ
ประเทศกมั พูชาทม่ี ีความต้องการทจ่ี ะศึกษาดา้ นการเกษตร บุคลากร มี จานวน 69 คน จานานวน
ผเู้ รียน 629 คน
ปรัชญา
ทกั ษะเดน่ เน้นคณุ ธรรม นาวิชาการ ประสานชุมชน
วิสยั ทัศน์
เปน็ สถานศึกษาที่มคี ุณภาพได้มาตรฐาน ผลิตและพัฒนากาลงั คนดา้ นวิชาชพี มคี ุณธรรมนา
ความรู้สู่ชุมชน ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พันธกจิ
1. ส่งเสริมและพัฒนาผูเ้ รียนให้มีความรู้ ทกั ษะวชิ าชีพ และลกั ษณะที่พงึ ประสงค์
4
2. พัฒนาหลกั สตู รการจัดการเรยี นการสอน และการบริการวชิ าชีพ
3. พัฒนาระบบการจดั การบริหารจัดการเรยี นการสอนด้านวิชาชพี ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน
4. ใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในการบริหาร และการเรียนการสอน
เอกลกั ษณ์ เปน็ เมืองแคนตาลูป อุตลักณ์ คือ เรียนรู้ชวี วิถี มีชวี ติ แบบพอเพียง
1. หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.)
ประเภทวิชาเกษตรกรรม สาขาวชิ าเกษตรศาสตร์
✦ สาขางานพืชศาสตร์ ✦ สาขางานสัตวศาสตร์ ✦ สาขางานชา่ งเกษตร
✦ สาขางานประมง ✦ สาขางานอตุ สาหกรรมเกษตร ✦ สาขางานธุรกจิ เกษตร
2. หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวส.)
ประเภทวิชาเกษตรกรรม
✦ สาขาวชิ าพชื ศาสตร์ ✦ สาขาวชิ าสตั วศาสตร์
✦ สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร ✦ สาขาวิชาช่างเกษตร
✦ สาขาวชิ าประมง
ยุทธศาสตร์ (Strategic) และกลยุทธ์ (Strategic MAP)
ประเดน็ ที่ 1 กลยทุ ธในการขับเคลื่อน FUTURE SKILL ของสถานศึกษา
ยทุ ธศาสตร์ 1 เสรมิ สรา้ งวิชาการให้เข้มแข็งเทา่ ทันพัฒนาการโลกอาชีพ
กลยุทธ์ 1.1 พฒั นาหลักสตู รรายวิชาใหส้ อดคล้องกับการพัฒนาการวชิ าชพี อาชพี ปัจจบุ ัน
1.2 พัฒนากิจกรรมการจดั การเรยี นการสอนดว้ ยหลัก 3 R 8C
1.3 สง่ เสรมิ ความร่วมมอื /ระดมทรพั ยากรเพ่อื พัฒนาผูเ้ รยี น
1.4 พฒั นาระบบการชว่ ยเหลอื ผเู้ รยี นใหม้ ีคุณภาพตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.5 ปลกู ฝังการฝึกการเรียนรดู้ ้วยตนเอง
1.6 พฒั นาระบบการสอนมาตรฐานวชิ าชพี ใหเ้ ป็นทีย่ อมรับของสังคม
ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 พัฒนาระบบการสรา้ งองคค์ วามรูด้ า้ นนวตกรรมควบคู่กิจกรรมการสอนรายวิชา
กลยทุ ธ์ 2.1 จดั ระเบียบวธิ ีการขนั้ ตอนการสร้างองค์ความรู้ก่อเกิดผลผลติ อันเป็นนวตกรรมเพื่อการ
พัฒนาการจัดการเรียนการสอนพัฒนากระบวนการทางานและพัฒนาชมุ ชน
2.2 สงเสริมสนับสนุนการสร้างนวตกรรมเพ่ือการพัฒนาการเรียนการสอนพัฒนางานและพัฒนา
ชุมชน
5
2.3 พัฒนาระบบการกากบั ตดิ ตามการสร้างองค์ความรกู้ ารสรา้ งนวตกรรมและการนานวตกรรมไป
ใชง้ าน
ยทุ ธศาสตร์ที่ ๓ จัดระบบการบริการวิชาชพี ท่ีมคี ณุ ภาพแก่ผู้มีพระคุณ
กลยทุ ธ์ 3.1 สง่ เสริมกจิ กรรมบริการท่มี ีคุณภาพเพ่ือพฒั นาสภาพแวดล้อมภายในองค์กร
3.2 สง่ เสรมิ กิจกรรมบริการที่มีคณุ ภาพเพื่อพัฒนาวดั โรงเรยี น หรือชุมชนใกล้เคียงวทิ ยาลัย
ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 สบื สานศิลปวฒั นธรรมประเพณีอนั ดงี ามของไทยนาส่กู ารประพฤติปฏิบัติเพ่ือสรา้ ง
คุณธรรมอัตลกั ษณ์และภาวะผ้นู าแก่ผูเ้ รยี น
กลยทุ ธ์ 4.1 จัดกิจกรรมสง่ เสรมิ ศิลปวฒั นธรรมของไทยอันดงี ามของไทย โดยมงุ่ เนน้ ผูเ้ รยี นเป็น
ผดู้ าเนินการ สอดคล้อง 5 แผนดี
4.2 จดั ระบบ PDCA เพอื่ คุณธรรมอัตลักษณใ์ ห้ครแู ละผ้เู รียนเป็นหลกั ในการการดาเนินการ
ยุทธศาสตร์ที่ 5 บรหิ ารจัดการเชิงรกุ โดยพ่งึ พาเทคโนโลยีและด้านกระบวนการมสี ว่ นร่วม
กลยทุ ธ์ 5.1 พฒั นาบุคลากรและเทคโนโลยเี พื่อการพัฒนาผ้เู รียนและพฒั นางาน
5.2 พัฒนาส่งิ แวดล้อมใหเ้ อ้ือต่อการจดั การเรียนการสอนและการปฏิบตั งิ าน
5.3 ส่งเสริมกระบวนการมสี ว่ นร่วมในการปฏบิ ัติงานตามหลักประกับคณุ ภาพทุกข้นั ตอน
(PDCA)บนพ้ืนฐานหลักเศรษฐกิจพองเพยี ง
1. วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยสี ระแก้ว มีอาณาเขตตดิ กับราชอาณาจักรกัมพชู า เป็น
สถานศึกษาประเภทอาชวี ศกึ ษาแห่งเดยี วทส่ี ามารถใหบ้ ริการการศกึ ษาดา้ นการเกษตรท้ังคนไทย เกษตรกร
ไทย นักเรียนไทยและนักเรยี นของประเทศกมั พชู าท่ีมคี วามตอ้ งการที่จะศึกษาด้านการเกษตร
2. วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสระแก้ว เปิดสอนหลักสตู รทห่ี ลากหลายตามความต้องการ
ของชุมชนอย่างแท้จริงมาเป็นเวลานาน มีบุคลาการท่ีมีความร้คู วามชานาญและมที ักษะในการถา่ ยทอด
ความรู้ให้กบั นักเรยี นนกั ศึกษาได้เป็นอยา่ งดี
3. วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยสี ระแกว้ มีการจดั การเรียนการสอนโดยเนน้ ผ้เู รียนเป็น
สาคญั และให้เรยี นโดยการฝึกปฏบิ ัติจริงในงานฟาร์มของแตล่ ะแผนกวิชาเพ่ือเพ่มิ ทักษะวิชาชีพให้นกั เรียน
นกั ศึกษาจากการไดป้ ฏิบตั จิ ริงอยา่ งครบถว้ น
4. วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยสี ระแก้ว มีองค์การวิชาชพี ใหน้ ักศกึ ษาได้มโี อกาสได้
แสดงออกถึงความสามารถของนกั เรียนนักศึกษา ท่ีเรยี กวา่ องค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย
ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าสยามบรมราชกมุ ารี เป็นองคอ์ ุปถมั ภ์
5. วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยสี ระแกว้ ไดท้ าความร่วมมอื กบั สถานประกอบการในการ
จัดการเรยี นการสอน
6. เสรมิ สร้างองคค์ วามรู้ นวัตกรรม เทคโนโลยดี ้านการเกษตร
6.1 โครงการจดั ต้งั ศูนยว์ ิจัย นวัตกรรม เทคโนโลยดี า้ นการเกษตรเฉพาะทาง
6
6.2 โครงการ 1 วทิ ยาลยั 1 นวตั กรรม
6.3 โครงการประชุมวชิ าการด้านการวจิ ัย นวัตกรรม เทคโนโลยดี า้ นการเกษตร
ระดบั ชาติ
7. จัดตง้ั ศูนยถ์ ่ายทอดเทคโนโลยดี ้านการเกษตร ท้งั ภายในและภายนอกสถานศึกษา
7.1 โครงการคลงั ปญั ญาอาชีพเกษตร
7.2 โครงการจดั ตงั้ ศนู ย์ถ่ายทอดเทคโนโลยดี ้านการเกษตรภายในสถานศกึ ษา
7.3 โครงการจดั ตั้งศูนย์ถา่ ยทอดเทคโนโลยดี ้านการเกษตรภายนอกสถานศกึ ษา
ประเด็นที่ 2 การสร้างความเขม้ แข็งของระบบความร่วมกบั สถานประกอบการ
สถานศึกษาผลิตและพัฒนากาลังคนอาชีวศึกษาภายใต้บริบทความร่วมมือของ ชุมชน สถาน
ประกอบการ ตลาดแรงงาน หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ตามเป้าหมายของการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง
และฝกึ อบรมวิชาชพี กาลงั คนอาชวี ศึกษาท่อี ยู่นอกระบบใหเ้ พ่ิมข้ึน ประกอบดว้ ย
1. การมีส่วนร่วมและขยายโอกาสทางอาชีวศึกษา สถานศึกษามีการส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาการ
จัดการอาชีวศึกษาให้กับผู้เรียนทุกระดับ และกลุ่มด้อย โอกาสทางการศึกษา โดยความร่วมมือผลิตและ
พัฒนากาลังคนร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับสถานศึกษาใน พ้ืนที่ หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ได้ทาข้อตกลง
ความรว่ มมือกับสถานประกอบการณใ์ นการสง่ นกั ศึกษาไปฝกึ งาน
2. การฝึกอบรมหลกั สูตรวิชาชีพ สถานศึกษา ส่งเสริม สนบั สนุน ให้มีการฝึกอบรมวิชาชีพ โดยการ
จัดการฝึกอบรมหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน สถานประกอบการ
ตลาดแรงงาน หนว่ ยงานทเี่ กี่ยวขอ้ ง
เป้าประสงค์
เพ่ิมเครือข่ายความร่วมมือในการจดั การอาชีวศึกษาเกษตร ทง้ั ในและต่างประเทศ
กลยทุ ธ์
1 ส่งเสริม สนบั สนนุ ทุกภาคส่วนทง้ั ในและตา่ งประเทศ ให้มีสว่ นรว่ มในการจัดการอาชีวศึกษา
เกษตร
1.1 โครงการจัดการอาชวี ศึกษาเกษตรระบบทวิภาคกี บั สถานประกอบการภายในและ
ตา่ งประเทศ
2 สร้างเครอื ข่ายกลมุ่ อาชีพเกษตรดว้ ยกิจกรรมองคก์ ารเกษตรกรในอนาคตแหง่ ประเทศไทย ใน
พระราชปู ถัมภส์ มเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
2.1 โครงการ อกท. รวมพลงั สรา้ งชาติ
7
2.2 โครงการพี่ชว่ ยน้อง (ตามพระราชดารสิ มเดจ็ พระเทพฯ) สรา้ งเครอื ข่ายสมาชิกสามัญ
สมาชิกวสิ ามัญ และสมาชิกกิตติมศักด์ิ ภายใต้กลมุ่ อาชีพ
ประเด็นที่ 3 ระบบการบริหารจดั การสู่คณุ ภาพ
สร้างศรัทธาให้ผเู้ รยี นและผูป้ กครองเชอื่ มั่นในสถานศึกษารวมกบั ผลงานจากใจนาไปสู่พฒั นาคน
สรุปหลักการขบั เคลอื่ นภารกจิ สถานศกึ ษา วก.กบินทรบ์ รุ ี ใหม้ ีคณุ ภาพ ในยุคปัจจุบัน (Covid-๑๙)
มี ๓ ข้อ คอื
1. ผู้เรยี นเปน็ คนดี = ยึดหลกั โรงเรียนคุณธรรม และจติ อาสา (เปน็ กิจนิสยั )
2. ผเู้ รียนเปน็ คนเก่ง = เก่ง ตามหลักสตู ร สอศ. + ประกาศ ศธ. เร่ืองกรอบคุณวุฒิอาชีวะแห่งชาติ
ฯ +สถานประกอบการแนะนา
3. ผู้เรยี นปลอดภัยจาก Covid – ๑๙ = ยดึ ๖ หลกั ๖ เสรมิ ๗ เข้ม
เป้าหมายคอื ผู้เรยี น ๒,๒๒๖ + บคุ ลากรวิทยาลัย ๙๗ คน มีคณุ ภาพ + ปลอดภัย + มคี วามสุข
ส่งิ ท่วี ิทยาลัยการอาชพี กบินทร์บรุ ีกาลงั ขบั เคล่ือนคอื
1. วิธกี ารพฒั นาการสอนทุกรายวชิ า ดว้ ยตัวคร+ู ผเู้ รียนในรายวชิ า
2. ผู้สอนจะได้วิธีการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน แบบเชิงประจักษ์ไปจัดทาผลงานวิชาการของตัวท่าน
หรอื ไปนาเสนอเพือ่ สอบ ฯลฯ
3. หน.แผนกวิชาจะได้วิธีการยกระดับคุณภาพผู้เรียนระดับแผนก ด้วยฝีมือครูทุกคน+ผู้เรียน
สามารถนาส่ผู ลงานวิชาการได้
4. ผู้บริหารจะได้วิธีการยกระดับคุณภาพผู้เรียนท้ังวิทยาลัยได้พร้อมๆ กัน สุดท้ายนาสู่
การทาผลงานวิชาการได้
5. ชุมชน สถานประกอบการและ สอศ.ไดผ้ ู้เรยี นทมี่ ีคุณภาพ
วิธกี ารใช้ความรูอ้ าชีวะมาเพมิ่ ปริมาณผเู้ รียนอาชวี ะวิธกี ารใช้ความรู้อาชีวะมาเพมิ่ ปริมาณผู้เรยี น
อาชีวะ
1)ออกไปช่วย ซอ่ มแซม พฒั นาโรงเรยี นเดิมของเขา
2) ออกไปสอนวิชาชีพระยะสั้น เป็นหลักสูตร เร่ืองใกล้ๆตัวเขา เรียนแล้วได้ใช้งานใน
ชีวติ ประจาวัน ได้ทันที
3) ผู้เรียนทุกคนไปทากิจกรรมจิตอาสาเอง อย่างน้อย ๑ คร้ัง/ปี กิจกรรมท่ีผู้ปกครองและครูที่
ปรึกษาเหน็ ชอบ
4) วทิ ยาลยั จะมีกิจกรรมคา่ ยอาสา ปีละอย่างนอ้ ย ๑ ครง้ั
ให้ ชมุ ชน ศรทั ธา ในตัว ครู ผู้เรยี น และสถานศกึ ษา
(แถมไดเ้ งินเขา้ กองทุนการศึกษาของผ้เู รียนในทุกแผนกวิชาดว้ ย)
8
5) วทิ ยาลัยมกี จิ กรรม ลูกเสอื จิตอาสาในชุมชนทกุ ปี
ระบบการบรหิ ารงานอย่างมคี ณุ ภาพของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยสี ระแก้ว
1. ทางานตามนโยบายของสอศ.
2. พฒั นางานฟาร์มให้สามารถเล้ยี งตวั เองได้ งานฟาร์ ไดแ้ ก่ งานฟาร์มสุกร งานฟาร์มสตั วป์ ีก งาน
ฟารม์ พชื งานฟาร์มประมง งานฟาร์อุตสาหกรรมเกษตร
3. พฒั นาครูใหม้ วี ทิ ยยฐานะท่ีสงู ขึ้น และมจี รรยาบรรณความเป็นครู
4. น้อมนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชใ้ นการบริหาร
จดุ แขง็ ( Strengths)
1. สามารถใช้ทรพั ยากรร่วมกันท้งั ดา้ นบุคลากรครภุ ัณฑ์ และ อาคารสถานที่
2. มโี ครงการความร่วมมอื ระหวา่ งสถานประกอบการภาครัฐและเอกชนในการจดั การศึกษา
อาชวี ศกึ ษาเกษตร
3. มอี งค์การเกษตรกรในอนาคตแหง่ ประเทศไทยเป็นศนู ย์ในการพัฒนาคุณลักษณะของนักเรียน
นกั ศึกษา มีโรงงานแปรรูปน้านมในสถานศึกษา
4. มพี นื้ ท่ีสาหรบั งานฟาร์มเชิงธุรกจิ ท่ีสามารถเป็นแหล่งให้นกั เรียนนกั ศึกษาฝึกทกั ษะและสรา้ งรายได้
ให้กับนกั เรียนและสถานศึกษา เชน่ มโี รงงานแปรรูปนา้ นม งานฟารส์ ุกร งานฟาร์มสตั วปื ีก งานฟาร์มพืช งาน
ฟาร์ประมง งานฟารม์ อุตสาหกรรมเกษตร
5. มปี ระสบการณ์ในการจัดการศกึ ษานอกระบบและทวิภาคี
6. บุคลากรมคี วามเชี่ยวชาญเฉพาะทาง
7. หลักสูตรอาชีวศึกษาเกษตรมีความยืดหยุ่นตอบสนองความต้องการของผูเ้ รยี น
เช่นมกี ารจัดการเรยี นการสอนให้แก่ผเู้ รียนต่างประเทศ
จุดออ่ น ( Weakness)
1. ทต่ี ั้งของวิทยาลยั อยู่ห่างไกลจากชุมชน การคมนาคมไมส่ ะดวกในการเดนิ ทางมาเรยี น
2. ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศทใ่ี ชใ้ นการบรหิ ารจัดการยงั ขาดประสทิ ธภิ าพและไมเ่ พียงพอ
3. การพัฒนาเทคโนโลยีการเกษตรและความรดู้ ้านวทิ ยาศาสตร์การเกษตรท่ขี าดการพัฒนา
4. แหลง่ เรียนรู้ ได้แก่ งานฟารม์ เกษตรเชิงธรุ กจิ ท่ีไม่สามารถสร้างทกั ษะวิชาชพี แก่ผ้เู รยี นดว้ ยการ
ปฏบิ ัติจรงิ ได้อยา่ งแทจ้ รงิ
5. ขาดการสรา้ งความร่วมมอื ทางวชิ าการกับหนว่ ยงานอ่ืน ทางด้านวชิ าการ การวิจยั และ
นวัตกรรม ท่นี ามาใช้ใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อการจัดการศึกษาของสถาบนั
โอกาส (Opportunities)
1. ความต้องการด้านอาหารของโลก
9
2. นโยบายของรฐั บาลและสว่ นราชการในการสง่ เสริมการเกษตรเพือ่ พฒั นาประเทศ
3. การท่ีประเทศไทยต้องเข้าส่ปู ระชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น ทาให้การค้าผลผลติ ทางการเกษตรที่ได้
มาตรฐานสามารถสร้างความได้เปรียบ
4. ความตอ้ งการแรงงานระดับฝีมอื ในภาคเกษตรกรรมที่แนวโนม้ เพ่มิ ขึน้ ทุก ๆ ปี
อุปสรรค ( Threats)
1. คา่ นยิ มในการเรียนอาชวี ศึกษาเกษตรค่อนข้างนอ้ ย เน่ืองมาจากรายไดข้ องผปู้ ระกอบอาชพี
เกษตรกรรมจะต่ากวา่ อาชพี อื่น ๆ ในภาคอุตสาหกรรม และภาคธุรกิจและบรกิ าร
2. นโยบายของภาครฐั และหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วข้องดา้ นการจัดการศึกษา ขาดการส่งเสริมและ
สนับสนุนอย่างตอ่ เน่ือง
ประเด็นที่ 4 การขับเคลื่อนระบบงานวิชาการ
ภารกจิ ทา้ ทายคือในการขับเคลือ่ นระบบงานวิชาการ คอื ผเู้ รยี น ๒,๒๒๖ คน ตอ้ งมคี ุณภาพ วิธีคอื
1. วิทยาลัยยดึ กรอบคุณวฒุ อิ าชีวะฯเปน็ แนวทางพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี น (ตัวชี้วัด คุณภาพตาม
กรอบฯ = ความรู้ +ทกั ษะ+ประยุกตใ์ ช้+เปน็ คนดี)
2. แผนกประกาศสมรรถนะอาชีพแต่ละระดับช้นั ต่อผู้เรยี น/ผ้ปู กครอง ว่าเรยี นแผนกนี้ “ในแตล่ ะ
ระดบั ช้ัน” สามารถทาอะไรได้
3. การสอนยึดตามประกาศ = ไปทาชุดฝึก + ฐานเรียนรู้ เน้น ฝึกซา้ ๆ
4. ประเมนิ ผล = สอบประมวลความรู้รายปี ทกุ ระดบั ชั้น เนน้ สอบซ้าๆ
(สอบประเมินผล = ยดึ หลักเหมอื นสอบใบขับขี่ ทฤษฏี ไม่มาก เน้น ปฏิบัต)ิ
5. ดา้ นคนดี ยึดหลักโรงเรยี นคุณธรรม+จิตอาสา ทาความดีเล็ก ๆ ทุกวัน
จุดเนน้ – เปา้ หมายวทิ ยาลยั การอาชีพกบินทร์บุรี คือ“สรา้ งคนดี คนเก่ง ให้แกบ่ า้ นเมอื ง”
อย่างเปน็ ระบบ มผี ลเชงิ ประจักษ์ “เป้าหมาย” คณุ ลกั ษณะของผ้เู รียน คอื “มีวินยั จิตอาสา ใฝเ่ รยี นรู้”
(มีวินัย = จุดเร่ิมพร้อมเรียน,จิตอาสา=สังคมน่าอยู่ ,ใฝ่เรียนรู้ = เอาตัวรอดได้ตลอดไป) พุ่งเป้าสร้างความ
ศรทั ธาใน 3 เร่อื ง
ได้แกก่ ารผลติ ผู้เรยี นให้มคี ณุ ลกั ษณะ 3 ข้อ ดงั นี้
1. เป็นคนดี = ผ่านกิจกรรมโรงเรียนคุณธรรม ตาม ร.9 “ให้โรงเรียนช่วยสร้างคนดีให้แก่
บ้านเมือง” วลิ ัยมคี รู/นร. จติ อาสาช่วยงานเปน็ รอ้ ยคนทุกวนั
2. เป็นคนเกง่ = ยดึ หลักเรียนรตู้ ามหลักสูตร แต่ แทรกภาษาอังกฤษลงในทุกรายวิชา ส่งเสริมการ
เรียนร้ดู ้วยตนเองไดท้ ้ังปีจากฐานท่คี รสู รา้ งไว้ และสอบประมวล ความรู้ทุกระดับชั้น ตามคามั่นสัญญา ของ
แผนก
10
3. มีความสุข = อวท. ให้เป็นเวทีฝึกการทางานของผู้เรียนจริงๆ ส่งต่อความเป็นผู้นา รุ่น ต่อ รุ่น
(ผ่าน 5 แผนดี 5 แผนเกง่ ด้วยทีม อวท.กลาง และ ชมรม)
-โดยครูผูส้ อน จะพาผู้เรยี นนาวชิ าชีพที่เรียนมาไปทดแทนคุณ โรงเรยี นเดมิ และชมุ ชนท้องถ่นิ
การขบั เคลอ่ื นระบบงานวชิ าการของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสระแกว้
1. ใช้รปู แบบการเรียนการสอน Block course
2. รว่ มมือกบั สถานประกอบการและชุมชน
3. พัฒนาหลักสตู รเทคโนโลยกี ารผลติ ออ้ ยและน้าตาล
4. พฒั นาหลักสูตรระยะสนั้ (ตามความต้องการของตลาดแรงงาน)
5. พฒั นาหลกั สูตรสอดคล้องกบั การจดั การเรียนการสอนโรงเรียนมัธยม
6. โครงงานอาชวี ะสรา้ งชา่ งฝีมือ (พระดาบส)
6.1 จดั ฝกึ อบรมครผู ู้ฝึกสอนนกั เรียนโครงการ
6.2 ออกแนะแนวหาผเู้ รยี นตามชุมชนตา่ งๆ
6.3 มอบหมายครูผรู้ บั ผิดชอบดแู ลนกั เรยี น / สอน / ท่ีพกั อาศัย
6.4 ดาเนินการสอนในวทิ ยาลยั ฯ 5 เดือน 10 ทักษะ
6.5 ส่งไปฝกึ ยงั สถาบนั พัฒนาฝมี อื แรงงานจังหวัดสระแก้ว 3 เดอื น
6.6 เลือกอาชีพท่ีถนัดฝึกในสถานประกอบการ 4 เดือน
6.7 ประเมินผลการเรยี น
6.8 ติดตามนักเรยี นท่จี บโครงการไปแลว้
7. รปู แบบการเรยี นอาชวี ศึกษาเพื่อการพัฒนาชนบท อศ.กช.
8. เพ่ิมและกระจายโอกาสการบรกิ ารวชิ าการและวิชาชพี อาชีวศกึ ษาเกษตร
9. ขยายโอกาสการเข้าถึงการรบั บริการ การเรียนรูอ้ าชวี ศกึ ษาเกษตร
9.1 โครงการอาชวี ศึกษาเพือ่ การพัฒนาชนบท (อศ.กช.)
9.2 โครงการจัดตง้ั ศูนยฝ์ ึกอบรมวิชาชพี เกษตร
9.3 โครงการศนู ยบ์ ม่ เพาะวสิ าหกิจเกษตรตง้ั ตัวได้
10. จดั ตั้งคลินคิ เกษตรและเทคโนโลยีเพอื่ ชุมชน ทง้ั ภายในและภายนอกสถานศึกษา
10.1 โครงการศูนยซ์ ่อมสรา้ งเกษตรเพ่อื ชมุ ชน (Agriculture Fix It Center)
10.2 โครงการจดั ต้ังคลนิ คิ เกษตรและเทคโนโลยี เฉลิมพระเกยี รติสมเด็จพระเทพ
รตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี 60 พรรษา
11. ดาเนินโครงการพาน้องกลับมาเรยี น
11
ดาเนนิ การโดยลงทะเบียนการใชง้ านแอปพลเิ คช่นั “พาน้องกลับมาเรยี น” และดาวน์โหลด
แอปพลิเคชนั แล้วใหค้ รูท่ีปรกึ ษาสารวจ ตดิ ตาม นักเรียนในที่ปรกึ ษาท่ีหลุดออกจากระบบ
การศกึ ษาตามรายชื่อ ท่ปี รากฏในเวบ็ ไซต์ “พาน้องกลับมาเรยี น” โดยแอปพลเิ คชนั จะให้
บันทกึ ข้อมูลการติดตาม ประกอบด้วย ภาพถ่าย พิกดั สถานการณ์ตดิ ตาม สาเหตทุ ี่ออก ช่อื บคุ คล
ทส่ี ามารถติดต่อได้ ความต้องการชว่ ยเหลอื /สนับสนุน เพอ่ื ใช้เปน็ ขอ้ มูลในการช่วยเหลือใหน้ ักเรยี น
กลบั เขา้ มาเรียนในระบบต่อไป
ประโยชนท์ ี่ไดร้ ับคือ ต่อสถานศึกษา : เพ่มิ ปริมาณผเู้ รยี น
ประโยชน์ตอ่ ผเู้ รียน : ผเู้ รียนไดร้ บั ความรู้สามารถนาความรู้ไปประกอบอาชีพได้
12. สถานศึกษาปลอดภัย
12.1 กาหนดนโยบายและการวางแผนการรกั ษาความปลอดภัยของวทิ ยาลัยฯ
12.2 ศึกษาสภาพท่วั ไปของสถานศึกษา ชมุ ชน ความเขม้ แข็งของเครือข่ายเพ่ือวิเคราะห์
ความเสี่ยงจากการเกิดอุบัติเหตุ อบุ ตั ิภัย และภัยจากสภาพแวดลอ้ ม
12.3 วิทยาลยั ฯ จดั ระบบรักษาความปลอดภัยของนกั เรยี น นักศกึ ษา โดยการมีสว่ นร่วมของ
ครู ผู้ปกครอง และเครือข่ายท้ังภาครฐั และเอกชนอย่างมีประสทิ ธิภาพ
12.4 กาหนดมาตรการรักษาความปลอดภยั ของนักเรียน นกั ศกึ ษา
12.5 มีการกากับตดิ ตาม ประเมนิ ผลและรายงาน
กระบวนการ PDCA ของสถานศกึ ษา มดี ังนี้
1) P-Plan การวางแผนจัดทาโครงการสรา้ งเครือข่ายความร่วมมอื กับหนว่ ยงานภายนอก ประชุม
วางแผนการดาเนินงานรว่ มกับสถานประกอบการ แต่งต้งั คณะกรรมการ มอบหมายหน้าที่
2) D-Do สถานศกึ ษามีการทาความรว่ มมือกับสถานประกอบการ เพื่อรองรับการฝึกงานของ
นักเรียน นักศึกษาทาการ MOU กับสถานประกอบการ ดาเนนิ การฝกึ อบรมให้ความรแู้ ก่ ผูบ้ รหิ าร
ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา และครฝู ึกในสถานประกอบการ
3) C-Check ประเมินผลโครงการตา่ ง ๆ โดยการประเมนิ ตามสภาพจรงิ วิเคราะห์ปัญหาและ
อุปสรรคทเี่ กิดข้นึ หาแนวทางแก้ไขปญั หาการดาเนินงาน และสอบประเมนิ ความรเู้ พ่ือเข้ารับ
ใบรบั รอง
4) A-Act การนาผลการวิเคราะหป์ ัญหาและสาเหตุมาปรบั ปรงุ แก้ไข เพื่อใหเ้ กดิ การพฒั นาในคร้ัง
ต่อไป
12
ภาคผนวก
13
ภาพประกอบการรายงานการฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศกึ ษา
การพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งต้ังใหด้ ารงตาแหน่ง
รองผู้อานวยการสถานศึกษา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
วันที่ ๒๕-๒๙ เมษายน ๒๕๖๕ ณ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสระแก้ว
14
ภาพประกอบการรายงานการฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศกึ ษา
การพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งต้ังใหด้ ารงตาแหน่ง
รองผู้อานวยการสถานศึกษา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
วันที่ ๒๕-๒๙ เมษายน ๒๕๖๕ ณ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสระแก้ว
15
ภาพประกอบการรายงานการฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศกึ ษา
การพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งต้ังใหด้ ารงตาแหน่ง
รองผู้อานวยการสถานศึกษา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
วันที่ ๒๕-๒๙ เมษายน ๒๕๖๕ ณ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสระแก้ว
16
ภาพประกอบการรายงานการฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศกึ ษา
การพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งต้ังใหด้ ารงตาแหน่ง
รองผู้อานวยการสถานศึกษา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
วันที่ ๒๕-๒๙ เมษายน ๒๕๖๕ ณ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสระแก้ว
17
ภาพประกอบการรายงานการฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษา
การพฒั นาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหน่ง
รองผู้อานวยการสถานศึกษา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
วันที่ ๒-๖ เมษายน ๒๕๖๕ ณ วทิ ยาลัยการอาชพี กบนิ ทรบ์ ุรี
18
ภาพประกอบการรายงานการฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษา
การพฒั นาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหน่ง
รองผู้อานวยการสถานศึกษา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
วันที่ ๒-๖ เมษายน ๒๕๖๕ ณ วทิ ยาลัยการอาชพี กบนิ ทรบ์ ุรี
19
ภาพประกอบการรายงานการฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษา
การพฒั นาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหน่ง
รองผู้อานวยการสถานศึกษา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
วันที่ ๒-๖ เมษายน ๒๕๖๕ ณ วทิ ยาลัยการอาชพี กบนิ ทรบ์ ุรี
20
ภาพประกอบการรายงานการฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษา
การพฒั นาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหน่ง
รองผู้อานวยการสถานศึกษา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
วันที่ ๒-๖ เมษายน ๒๕๖๕ ณ วทิ ยาลัยการอาชพี กบนิ ทรบ์ ุรี
21
ภาพประกอบการรายงานการฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษา
การพฒั นาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหน่ง
รองผู้อานวยการสถานศึกษา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
วันที่ ๒-๖ เมษายน ๒๕๖๕ ณ วทิ ยาลัยการอาชพี กบนิ ทรบ์ ุรี
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33