บนั ทึกการฝึกประสบการณ์ในสถานศกึ ษา
การพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ต้ังให้ดำรงตำแหนง่
รองผอู้ ำนวยการสถานศึกษาประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
สงั กดั สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
ของ
นายสถาพร อนุ่ เรอื นงาม
กล่มุ ท่ี ๒ เลขที่ 7
สถานท่ีฝึกประสบการณ์ ในสถานศึกษา
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยชี ลบรุ ี และ วทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง
ระหว่างวันที่ 25 เมษายน 2565 ถึงวันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕
๑.๑ ประวตั ิวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยชี ลบรุ ี
สถานที่ต้งั วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยชี ลบุรี ตง้ั อยเู่ ลขที่ 192 ถ.สขุ ุมวิท หมู่ 3
ต.นาจอมเทียน อ.สตั หีบ จ.ชลบุรี 20250
โทรศพั ท/โทรสาร : 038-237-053 Email : [email protected]
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชลบุรี จัดตั้งขึ้นเมื่อ 1 เมษายน พ. ศ. 2485 มีชื่อว่า “โรงเรียน
เกษตรกรรมชลบุรี” โดยได้รับความช่วยเหลือจาก พลเรือเอกหลวงสินธุ์ กมลนาวิน แม่ทัพเรือ และ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ เพื่อให้โรงเรยี นส่งผลิตผลจากพืชและ
สัตว์ จำหน่ายแก่กองทัพเรือสัตหีบ และเพื่อให้สอดคล้องกับแผนการศึกษาชาติ ว่าด้วยการส่งเสริม
การศึกษาในสายอาชีวศึกษาเกษตร เพ่อื เผยแพรว่ ชิ ากสกิ รรม แผนใหม่ มีทดี่ ินแรกเร่ิมครงั้ นัน้ 297 ไร่
พ.ศ. 2520 ไดร้ บั การยกฐานะเป็น "วทิ ยาลยั เกษตรกรรมชลบรุ ี" ตามโครงการปรบั ปรุงการศึกษา
เกษตรของกรมอาชีวศึกษา ในการส่งเสริมการศึกษา ทางด้านวิชาชีพเกษตรให้กว้างขวางยิ่งขึ้นเพื่อผลิต
นักเรียน
พ.ศ. 2539 กรมอาชีวศึกษาได้มีการพัฒนาและเสริมสร้างวิชาการและเทคโนโลยีแก่วิทยาลัย
เกษตรกรรมเพิ่มขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับการก้าวไกลของโลก แห่งเทคโนโลยี และได้เปลี่ยนชื่อ
เป็น “วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชลบุรี” และยกเลิกวิทยาลัยชุมชนนาจอมเทียน ในวิทยาลัย
เกษตรกรรม
พ.ศ. 2546 กรมอาชีวศึกษาไดร้ บั การยกฐานะเป็นสถาบนั การอาชวี ศึกษา ตาม พ.ร.บ. การปฏริ ปู
การศึกษา วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชลบุรี ได้รับการยกฐานะเป็นสถาบันการอาชีวศึกษา และใช้ชื่อ
ว่า สถาบันอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออก 2 วทิ ยาเขตเกษตรและเทคโนโลยีชลบุรี
๑.2 ประวัติวิทยาลัยเทคนิคระยอง
สถานที่ตงั้ วิทยาลยั เทคนคิ ระยองต้ังอยเู่ ลขที่ 086/13 ถนนตากสนิ มหาราช
0000000000ตำบลทา่ ประดู่ อำเภอเมือง จังหวัดระยอง 21000
0000000000โทรศพั ท์ 038-611-160, 038-611-192 โทรสาร 038-870-717
0000000000มพี ้นื ที่ 76 ไร่ 2 งาน 17 ตารางวา
ความเป็นมา เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2481 กรมอาชีวศึกษากรมอาชีวศึกษาร่วมกับจังหวัดระยองได้
จดั ตั้ง “โรงเรยี นชา่ งไมร้ ะยอง” ขึ้นโดยอาศัยศาลาการเปรยี ญของวัดเก๋ง ซ่งึ เป็นวดั รา้ ง (ปจั จบุ ันเป็นสถาน
ที่ตั้งของโรงพยาบาลระยอง) เป็นสถานที่เรียนชั่วคราว ต่อมาได้รับบริจาคที่ดินจำนวน 5 ไร่ จาก
นายเหลียง เปี่ยมพงศ์สานต์ และจัดตั้งเป็นสถานศึกษาอันเป็นตำบลที่ตั้งของวิทยาลัยเทคนิคระยองใน
ปจั จุบนั
ความเป็นมา ในปีพ.ศ.2501 ไดซ้ ้อื ทดี่ ินเพม่ิ ข้ึนอีก 5 ไร่ ได้รบั อนุมัติใหเ้ ปล่ียนช่ือเป็น “โรงเรียนการช่า;
ไม้ระยอง” เมื่อ พ. ศ. 2509 กระทรวงศึกษาธิการประกาศรวม “โรงเรียนการช่างไม้ระยอง”
และ “โรงเรียนการช่างสตรีระยอง” เป็นโรงเรียนเดียวกัน ให้ชื่อว่า “โรงเรียนการช่างระยอง” และไดร้ บั
อนุมัติให้ชื่อเป็น “โรงเรียนเทคนิคระยอง” เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2520 ต่อมาได้รับการยกฐานะจาก
โรงเรียนเป็นวิทยาลัยโดยให้ชื่อเป็น “วิทยาลัยเทคนิคระยอง” ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2523 จนถึง
ปัจจุบัน
ยทุ ธศาสตร์ (Strategic) และกลยุทธ์ (Strategic MAP) วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยชี ลบุรี
ปรัชญา วิสยั ทัศน์ พันธกจิ
ปรัชญา (Philosophy)
“ความรู้ดี มีฝมี ือ ถือคณุ ธรรม”
วสิ ยั ทศั น์ (Vision)
“มุ่งม่ันผลิตกำลงั คนกึ่งฝมี ือระดับเทคนิค และระดบั เทคโนโลยีที่มีคุณภาพมาตรฐานสอดคล้องกับ
การพฒั นายทุ ธศาสตร์พ้ืนที่”
พันธกจิ (Mission)
๑. พัฒนาผ้เู รียนใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานอาชีพ
๒. พัฒนาสถานศกึ ษาให้ได้คณุ ภาพตามมาตรฐาน
๓. พฒั นาอาชพี ส่ชู มุ ชนเพอื่ พัฒนาคนสู่อาเซียน
๔. ส่งเสรมิ และสนับสนุนการจดั ทำนวัตกรรมสิง่ ประดิษฐ์ งานสร้างสรรคห์ รืองานวจิ ัย
๕. พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพด้วยหลักธรรมาภิบาลตามแนวทางของปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพียง
ประเดน็ ท่ี 1 กลยุทธในการขับเคล่อื น FUTURE SKILL ของสถานศกึ ษา
ยุทธศาสตร์ 1 จัดการเรยี นการสอนใหผ้ สู้ ำเร็จการศกึ ษาใหม้ คี ุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์
กลยทุ ธ์ 1.1 สรา้ งความรู้พน้ื ฐานทางอาชีวศึกษาของผู้เรียนใหเ้ ข้มแขง็
1.2 ฝกึ ทักษะการทำงานในสาขาวชิ าและการประยกุ ต์ใช้ใหผ้ ู้เรยี นเป็นมอื อาชพี
1.3 ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และคณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ ผ่านการทำกิจกรรมเสริมหลักสูตร
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 พัฒนาหลกั สูตร จัดหาครู และ ดำเนนิ การบรหิ ารจดั การสถานศึกษา ตามนโยบาย
สำคัญทห่ี น่วยงานต้นสงั กัดอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
กลยุทธ์ 2.1 ใช้และพฒั นาหลักสตู รฐานสมรรถนะอย่างเหมาะสม
2.2 จัดหาครูทม่ี ีคุณสมบตั เิ หมาะสมตอ่ การจัดการเรยี นการสอนในจำนวนที่เพียงพอ
2.3 จดั การบุคลากรและส่ิงทสี่ นับสนุนการจัดการศกึ ษาให้มคี ุณภาพที่ดแี ละมปี ริมาณเพียงพอ
2.4 ดำเนนิ การตามนโยบายสำคัญของหน่วยงานต้นสังกดั อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๓ แสวงหาร่วมมือกับบุคคล ชมุ ชน องคก์ รตา่ ง ๆ ในการจัดการศึกษาและการจัดทำ
นวัตกรรม สงิ่ ประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวจิ ัย
กลยทุ ธ์ 3.1 รว่ มมือกับบคุ คล ชุมชน องคก์ รตา่ ง ๆ ในการสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้
3.2 ส่งเสริมสนบั สนนุ ใหม้ ีการจดั ทำนวตั กรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวจิ ัย
ประเด็นที่ 2 การสร้างความเขม้ แข็งของระบบความร่วมกบั สถานประกอบการ
สถานศึกษาไดจ้ ัดการศกึ ษาระบบทวิภาคี ในระดับ ปวส. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ ร่วมกับบรษิ ัท
สยามคูโบต้าคอรป์ อเรช่นั จำกัด โดยผู้เรยี นได้เรียนรู้การใช้และซอ่ มแซมเครือ่ งมอื ทางการปลูกพชื ทุก
เครื่องมอื ที่บริษัทผลิตขนึ้ มา นอกจากนย้ี ังไดเ้ รยี นรู้และปฏบิ ตั ิงานทางการปลูกพืชด้วย บริษทั มที ี่พัก ชุด
ปฏบิ ัติงาน และเบย้ี เลย้ี งใหใ้ นชว่ งเวลาท่ีเรยี นในสถานประกอบการ
สถานศึกษาไดใ้ หบ้ ริการประชาชนในโครงการศนู ย์ซ่อมสร้างชมุ ชน (Fix It Center) 3 ภารกจิ
คือ
1. ภารกจิ บรกิ ารซอ่ ม (Repair) เคร่ืองมือ เครอื่ งจักรกลการเกษตร ยานพาหนะ
เคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ เคร่ืองใช้นครวั เรอื น ถา่ ยน้ำมนั เครื่องรถจกั รยานยนต์ ใหค้ ำแนะนำวธิ ีการใช้และดูแลรกั ษา
ท่วี ัดห้วยใหญ่ ต. หว้ ยใหญ่ อ. บางละมุง จ. ชลบุรี วันท่ี 18 – 23 สงิ หาคม 2563 มผี ู้เข้ารับบรกิ าร
จำนวน 358 คน ท่ีชุมชนบ้านอำเภอ ต. นาจอมเทยี น อ. สัตหีบ จ. ชลบุรี วนั ท่ี 9 – 10, 12 กันยายน
2563 มผี ้เู ขา้ รบั บรกิ าร จำนวน 75 คน
2. ภารกจิ บรกิ ารสร้าง (Build) อาชีพใหม่หรือต่อยอดอาชีพ
- การเพาะเหด็ สมุนไพรในครวั เรอื น ทีว่ ดั หว้ ยใหญ่ ต. ห้วยใหญ่ อ. บางละมงุ จ. ชลบุรี วนั ท่ี 20
– 21 สงิ หาคม 2563 มีผู้เข้ารับบรกิ าร จำนวน 68 คน
- การเพาะพันธ์ุปลาสวยงาม ทีว่ ดั หว้ ยใหญ่ ต. หว้ ยใหญ่ อ. บางละมงุ จ. ชลบุรี วันที่ 22 – 23
สงิ หาคม 2563 มีผูเ้ ข้ารับบรกิ าร จำนวน 71 คน ท่ชี ุมชนบ้านอำเภอ ต. นาจอมเทียน อ. สัตหีบ จ. ชลบรุ ี
วนั ท่ี 10 กนั ยายน 2563 มีผเู้ ข้ารบั บริการ จำนวน 20 คน
- สารชวี ภาพเพือ่ การเกษตร ท่ชี ุมชนบา้ นอำเภอ ต. นาจอมเทยี น อ. สตั หีบ จ. ชลบุรี วนั ท่ี 9
กันยายน 2563 มีผเู้ ขา้ รบั บรกิ าร จำนวน 72 คน
3. ภารกิจบรกิ ารพัฒนา (Top Up) สรา้ งนวตั กรรมรว่ มกับชมุ ชน
- การให้บริการสุขศาสตรส์ ัตว์ ทวี่ ัดหว้ ยใหญ่ ต. ห้วยใหญ่ อ. บางละมุง จ. ชลบรุ ี วันท่ี 18
สงิ หาคม 2563 มีผู้เข้ารบั บริการ จำนวน 20 คน
- การเล้ยี งนกกระทา ท่ีวัดหว้ ยใหญ่ ต. ห้วยใหญ่ อ. บางละมุง จ. ชลบรุ ี วนั ท่ี 19 สิงหาคม
2563 มีผเู้ ขา้ รบั บริการ จำนวน 27 คน
4. การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาท่ีเปน็ แบบอย่างท่ีดี (Best Practice)
ช่ือผลงาน : การจดั การเรยี นการสอนเพอื่ พฒั นาผูเ้ รียน เนน้ ทกั ษะการปฏบิ ตั โิ ดยใช้ Digital Smart
Farming สาขาวิชาเพาะเลยี้ งสัตวน์ ้ำ แผนกวิชาประมง
ประเดน็ ท่ี 3 ระบบการบรหิ ารจดั การสู่คุณภาพ
การจัดการอาชีวศึกษา เปน็ การจัดการศึกษาเพือ่ พัฒนาผูส้ ำเรจ็ การศึกษาอาชีวศกึ ษาให้มี
ความรู้ มที กั ษะและการประยุกตใ์ ชเ้ ป็นไปตามมาตรฐานคุณวฒุ ิอาชีวศกึ ษาแต่ละระดบั การศกึ ษา และมี
คณุ ธรรม จริยธรรม และคณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ ประกอบดว้ ยประเดน็ การประเมนิ ดังน้ี
1.1 ดา้ นความรู้
ผสู้ ำเรจ็ การศึกษาอาชวี ศึกษามีความรเู้ ก่ยี วกับข้อเทจ็ จรงิ ตามหลกั การ ทฤษฎี และแนวปฏบิ ตั ิตา่ ง ๆ ท่ี
เกย่ี วข้องกับสาขาวิชาทีเ่ รียน หรอื ทำงาน โดยเนน้ ความรเู้ ชิงทฤษฎี และหรอื ขอ้ เท็จจรงิ เป็นไปตาม
มาตรฐานคุณวุฒิอาชวี ศกึ ษาแต่ละระดับการศึกษา
1.2 ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้
ผสู้ ำเร็จการศึกษาอาชีวศกึ ษามีทักษะทจ่ี ำเป็นในศตวรรษที่ 21 ทักษะวิชาชพี และทกั ษะชีวิตเป็นไป
ตามมาตรฐานคุณวฒุ อิ าชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา สามารถประยุกตใ์ ช้ในการปฏิบัติงาน และการ
ดำรงชวี ิตอยรู่ ว่ มกบั ผูอ้ ื่นได้อย่างมีความสุขตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และมสี ุขภาวะทด่ี ี
1.3 ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และคณุ ลักษณะที่พึงประสงค์
ผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศกึ ษามคี ุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพ เจตคติและกจิ นสิ ยั ท่ีดี ภูมใิ จ
และรักษาเอกลักษณข์ องชาตไิ ทย เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของผอู้ ่ืน มีความรับผิดชอบตามบทบาทหนา้ ที่
ของตนเองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมขุ มีจิตสาธารณะ และมีจิตสำนกึ
รักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม
ประเด็นท่ี 4 การขบั เคลอ่ื นระบบงานวชิ าการให้ศกึ ษาบรบิ ทของสถานศกึ ษาทงั้ 4 ประเดน็ โดย
วเิ คราะหข์ อ้ มูลโดยใช้กระบวนการ PDCA
สถานศึกษามีครูที่มีคุณวุฒิการศึกษาและจำนวนตามเกณฑ์ที่กำหนด ใช้หลักสูตรฐาน
สมรรถนะในการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สำคญั และบรหิ ารจัดการทรพั ยากรของสถานศึกษา
อย่างมีประสิทธิภาพ มีความสำเร็จในการดำเนินการตามนโยบายสำคัญของหน่วยงานต้นสังกัดหรือ
หน่วยงานท่ีกำกับดูแลสถานศกึ ษา ประกอบดว้ ยประเดน็ การประเมิน ดังน้ี
2.1 ดา้ นหลักสตู รอาชวี ศึกษา
สถานศึกษาใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สถาน
ประกอบการ ตลาดแรงงาน มีการปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกำหนดรายวิชาใหม่ หรือกลุ่มวิชาเพิม่ เติมให้
ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความต้องการของตลาดแรงงาน โดยความร่วมมือกับสถาน
ประกอบการหรอื หน่วยงานท่เี กีย่ วข้อง
2.2 ด้านการจัดการเรยี นการสอนอาชวี ศึกษา
สถานศกึ ษามีครูที่มีคุณวุฒิการศึกษาและมีจำนวนตามเกณฑ์ที่กำหนด ได้รบั การพัฒนาอย่าง
เป็นระบบต่อเนื่อง เพื่อเป็นผู้พร้อมทั้งด้านคุณธรรม จริยธรรมและความเข้มแข็งทางวิชาการและวิชาชีพ
จัดการเรียนการสอนที่เน้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนทั้งวัยเรียนและวัยทำงาน
ตามหลกั สตู ร มาตรฐานคุณวฒุ อิ าชวี ศกึ ษาแต่ละระดับการศึกษา ตามระเบยี บหรอื ข้อบงั คับเกย่ี วกับการจัด
การศึกษาและการประเมินผลการเรยี นของแต่ละหลักสูตร ส่งเสริม สนบั สนุน กำกบั ดแู ลใหค้ รจู ัดการเรียน
การสอนรายวิชาให้ถูกต้อง ครบถ้วน สมบรู ณ์
2.3 ดา้ นการบริหารจัดการ
สถานศึกษาบริหารจัดการบุคลากร สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ ห้องเรียน
ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ สื่อ แหล่งเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ครุภัณฑ์ และ
งบประมาณของสถานศึกษาท่มี ีอยู่อย่างเตม็ ศักยภาพและมีประสิทธภิ าพ
2.4 ดา้ นการนำนโยบายสูก่ ารปฏิบัติ
สถานศึกษามีความสำเร็จในการดำเนินการบริหารจัดการสถานศึกษา ตามนโยบายสำคัญท่ี
หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษามอบหมาย โดยความร่วมมือของผู้บริหาร ครู
บุคลากรทางการศึกษาและผู้เรียน รวมทั้งการช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุนจากผู้ปกครอง ชุมชน สถาน
ประกอบการและหนว่ ยงานที่เกย่ี วข้องทงั้ ภาครัฐและภาคเอกชน
ยุทธศาสตร์ (Strategic) และกลยุทธ์ (Strategic MAP)
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีชลบุรี
ยุทธศาสตร์ (Strategic) และกลยุทธ์ (Strategic MAP) วิทยาลัยเทคนคิ ระยอง
๑.๒ ปรัชญา วสิ ัยทศั น์ พนั ธกจิ
ปรัชญา (Philosophy)
“สามคั คี เรียนดี วินัยเด่น เน้นคณุ ธรรม”
วิสัยทศั น์ (Vision)
“วิทยาลัยเทคนิคระยองเปน็ องค์กรมุง่ พฒั นา และสร้างคณุ ภาพการอาชวี ศกึ ษาสู่มาตรฐานสากล”
พันธกจิ (Mission)
1. พัฒนาบริหารการจัดการอาชีวศึกษาให้มีมาตรฐานโดยการกระจายอำนาจด้วยเทคโนโลยี
สารสนเทศใหส้ อดคลอ้ งกบั นโยบาย Thailand 4.0
2. พัฒนาผู้เรียน และกำลังคน ดา้ นวิชาชีพในท้องถ่นิ ให้มคี วามรู้ และทกั ษะทางวิชาชีพในทักษะ
ท่จี ำเป็นในศตวรรษท่ี 21 อย่างหลากหลายและตอ่ เนื่อง
3. ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมด้านวิชาชีพ เพื่อสร้างความเข้มแข็งของ
สถานศึกษาและชุมชนให้สอดคล้องกับภูมิปัญญาของท้องถ่ินรองรับระเบียงเศรษฐกิจภาค
ตะวันออก
4. ส่งเสริม สนับสนุน การจัดกิจกรรมอย่างหลากหลายเพื่อให้ผู้เรียนเป็นคนดีมีคุณธรรมและ
จริยธรรม
5. สรา้ งเครอื ข่ายความรว่ มมอื ให้ทกุ ภาคสว่ นมสี ว่ นร่วมในการพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษา
6. ส่งเสริม/พัฒนา ครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ มั่นคง และก้าวหน้าใน
วิชาชพี
ประเดน็ ท่ี 1 กลยุทธในการขับเคลอื่ น FUTURE SKILL ของสถานศกึ ษา
ยุทธศาสตร์ 1 การพัฒนาการจดั การอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวชิ าชีพให้มคี ณุ ภาพมาตรฐาน
กลยทุ ธ์ 1.1 พฒั นาครูและบคุ ลากรอาชีวศกึ ษา
1.2 เรง่ รดั พฒั นาคณุ ภาพและสมรรถนะผเู้ รียน
1.3 สร้างมาตรฐานและพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน และการวัดและประเมนิ ผล
1.4 สง่ เสรมิ การประกันคุณภาพสถานศึกษา
1.5 ส่งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชพี
1.6 พัฒนาสถานศกึ ษาและสถาบนั การอาชวี ศึกษาใหไ้ ดม้ าตรฐาน มีความเป็นเลิศทางวชิ าชีพ
1.7 สรา้ งเสรมิ ประสบการณ์วิชาชีพ ปลูกจิตอาสา ด้วยการบริการสงั คม
1.8 สง่ เสรมิ ให้นำเทคโนโลยีสารสนเทศ สอื่ นวัตกรรม มาใชใ้ นการเรียนการสอน เสริมสรา้ ง
ทักษะการเปน็ ผู้ประกอบการ
1.9 สร้างภาพลกั ษณท์ ี่ดตี อ่ การอาชวี ศกึ ษ
ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 สร้างเครือข่ายและส่งเสรมิ ความรว่ มมอื
กลยทุ ธ์ 2.1 ส่งเสริมและสนับสนุนความรว่ มมอื ในการจัดอาชวี ศกึ ษา และ การฝึกอบรมวิชาชีพท้ังในและ
ตา่ งประเทศ
2.2 เสร้างความเข้มแขงในการสร้างเครือข่ายและความร่วมมือในการจดั การอาชีวศึกษาและการ
ฝึกอบรมวชิ าชพี
2.3 พฒั นาฐานขอ้ มลู ความรว่ มมือ
2.4 พฒั นาศนู ยก์ ำลังคนอาชวี ศกึ ษา
2.5 ประสาน ส่งเสริมและสนับสนุน การจดั การอาชีวศกึ ษาและการฝึกอบรมวชิ าชีพของ
สถานศึกษาเอกชน สถานประกอบการและเครอื งขา่ ย
ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การอาชีวศึกษา
กลยุทธ์ 3.1 จดั และพฒั นาโครงสรา้ งการบริหารงานให้เป็นไปตาม ก.ม.การอาชวี ศกึ ษา และ ก.ม.อ่ืนท่ี
เกยี่ วข้อง
3.2 พัฒนาระบบบริหารจัดการตามหลกั เกณฑ์คุณภาพการบริหารจดั การภาครัฐและธรรมาภบิ าล
3.3 พัฒนากฎหมาย กฎ ระเบยี บ ข้อบงั คบั
3.4 กระจายอำนาจการบรหิ ารจัดการส่สู ถานศึกษาและสถาบัน
3.5 ผลกั ดันการจัดตั้งสถาบันการอาชีวศกึ ษา
3.6 พฒั นาระบบติดตามและประเมินผลใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ
3.7 พัฒนาระบบการตรวจสอบภายในให้มปี ระสิทธภิ าพ
3.8 ส่งเสริมการนำเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การบรหิ ารจัดการและการให้บรกิ าร
3.9 เสริมสรา้ งสวสั ดกิ ารและขวญั กำลงั ใจ
ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 ขยายโอกาสทางการศกึ ษาวชิ าชพี และส่งเสรมิ การเรียนร้ตู ลอดชวี ิต
กลยุทธ์ 4.1 สง่ เสริมและพัฒนาการจัดอาชวี ศึกษาและการฝกึ อบรมวิชาชพี ดว้ ยรปู แบบทหี่ ลากหลายท้ัง
ในระบบ นอกระบบ และทวิภาคี
2 สง่ เสรมิ และพัฒนาอาชีพใหป้ ระชาชนในการสร้างงานสร้างรายได้
3 จดั การศึกษาวิชาชีพแก่ผดู้ ้อยโอกาส คนพิการ ผูส้ ูงอายุ
4 ส่งเสรมิ ให้มีการสรา้ งรายได้ระหว่างเรียน
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 จัดอาชีวศกึ ษาเพือ่ สร้างเสรมิ ความมัน่ คงของรัฐ
กลยทุ ธ์ 5.1 สง่ เสริมและพัฒนาการจัดอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชพี ในเขตชายแดนภาคใต้
5.2 สง่ เสรมิ และพฒั นาการจัดอาชวี ศกึ ษาและการฝกึ อบรมวชิ าชีพในพน้ื ทีช่ ายแดน และเขต
พัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ
5.3 สง่ เสรมิ และพฒั นาการจดั อาชวี ศกึ ษาและการฝกึ อบรมวิชาชีพตามโครงการพระราชดำริ
5.4 สง่ เสริมและพัฒนาการจดั อาชวี ศึกษารว่ มกบั ประเทศเพื่อนบ้านเพ่ือสรา้ งความเข้าใจอนั ดี
ยทุ ธศาสตร์ ท่ี 6 สนบั สนนุ การวิจยั และพฒั นาถา่ ยทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี
กลยุทธ์ 6.1 ส่งเสรมิ พัฒนาการวจิ ัย สร้างนวตั กรรม สงิ่ ประดิษฐ์ และการวิจยั เชงิ นโยบาย การวิจยั เพื่อ
ตอบสนองความต้องการของสถานประกอบการ
6.2 สง่ เสริมการนำองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวตั กรรม ไปใชพ้ ัฒนาคุณภาพการบริหารจดั การ
และการเรียนการสอน
6.3 ส่งเสรมิ ให้นำความรู้ เทคโนโลยี สิ่งประดษิ ฐ์ และนวตั กรรม ไปใชพ้ ฒั นาอาชพี จดสิทธิบัตร
และพฒั นาสู่เชิงพาณิชย์
6.4 พัฒนาระบบบริหารจัดการ เครอื ขา่ ยงานวิจัย และการจดั การความรอู้ าชวี ศกึ ษา ท้งั ใน
ประเทศและระดับนานาชาติ
นอกจากหลักสตู รการเรียนการสอนท่ีวทิ ยาลยั ได้ดำเนนิ การจดั การเรยี น การสอนตามโครงสรา้ ง
หลกั สตู รทไี่ ดก้ ำหนดไว้แลว้ น้ัน ยังไดม้ กี ารเสริมหลกั สูตรทมี่ ีความจำเปน็ ที่นักเรยี น นกั ศกึ ษาในยุค NEXT
NORMAL ในส่วนของ future skill ในหลักสตู รต่าง ๆดงั น้ี
- การอบรมหลักสูตรตามโครงการพฒั นาศกั ยภาพ และ ทกั ษะด้านเทคโนโลยีปญั ญาประดษิ ฐ์ใน
ภาคอตุ สาหกรรม ให้กบั กำลังคนระดับอาชวี ศกึ ษา (AI อาชีวะ) ในพ้ืนท่ี EEC
- จดั ต้งั ศูนย์ภาษาวิทยาลยั เทคนิคระยอง โดยมุง่ เนน้ เสรมิ สร้างทักษะทางด้านภาษาต่างประเทศ
ใหก้ ับนกั เรนี นกั ศึกษาในกลมุ่ ท่ีสนใจ และในกลุ่มท่ีจะกา้ วสู่สถานประกอบการ
ประเดน็ ที่ 2 การสร้างความเข้มแข็งของระบบความร่วมกับสถานประกอบการ
วิธีดำเนินการสร้างความเข้มแข็งและความเชื่อมันให้กับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและสถานประกอบการ
โดยการจัดการเรียนการสอนร่วมกับสถานประกอบการ ซึ่งมีรูปแบบการพัฒนาทักษะด้านอาชีพ เน้นการ
สร้างความร่วมมือกบั ภาคเอกชนทอ่ี ยู่ในอุตสาหกรรมหลกั ของจังหวัดระยองและจังหวัดใกล้เคียง เพื่อสร้าง
การเชื่อมโยงหลักสูตรด้านอาชีวศึกษากับภาคอุตสาหกรรม ทำใหก้ ารพัฒนาทกั ษะของนกั เรียนสายอาชีวะ
ตอบโจทย์และตรงกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรมอย่างแท้จริง นอกจากน้ีการพัฒนาทักษะด้าน
เทคนิคและอาชีพ ยังจะสนับสนุนเรื่องการฝึกงานของนักเรียน นักศึกษา เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้จาก
ประสบการณ์จรงิ และเพ่ือสรา้ งโอกาสดา้ นอาชีพใหแ้ กผู้เรียนวิทยาลยั เทคนิคระยองเปน็ ศูนย์ประสานงาน
หลัก ของศูนย์ประสานงานการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก จังหวัด
ระยอง (EEC TVET) ได้จัดอบรมเพื่อพัฒนาสมรรถนะด้านการเรียนการสอนแก่ ครู นักเรียน นักศึกษา
ประชาชนทั่วไปรวมถงึ ทำความรว่ มมอื กับสถานประกอบการ หน่วยงานตา่ ง ๆ ท้ังภาครฐั และเอกชน ในการ
ส่งนักเรียน นักศึกษาเข้าไปฝึกงาน ศึกษาดูงาน และเรียนในสถานประกอบการ (ระบบทวิภาคี) ทำความ
ร่วมมือกับมหาวิทยาลยั ทังในประเทศและต่างชาติเข้ามาสอนในวทิ ยาลัยเพือ่ พัฒนาทักษะด้านภาษาและ
ส่งเสริมสนับสนนุ ด้านนวัตกรรม สิงประดิษฐ์และเทคโนโลยีสมัยใหม่ ให้แกครู นักเรียน นักศึกษา รวมถึง
จัดทำระบบฐานข้อมูลกำลังคนอาชีวศึกษา (Big Data System) เพื่อรองรับความต้องการของสถาน
ประกอบการในการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษาให้ตรงตามความต้องการของสถานประกอบการ
และเป็นการส่งเสริมและพัฒนากำลังคนด้านอาชีวศึกษาให้เปน็ แรงงานที่สอดคล้องกับ 10 อุตสาหกรรม
First S-Curve และ New S-Curve เพิ่มขีดความสามารถของบุคลากรทางการศึกษาและเป็นกลไกในการ
ผลกั ดันการเติบโตของเศรษฐกิจและสังคมในภาคตะวันออกของไทยสู่การเป็นศนู ย์กลางทางเศรษฐกิจใหม่
ของภมู ิภาคอาเซียนในท่สี ุด
ประเดน็ ท่ี 3 ระบบการบริหารจดั การสคู่ ุณภาพ
การจัดการอาชวี ศกึ ษา เป็นการจดั การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาผู้สำเร็จการศึกษาอาชวี ศกึ ษาให้มีความรู้ มี
ทักษะ และการประยุกต์ใช้เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา และมีคุณธรรม
จรยิ ธรรม และ คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์
1. ด้านคณุ ลกั ษณะของผูส้ ำเรจ็ การศึกษาอาชวี ศกึ ษาทถี่ งึ ประสงคโ์ ดยแบ่งออกเปน็
1.1 ด้านความรู้ ผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามคี วามรู้เกีย่ วกบั ข้อเท็จจริง ตามหลักการ ทฤษฎี
และแนวปฏิบัติต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่เรียน หรือทำงาน โดยเน้นความรู้เชิงทฤษฎี และหรือ
ข้อเทจ็ จริง เปน็ ไปตามมาตรฐานคุณวฒุ อิ าชวี ศกึ ษาแตล่ ะระดับการศกึ ษา
1.2 ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้ ผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีทกั ษะท่ีจำเป็นในศตวรรษที่
21 ทักษะวิชาชีพ และทักษะชีวิตเป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา สามารถ
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการปฏิบัติงาน และการดำรงชีวติ อยรู่ ่วมกับผอู้ ่ืนได้อยา่ งมีความสขุ ตามปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง และมสี ุขภาวะทีด่ ี
1.3 ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามี
คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจนิสัยที่ดี ภูมิใจและรักษาเอกลักษณ์ของชาติไทย
เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของผู้อื่น มีความรับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่ของตนเองตามระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข มีจติ สาธารณะ และมีจติ สำนกึ รักษ์สิงแวดลอ้ ม
2. ดา้ นการจัดการอาชีวศึกษา
2.1 ด้านหลักสูตรอาชีวศึกษาสถานศึกษาใช้หลักสตู รฐานสมรรถนะที่สอดคล้องกบั ความต้องการ
ของผู้เรียน ชุมชน สถานประกอบการ ตลาดแรงงาน มีการปรับปรงุ รายวิชาเดิม หรือ กำหนดรายวิชาใหม่
หรือกลุ่มวิชาเพ่ิมเติมให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความต้องการของตลาดแรงงาน โดย
ความรว่ มมอื กับสถานประกอบการหรอื หน่วยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
2.2 ด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาสถานศึกษามีครูที่มีคุณวุฒกิ ารศึกษาและมีจำนวน
ตามเกณฑ์ที่กำหนด ได้รับการพัฒนาอย่างเปน็ ระบบตอ่ เนื่อง เพื่อเป็นผู้พร้อมทังด้านคุณธรรม จริยธรรม
และความเข้มแข็งทางวิชาการและวิชาชีพ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตอบสนองความ
ต้องการของผู้เรียนทังวัยเรียนและวัยทำงาน ตามหลักสูตร มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับ
การศึกษา ตามระเบียบหรือข้อบังคับเกี่ยวกับการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนของแต่ละ
หลกั สูตร ส่งเสริม สนับสนุน กำกบั ดูแลใหค้ รูจดั การเรียนการสอนรายวชิ าให้ถกู ตอ้ ง ครบถว้ น สมบูรณ์
2.3 ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษาบริหารจัดการบุคลากร สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคาร
สถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ สื่อ แหล่งเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ครุภณั ฑ์ และงบประมาณของสถานศึกษาทม่ี อี ยอู่ ยา่ งเต็มศักยภาพและมปี ระสิทธิภาพ
2.4 ด้านการนำนโยบายสู่การปฏิบัติสถานศึกษามีความสำเร็จในการดำเนินการบริหารจัดการ
สถานศกึ ษา ตามนโยบายสำคญั ทหี่ น่วยงานตน้ สงั กดั หรอื หน่วยงานท่กี ำกับดแู ลสถานศึกษามอบหมาย โดย
ความร่วมมือของผู้บรหิ าร ครู บุคลากรทางการศึกษาและผู้เรียน รวมท้ังการช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน
จากผู้ปกครอง ชุมชน สถานประกอบการและหนว่ ยงานที่เกีย่ วข้องท้ังภาครัฐและภาคเอกชน
3. การสรา้ งสงั คมแห่งการเรยี นรู้
3.1 ด้านความร่วมมือในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ สถานศึกษามีการสร้างความร่วมมือกับ
บุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ ทังในประเทศและตา่ งประเทศในการจัดการศึกษา การจัดทรัพยากรทางการ
ศึกษา กระบวนการเรียนรู้ การบริการทางวิชาการและวิชาชีพ โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อพัฒนา
ผู้เรยี นและคนในชมุ ชนสสู่ งั คมแหง่ การเรียนรู้
3.2 ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัยสถานศึกษาส่งเสริมสนับสนุนให้มีการ
จัดทำนวตั กรรม สิ่งประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย โดยผูบ้ ริหาร ครู บคุ ลากรทางการศึกษา ผเู้ รียน หรือ
ร่วมกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ตามวัตถุประสงค์ และเผยแพร่สู่
สาธารณชน
ประเด็นท่ี 4 การขบั เคลือ่ นระบบงานวชิ าการ
4.1 ด้านหลักสูตรอาชีวศึกษา วิทยาลัยเทคนิคระยอง มีการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรให้เปน็
หลกั สตู รฐานสมรรถนะอยา่ งเปน็ ระบบ
4.2 สง่ เสรมิ สนับสนุนให้ครผู ้สู อนจดั ทำแผนการจดั การเรียนร้สู ู่การปฏิบตั ทิ ี่เน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ
และนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีคุณภาพ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะท่ี
จำเป็นในศตวรรษที่ 21 มีเทคนคิ วิธีการสอนท่หี ลากหลาย มกี ารวัดผล ประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ มกี ารใช้
สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา แหล่งเรียนรู้ และทำวิจัยเพื่อคุณภาพการจัดการเรียนรู้และ
แก้ปญั หาการจดั การเรียนรู้ ครูผู้สอนสามารถบริหารจัดการช้ันเรียนโดยจัดทำขอ้ มูลผู้เรียนเป็นรายบุคคลมี
ขอ้ มลู สารสนเทศ หรือเอกสารประจำช้ันเรยี น และรายวชิ า ใชเ้ ทคนคิ บริหารจดั การช้ันเรยี นให้มีบรรยากาศ
ทเ่ี ออ้ื ต่อการเรียนรู้ เปน็ ผเู้ สริมแรงให้ผูเ้ รียนมคี วามมุ่งมั่น ตั้งใจในการเรยี น ดูแลช่วยเหลือผ้เู รยี นรายบุคคล
ทั้งด้านการเรียน และอื่น ๆ ครูผู้สอน จัดทำแผนพัฒนาตนเองและวิชาชพี และเข้ารว่ มกระบวนการพัฒนา
วชิ าชพี ได้รับการพฒั นาตามแผนพฒั นาตนเอง และกระบวนการพัฒนาวชิ าชีพ มกี ารนำผลการพัฒนางาน
เอามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน มีผลงานการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพ ได้รับการยอมรับหรอื
เผยแพร่
2.3 ด้านการบริหารจัดการ วิทยาลัยเทคนิคระยอง มีอาคาร สถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ
แหล่งการเรียนรู้ และส่ิงอำนวยความสะดวกในการให้บริการผู้เรียนเพียงพอต่อความต้องการ และมีการ
พัฒนาดูแลสภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ของสถานศึกษาให้เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ มีระบบไฟฟ้า ประปา
คมนาคม ระบบสือ่ สาร ระบบรกั ษาความปลอดภัยทมี่ ีประสิทธิภาพ มีระบบอนิ เตอรเ์ น็ต ความเรว็ สูง เพ่ือ
การใช้งานสารสนเทศภายในสถานศึกษา
2.4 ด้านการนำนโยบายส่กู ารปฏิบัติ วิทยาลัยเทคนิคระยอง จดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี ได้
ตามมาตรฐานที่สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากำหนด สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการระดม
ทรพั ยากรเพอื่ การจดั การอาชวี ศึกษาทั้งในและต่างประเทศ ในด้านครพู เิ ศษ ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น ผู้เชี่ยวชาญ
ผทู้ รงคุณวฒุ ิ สถานประกอบการ
ยทุ ธศาสตร์ (Strategic) และกลยทุ ธ์ (Strategic MAP) วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง
ภาคผนวก
1.1 รปู ในการเข้าฝกึ ประสบการณ์ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยชี ลบรุ ี
1
1.2รูปในการเข้าฝึกประสบการณ์ วิทยาลัยเทคนิคระยอง
2.1 บันทกึ การฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษา
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีชลบรุ ี
2.2 บันทกึ การฝึกประสบการณ์ในสถานศกึ ษา
วิทยาลยั เทคนิคระยอง
3.1 บญั ชลี งเวลาฝกึ ประสบการณก์ ารพัฒนาขา้ ราขการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ตั้งให้
ดำรงตำแหนง่ รองผูอ้ ำนวยการสถานศกึ ษา ณ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีชลบุรี
ระหว่างวนั ท่ี 25 – 29 เมษายน พ.ศ.2565
3.1 บญั ชีลงเวลาฝกึ ประสบการณ์การพัฒนาขา้ ราขการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ต้ังให้
ดำรงตำแหนง่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา ณ วิทยาลยั เทคนิคระยอง
ระหว่างวันที่ 2 – 6 พฤษภาคม พ.ศ.2565