P a g e | 45
กระบวนการท่ี 19 รบั มติ และสรปุ ข้อมลู กรอกลงระบบ E-Budgeting
รายละเอียดงาน ขั้นตอนการปฏบิ ัตงิ าน
ผปู้ ฏิบตั งิ านรับมติ ผูป้ ฏบิ ัติงานตดิ ตามผลพจิ ารณาความเห็นชอบในการประมาณการ
คณะกรรมการประจา รายรบั ทีไ่ ด้เสนอต่อคณะกรรมการประจาคณะวทิ ยาศาสตร์ และนาข้อมูล
คณะวทิ ยาศาสตร์ พร้อม สรุปทีผ่ า่ นความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจาคณะวทิ ยาศาสตรก์ รอก
สรปุ ขอ้ มลู กรอกลงระบบ ขอ้ มูลลงในระบบ E-Budgeting ของทางมหาวทิ ยาลัย ดังน้ี
E-Budgeting 1) Login เขา้ สรู่ ะบบ https://e-budgeting.buu.ac.th/
ภาพที่ 3 หนา้ Login เข้าสรู่ ะบบ E-Budgeting
2) เม่ือเข้าสรู่ ะบบเรียบร้อยแลว้ จะปรากฏหน้าจอเมนูการใช้งาน
ซ่ึงผ้ปู ฏบิ ัติงานจะต้องดาเนนิ การกรอกข้อมลู ตามการประมาณการรายรับ
ของคณะวิทยาศาสตรล์ งในระบบ E-Budgeting ดว้ ยกัน 4 ส่วน
ประกอบดว้ ย
2.1) บนั ทกึ สรปุ ประมาณการรายรับหลักสตู รไมเ่ หมาจา่ ย
ภาพที่ 4 บนั ทกึ สรปุ ประมาณการรายรบั หลกั สตู รไม่เหมาจา่ ย
ค่มู ือการปฏบิ ัตงิ าน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จัดทาโดย นายธีรยทุ ธ นพรตั นอ์ าภากลุ
รายละเอยี ดงาน P a g e | 46
ขน้ั ตอนการปฏิบัตงิ าน
2.2) บันทึกสรุปประมาณการรายรบั หลกั สตู รเหมาจา่ ย
ภาพท่ี 5 บันทกึ สรุปประมาณการรายรบั หลักสูตรเหมาจ่าย
2.3) บันทกึ รายได้อ่นื ๆ
ภาพท่ี 6 บนั ทกึ รายได้อืน่ ๆ
ค่มู ือการปฏบิ ตั งิ าน การจัดทาการประมาณการรายรับของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จดั ทาโดย นายธีรยุทธ นพรตั นอ์ าภากุล
รายละเอียดงาน P a g e | 47
ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน
2.4) บันทึกสรปุ ประมาณการรายรับลว่ งหนา้
ภาพที่ 7 บนั ทกึ สรปุ ประมาณการรายรบั ล่วงหนา้
เม่ือดาเนินการกรอกข้อมูลการประมาณการรายรับ ลงในระบบ
E-Budgeting เรียบรอ้ ยแลว้ ใหด้ าเนนิ การตรวจสอบข้อมูลจากรายงานสรุป
ในระบบ E-Budgeting ตอ้ งมคี วามถกู ตอ้ ง ตรงตามข้อมูลในระบบ Google
Sheets ที่ได้ดาเนินการไว้แล้ว ดังนี้
1) รายงานสรปุ ประมาณการรายรบั
ภาพท่ี 8 รายงานสรปุ ประมาณการรายรบั
คมู่ ือการปฏบิ ตั ิงาน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา จดั ทาโดย นายธีรยุทธ นพรตั นอ์ าภากุล
P a g e | 48
รายละเอยี ดงาน ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิงาน
2) รายงานสรุปประมาณการรายรับลว่ งหน้า
ภาพท่ี 9 รายงานสรปุ ประมาณการรายรับลว่ งหน้า
3) รายงานสรปุ ประมาณการรายรับจากการจัดการศึกษา(40:60)
ภาพที่ 10 รายงานสรปุ ประมาณการรายรบั จากการจัดการศึกษา(40:60)
4) รายงานสรุปประมาณการรายรับหลักสูตรไม่เหมาจ่าย
ภาพที่ 11 รายงานสรุปประมาณการรายรับหลักสูตรไม่เหมาจา่ ย
คู่มือการปฏบิ ัติงาน การจัดทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงินรายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา จดั ทาโดย นายธรี ยุทธ นพรัตนอ์ าภากลุ
รายละเอยี ดงาน P a g e | 49
ข้ันตอนการปฏิบตั งิ าน
5) รายงานสรปุ ประมาณการรายรับหลักสูตรเหมาจ่าย
ภาพที่ 12 รายงานสรปุ ประมาณการรายรับหลกั สูตรเหมาจา่ ย
6) รายงานสรุปประมาณการรายรับจากการบรหิ ารสินทรัพย์
ภาพที่ 13 รายงานสรปุ ประมาณการรายรับจากการบรหิ ารสนิ ทรัพย์
กระบวนการท่ี 20 เสนอคณบดพี จิ ารณาลงนาม
รายละเอียดงาน ข้นั ตอนการปฏิบัตงิ าน
ผู้ปฏบิ ตั งิ านจัดทาข้อมูลสรปุ ผู้ปฏิบัติงานดาเนินการส่งออกรายงานการประมาณการรายรับ
ดา้ นการจัดทาการประมาณ ทั้งหมดจากระบบ E-Budgeting และจัดทาบันทึกข้อความเสนอต่อคณบดี
การรายรับเสนอคณบดี พิจารณาลงนาม กรณีคณบดีไม่เห็นชอบลงนามอาจเกิดจากมีการแก้ไข
พิจารณา บันทึกข้อความหรือรายละเอียดที่จะจัดส่งไปยังมหาวิทยาลัยไม่ครบถ้วน
ผปู้ ฏิบัตงิ านต้องเร่งดาเนินการแกไ้ ขให้ถูกตอ้ ง
คู่มอื การปฏบิ ัตงิ าน การจัดทาการประมาณการรายรับของงบประมาณเงินรายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา จัดทาโดย นายธรี ยทุ ธ นพรตั นอ์ าภากุล
P a g e | 50
กระบวนการท่ี 21 ส่งข้อมูลยืนยันไปยงั มหาวทิ ยาลัย
รายละเอยี ดงาน ขั้นตอนการปฏบิ ตั งิ าน
ผู้ปฏิบัตงิ านส่งข้อมูล ผู้ ป ฏิ บั ติ ง า น น า บั น ทึ ก ข้ อ ค ว า ม ที่ ผ่ า น ค ว า ม เ ห็ น ช อ บ ล ง น า ม
การประมาณการรายรบั จากคณบดีเรียบร้อยแล้ว ออกเลขท่ีหนังสือท่ีงานสารบรรณของ
เพอ่ื ยืนยนั ขอ้ มูล คณะวิทยาศาสตร์ และเขียนเร่ืองจัดส่งเอกสารยืนยันข้อมูลการประมาณ
ไปยังมหาวทิ ยาลัย การรายรบั ของงบประมาณเงินรายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา
ไปยังมหาวทิ ยาลัย และต้องมีการเซน็ รบั เอกสารเปน็ ลายลักษณ์อักษร
กระบวนการท่ี 22 จัดเก็บข้อมูล
รายละเอียดงาน ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั งิ าน
ผปู้ ฏบิ ตั งิ านจัดเก็บข้อมูล ผู้ปฏิบัติงานจัดเก็บไฟล์ท้ังหมดอย่างเป็นระบบใน Google Drive
ทั้งหมดลงฐานข้อมลู เพือ่ ใช้ใน และสารองไฟล์ข้อมูลที่นาออกจากระบบ E-Budgeting ของมหาวิทยาลัย
เปน็ แนวทางในการประมาณ เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการดาเนินการจัดทาประมาณการรายรับจาก
การรายรบั ในปงี บประมาณ งบประมาณเงินรายได้คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยในปีต่อไป ให้เกิด
ตอ่ ไป ประสิทธภิ าพสงู สดุ
8. แนวทางในการปฏบิ ัตงิ านของบคุ ลากร
ผู้ปฏิบัติงาน นักวิเคราะห์นโยบายและแผน สังกัดสานักงานคณบดี คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยบูรพา มีแนวทางในการปฏิบตั ิงานทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับตาแหนง่ งาน ดังนี้
1) เวลาในการเข้าปฏิบัติหน้าที่คือ 08.30 น. และเลิกปฏิบัติงานเวลา 16.30 น. แต่หากมี
ภาระงานทตี่ ิดคา้ งและจาเปน็ ต้องดาเนินการใหเ้ รียบรอ้ ยสามารถปฏบิ ตั ิงานลว่ งเวลาได้
2) ศึกษาและติดตามกฎระเบียบ นโยบาย และข้อบังคับท่ีเก่ียวข้อง และเม่ือมีการ
เปล่ียนแปลงท่ีเกี่ยวข้องกับงานท่ีผู้ปฏิบัติงานรับผิดชอบ ต้องเร่งศึกษาและทาความเข้าใจต่อกฎระเบียบ
และถอื ปฏิบตั ทิ ันที
3) มีการพฒั นาระบบสารสนเทศในงานท่ีรับผิดชอบ เพ่อื ให้เกิดการพฒั นาระบบงาน สามารถ
ลดระยะเวลาในการปฏิบตั ลิ ง และได้งานท่ีมปี ระสทิ ธิภาพมากยง่ิ ขนึ้
4) มีการตรวจสอบและจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระเบียบ ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ
มกี ารสารองขอ้ มลู (back up) ในฐานขอ้ มูลหลายๆแหล่ง เพ่ือปอ้ งกนั ข้อมลู สาคัญสญู หาย
คู่มือการปฏบิ ตั ิงาน การจัดทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงินรายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา จัดทาโดย นายธีรยุทธ นพรตั นอ์ าภากลุ
P a g e | 51
นอกจากน้ี ผู้ปฏิบตั ิงาน นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผน จะตอ้ งยึดหลกั คุณธรรมและจรยิ ธรรม
เป็นแนวทางในการปฏิบตั ิงาน ตามประกาศคณะกรรมการบริหารงานบุคคลมหาวิทยาลยั บูรพาท่ี 0007/2556
เรื่องจรรยาบรรณและการดาเนินการทางจรรยาบรรณของพนักงาน และลูก จรรยาบรรณ ของพนั กงา น
และลูกจ้างของมหาวิทยาลัยบูรพา ท่ีมิใช่คณาจารย์ และมิใช่ผู้ทางานวิจัย พ.ศ. 2556 หมวดท่ี 1 ได้กาหนด
จรรยาบรรณตอ่ การปฏิบัตงิ าน ดังน้ี
1) ยึดม่ันและยืนหยัดในส่ิงที่ถูกต้อง เป็นธรรม และถูกกฎหมาย รวมทั้งปฏิบัติหน้าที่
ด้วยความโปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้
2) มจี ติ สานกึ ที่ดี ซื่อสัตย์ สจุ ริตและรับผิดชอบ
3) มที ศั นคติท่ดี ีตอ่ การปฏิบัตหิ น้าที่ และพฒั นาตนเองให้มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม รวมทัง้ เพม่ิ พูน
ความรู้ความสามารถและทักษะในการทางาน เพ่ือให้การปฏิบัติหน้าที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลย่ิงข้ึน
โดยคานึงถึงผลประโยชนโ์ ดยรวมของมหาวิทยาลยั เหนอื กว่าประโยชน์ส่วนตวั
4) อุทิศตนในการปฏิบัติงานตามหน้าท่ีอย่างเต็มหน้าท่ีและเต็มความสามารถ ตรงต่อเวลา
และใชเ้ วลาใหเ้ ป็นประโยชน์ตอ่ งานของมหาวิทยาลยั อย่างเตม็ ที่
5) ยึดม่ันต่อแนวทางการปฏิบัติงาน ท่ีมุ่งผลสัมฤทธ์ิของงาน ความเป็นธรรมในสังคม
ความสุจริต ความเสมอภาค ปราศจากอคติและการร่วมนาสงั คมไปในแนวทางท่ีถกู ต้อง ดงี าม
6) ปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความซ่ือสัตย์สุจริต ไม่มีประโยชน์เก่ียวข้อง หรือขัดแย้งต่อการปฏิบัติ
หน้าที่ตามตาแหน่งของตน และต้องยึดถือประโยชน์ส่วนรวมเหนือกว่าประโยชน์ส่วนตัว แยกเร่ืองส่วนตัว
ออกจากตาแหนง่ หน้าท่ี โดยไมใ่ ช้เวลา บุคลากร และทรพั ยส์ ินของมหาวิทยาลยั เพ่ือประโยชนส์ ่วนตัวหรอื ผ้อู ่ืน
7) ปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มกาลังความสามารถ ด้วยความรอบคอบ รวดเร็ว โปร่งใส สามารถ
ตรวจสอบได้ อกี ทงั้ มีความขยนั หมั่นเพียรโดยคานงึ ถงึ ประโยชน์ของมหาวทิ ยาลยั เปน็ สาคัญ
8) ให้เกียรติผู้บังคับบัญชา ผู้ใต้บังคับบัญชาและผู้ร่วมงาน รวมทั้งช่วยเหลือเก้ือกูลในทาง
ที่ถูกต้อง ส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการร่วมแรงร่วมใจระหว่างผู้ร่วมงานในการปฏิบัติหน้าท่ีเพื่อประโยชน์
ส่วนรวม ละเว้นการใช้กิริยาวาจาที่ไม่สภุ าพ สร้างความขัดแย้ง และไม่ก้าวก่ายหรือแทรกแซงการปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ี
ของผ้อู ื่นโดยมชิ อบ
9) ปฏิบัติงานตามคาส่ังของผู้บังคับบัญชาซ่ึงส่ังในหน้าท่ีโดยชอบด้วยกฎหมายและระเบียบ
ข้อบังคับ หรือประกาศของมหาวิทยาลัย กรณีเห็นว่าการปฏิบัติตามคาส่ังน้ันจะเป็นท่ีเสียหายแก่มหาวิทยาลยั
ค่มู อื การปฏิบัติงาน การจัดทาการประมาณการรายรับของงบประมาณเงินรายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา จดั ทาโดย นายธรี ยุทธ นพรตั นอ์ าภากลุ
P a g e | 52
หรือเป็นการไม่รักษาผลประโยชน์ของมหาวิทยาลัย จะเสนอความเห็นเป็นหนังสือทันที เพื่อให้ผู้บังคับบัญชา
ทบทวนคาส่ังนั้นก็ได้ และเมื่อได้เสนอความเห็นแล้ว ถ้าผู้บังคับบัญชายังยืนยันโดยให้เหตุผลเป็นหนังสือ
ใหป้ ฏบิ ัตติ ามคาส่งั เดมิ ผใู้ ต้บงั คับบญั ชาตอ้ งปฏิบัติตาม
10) มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน การให้ความช่วยเหลือในส่วนงานของตน ท้ังในด้าน
การให้ความคิดเห็น การช่วยทางาน และการแก้ปัญหาร่วมกัน รวมท้ังการเสนอแนะในสิ่งท่ีเห็นว่า
จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การพัฒนางานในความรบั ผิดชอบดว้ ย
9. มาตรฐานคณุ ภาพงาน
ก า ร ด า เ นิ น ง า น ด้ า น ก า ร จั ด ท า ก า ร ป ร ะ ม า ณ ก า ร ร า ย รั บ ข อ ง ง บ ป ร ะ ม า ณ เ งิ น ร า ย ไ ด้
คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา มีมาตรฐานคณุ ภาพงานจากการปฏบิ ัติของผู้ปฏิบตั งิ าน ดังนี้
1) การประมาณการรายรับงบประมาณเงินรายได้ของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ต้องมคี วามถูกตอ้ งและใกลเ้ คยี งกบั รายรับจริง ร้อยละ 90
2) การดาเนนิ การต้องทนั ตอ่ กรอบระยะเวลาทค่ี ณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละมหาวทิ ยาลัยกาหนด
3) มกี ารจดั การระบบการประมาณการรายรับท่ีมปี ระสิทธภิ าพ สามารถตรวจสอบได้
4) มีแบบฟอร์มการกรอกข้อมูลท่ีชัดเจน และมีประสิทธิภาพต่อกระบวนการประมาณการ
รายรบั
5) มีการจัดระบบข้อมูลภาพรวมของการจัดทางบประมาณได้อย่างเป็นระเบียบ
และมปี ระสิทธิภาพ
6) ข้อมูลการประมาณการรายรับจากระบบ Google Sheets มีความถูกต้องและเป็นไป
ตามขอ้ มูลทไี่ ดก้ รอกในระบบ E-Budgeting และเป็นไปตามนโยบายการจดั ทางบประมาณของมหาวทิ ยาลัย
คู่มือการปฏิบัติงาน การจัดทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงินรายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา จดั ทาโดย นายธีรยุทธ นพรัตนอ์ าภากุล
P a g e | 53
10. ระบบตดิ ตามประเมนิ ผล
การติดตามและประเมินผลสาหรับการจัดทาการประมาณการรายรับของงบประมาณ
เงินรายได้คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพานั้น คือ มีการวิเคราะห์ข้อมูลทุกกระบวนการต่อการจัดทา
ประมาณการรายรบั ต้องถกู ต้อง ทันตอ่ แผนการดาเนนิ การ ในทกุ ปตี อ่ คณบดี โดยจัดทาเปน็ ข้อมูลสรุป ดงั นี้
1) มีการบนั ทกึ ประเดน็ สาคญั ท่ีมีผลกระทบต่อการดาเนินการ
2) มีการรวมรวมประเด็นที่ส่งผลดี และผลกระทบตอ่ กระบวนการทางาน
3) มกี ารรายงานการพฒั นาระบบ และกระบวนการของการประมาณการรายรบั
4) มีการรายงานปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
กระบวนการในปตี ่อไป
ตามกระบวนการติดตามประเมินผลข้างต้น ผู้ปฏิบัติงานได้นาข้อมูลท่ีเกิดจากการประมาณ
การรายรับ มาจัดทาเป็นข้อมูลเปรียบเทียบข้อมูลรายรับจริง โดยใช้ข้อมูลจานวนนิสิตจริงในระบบ
https://reg.buu.ac.th/registrar/home.asp คานวณใหม่อีกคร้ังตามข้ันตอนการปฏิบัติงานในกระบวนการ
ท่ี 15 เป็นการนาข้อมูลและกระบวนการมาวเิ คราะห์และตรวจสอบเพื่อพัฒนาระบบงานของการประมาณการ
รายรับให้เกิดความถูกต้องและมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น เป็นฐานข้อมูลที่นาไปวิเคราะห์สถานะการเงิน
ของคณะวิทยาศาสตร์และเป็นประโยชน์ต่อการนาไปพัฒนากระบวนงานในการจัดทาการประมาณการรายรับ
ของคณะวทิ ยาศาสตร์ในปีถัดไป
11. แนวทางการพฒั นาระบบงาน
ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ใ น ก า ร จั ด ท า ก า ร ป ร ะ ม า ณ ก า ร ร า ย รั บ ข อ ง ง บ ป ร ะ ม า ณ เ งิ น ร า ย ไ ด้
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปัจจุบันยังพบปัญหาในเกือบทุกข้ันตอน เนื่องจากเป็นงานที่ต้องอาศัย
ความชานาญ ความเข้าใจในทุกกระบวนการ พร้อมท้ังความเข้าใจในกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และนโยบาย
เป็นอย่างดี และในบางคร้ังผู้ปฏิบัติงานจะอาศัยความเข้าใจของผู้ปฏิบัติงานต่อการแก้ปัญหา ซ่ึงบางคร้ัง
อาจส่งผลต่อการปฏิบัติงานที่ไม่ถูกต้องตามกฎ ระเบียบ และอาจทาให้ต้องมีการแก้ไขในภายหลัง ท้ังนี้
ผู้ปฏิบัติงานจึงได้มีการกาหนดแนวทางการพัฒนาระบบงานของการจัดทาการประมาณการรายรับ
ของงบประมาณเงนิ รายไดค้ ณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา ดงั นี้
คมู่ อื การปฏิบัตงิ าน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา จัดทาโดย นายธรี ยทุ ธ นพรัตนอ์ าภากุล
P a g e | 54
1) การจัดการข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดทาประมาณการรายรับเป็นกระบวนการ
ท่ีทุกส่วนงานในมหาวิทยาลัยบูรพาต้องมีการดาเนินการทุกปี และเป็นส่วนสาคัญอย่างยิ่งต่อการวางแผนการ
ดาเนินงานในการพัฒนานิสิต การพัฒนาบุคลากร ไปสู่การบรรลุตามเป้าหมายและวิสัยทัศน์
ของคณะวิทยาศาสตร์ โดยนากระบวนการในการพัฒนาระบบสารสนเทศมาช่วยให้การดาเนินงานสะดวก
รวดเร็ว และให้ได้ข้อมูลท่ีถูกต้องและมีประสิทธิภาพสูงสุด ซ่ึงทาให้คณะวิทยาศาสตร์มีฐานข้อมูล
ด้านงบประมาณท่ีชัดเจน นาไปใช้ในการตรวจสอบข้อมูลย้อนกลับได้ และยังสามารถปรับปรุงข้อมูลให้มี
ความสอดคล้องกับสถานการณ์ ทาให้ผู้บริหารของคณะวิทยาศาสตร์ สามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูล
ในการบริหารคณะวทิ ยาศาสตรไ์ ด้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ล
2) การวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ ผู้ปฏิบัติงานนาระบบสารสนเทศมาช่วยในการบริหาร
จัดการและการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งการท่ีมีการจัดการข้อมูลอย่างเป็นระบบ จะทาให้ได้ข้อมูลด้านงบประมาณ
ยอ้ นหลัง นาไปวิเคราะห์ขอ้ มลู การประมาณการงบประมาณไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ตง้ั แต่กระบวนการวางแผน
จัดเตรียมข้อมูล การจัดเก็บข้อมูล รวมท้ังการสรุปข้อมูล และการวิเคราะห์ถึงแนวทางแก้ไขและการพัฒนา
เพ่ือให้เกิดการพัฒนาขอ้ มูลไปสูก่ ารจดั ทางบประมาณทีเ่ หมาะสมและมีประสทิ ธภิ าพสูงสุดต่อคณะวทิ ยาศาสตร์
3) การสอบทานข้อมูลในระบบสารสนเทศ ผปู้ ฏบิ ตั ิงานตอ้ งเพ่มิ กระบวนการตรวจสอบข้อมูล
ย้อนกลับของการคานวณในระบบ Google Sheets ในแต่ละข้ันตอนตั้งแต่กระบวนการของแบบฟอร์มไปถึง
กระบวนการคานวณการประมาณการรายรับของคณะวิทยาศาสตร์ การสอบทานข้อมูลจะทาให้
เกิดความรวดเรว็ แม่นยา และได้ขอ้ มูลมีประสิทธิภาพสงู สุด
4) การเพิ่มกระบวนการประมาณการงบประมาณระยะยาว เป็นกระบวนการหนึ่งท่ีสาคัญ
ในการพัฒนาต่อยอด เพ่ือการวางแผนงานงบประมาณระยะยาวของคณะวิทยาศาสตร์ เนื่องจากปัจจุบัน
คณะวิทยาศาสตร์ประสบปัญหาการไม่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาล ทาให้คณะวิทยาศาสตร์
ต้องมีปรับแผนการใช้จ่ายงบประมาณให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน การได้ข้อมูลการประมาณการรายรับ
ในระยะยาว จะชว่ ยใหก้ ารวางแผนในการพัฒนาคณะวทิ ยาศาสตร์ใหม้ ปี ระสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน
คู่มือการปฏิบัติงาน การจัดทาการประมาณการรายรับของงบประมาณเงินรายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา จดั ทาโดย นายธรี ยุทธ นพรัตนอ์ าภากุล
P a g e | 55
12. เอกสารที่เกยี่ วขอ้ งในการปฏบิ ัติงาน
ก. กฎระเบยี บ
1) ข้อบังคับมหาวิทยาลัย ว่าด้วยการบริหารการเงินและทรัพย์สินของมหาวิทยาลัยบูรพา
พ.ศ. 2561
2) ระเบียบมหาวทิ ยาลยั บรู พา วา่ ดว้ ยการงบประมาณของมหาวทิ ยาลยั พ.ศ. 2561
3) นโยบายการจัดทางบประมาณรายจ่ายจากเงินรายได้มหาวิทยาลัย ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2562
4) มติคณะกรรมการสภาวิชาการมหาวิทยาลัยบูรพาครั้งที่ 4/2559 เม่ือวันท่ี 23 สิงหาคม
พ.ศ. 2559 เร่ือง การขอเปิดรับนิสิต คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ต้ังแต่ภาค
การศึกษาตน้ ปีการศกึ ษา 2560-2563
5) ระเบียบมหาวิทยาลยั บูรพาวา่ ด้วยการเกบ็ เงนิ คา่ บารุงและค่าธรรมเนียมการศึกษา สาหรับนสิ ิต
ภาคปกติ พ.ศ. 2552
6) ระเบียบมหาวทิ ยาลัยบูรพาวา่ ด้วยการเกบ็ เงนิ คา่ บารุงและค่าธรรมเนียมการศึกษา สาหรับนสิ ิต
ภาคพเิ ศษ พ.ศ. 2552
7) ระเบียบมหาวิทยาลัยบูรพา ว่าด้วยการเก็บเงินค่าบารุงและค่าธรรมเนียมการศึกษา
สาหรับนิสติ ภาคปกติ (ฉบับท่ี 16) พ.ศ. 2558
8) ระเบียบมหาวิทยาลัยบูรพา ว่าด้วยการเก็บเงินค่าบารุงและค่าธรรมเนียมการศึกษา
สาหรบั นิสิตภาคพิเศษ (ฉบับท่ี 13) พ.ศ. 2558
9) ระเบียบมหาวิทยาลัยบูรพาว่าด้วยการเก็บเงินค่าบารุงแ ละค่าธรรมเนียมการศึกษา
ระดบั บัณฑิตศกึ ษา พ.ศ. 2557
10) ระเบียบมหาวิทยาลัยบูรพาว่าด้วยการเก็บเงินค่าบารุงและค่าธรรมเนียมการศึกษา
ระดบั บัณฑิตศึกษา หลักสูตรเหมาจ่าย คณะวทิ ยาศาสตร์ พ.ศ. 2557
11) ประกาศมหาวิทยาลัยบูรพาท่ี 504/2557 เร่ือง การแบ่งงวดการเก็บเงินค่าบารุง
และค่าธรรมเนียมการศึกษาหลักสูตรเหมาจ่าย สาหรับนิสิตระดับบัณฑิ ตศึกษา คณะ
วิทยาศาสตร์ พ.ศ. 2557
12) ประกาศมหาวิทยาลัยบูรพาที่ 1871/2561 เร่ือง การแบ่งงวดการเก็บเงินค่าบารุงและ
ค่าธรรมเนียมการศึกษา แบบเหมาจ่าย สาหรับนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา คณะวิทยาศาสตร์
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561
คู่มอื การปฏิบตั งิ าน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา จดั ทาโดย นายธรี ยุทธ นพรัตนอ์ าภากุล
P a g e | 56
ข. ค่มู อื การใช้งานระบบ e-Budgeting (ประมาณการรายรับ) มหาวิทยาลัยบรู พา
สาหรบั เจา้ หน้าที่
ค. แบบฟอรม์ /เอกสารทใ่ี ชใ้ นการปฏบิ ัตงิ าน
1) บนั ทกึ ข้อความคณะวิทยาศาสตรแ์ จง้ ให้ภาควิชาดาเนินการกรอกข้อมูลประกอบการจดั ทา
การประมาณการรายรับ
2) บนั ทกึ ข้อความการนาส่งข้อมูลแผนการรบั นิสิต
3) บนั ทกึ ขอ้ ความการนาส่งสรปุ ขอ้ มลู การประมาณการรายรับ
13. ปญั หา/ ความเสี่ยงสาคญั ท่พี บในการปฏิบตั งิ านและแนวทางการแก้ไขปัญหา
การปฏิบัติงานด้านการจัดทาการประมาณการรายรับของงบประมาณเงินรายได้คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยบูรพาน้ัน เป็นการดาเนินการท่ีสาคัญและต้องให้เกิดความคลาดเคลอ่ื นของงบประมาณน้อยที่สดุ
เพื่อให้แผนการดาเนินงานของคณะวิทยาศาสตร์สามารถดาเนินการไปได้ในทุกโครงการ/กิจกรรม และนาไปสู่
การบรรลุตามวิสัยทัศน์ของคณะวิทยาศาสตร์ ซึ่งในบางครั้งเกิดความผิดพลาดในการดาเนินการ ส่งผลให้
เกดิ ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ในการปฏบิ ัติงาน ดงั นี้
ตารางท่ี 25 ปัญหา/ความเส่ียงสาคญั ที่พบในการปฏิบัตงิ านและแนวทางการแก้ไขปัญหา
ผังกระบวนการ ปัญหา/ความเส่ียงทพ่ี บในการปฏิบัตงิ าน แนวทางการแกไ้ ข/ลดความเส่ียง
รับหนังสอื แจง้ การจัดส่งหนังสือพร้อมทั้งการประกาศ จากการท่ีมหาวิทยาลัยมีการส่ง
การจัดทางบประมาณ
นโยบายในการจัดทางบประมาณของทาง เรอื่ งเพ่อื แจ้งให้ทุกส่วนงานดาเนิน
มหาวิทยาลัย เพ่ือแจ้งให้ทุกส่วนงาน การจัดทางบประมาณจากมหา
ดาเนินการจัดทางบประมาณมีความล่าช้า วิทยาลัยมีความล่าช้าและส่งผล
มีกรอบเวลาการดาเนินการท่ีไม่แน่นอน ต่อการวางแผนการดาเนินงาน
ส่งผลให้ผู้ปฏิบัติงานไม่สามารถวางแผน ของคณะวิทยาศาสตร์ผปู้ ฏิบัติงาน
การดาเนินงานไดอ้ ย่างชัดเจน จึงมีการปรับวิธีการดาเนินการ
โดยการกาหนดกรอบเวลาดาเนิน
การของคณะวิทยาศาสตร์และ
ด า เ นิ น ก า ร ต า ม แ ผ น ง า น ข อ ง
ค ณ ะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ โ ด ย ไ ม่ รอ
หนังสือจากมหาวทิ ยาลัย
คมู่ ือการปฏบิ ัตงิ าน การจดั ทาการประมาณการรายรับของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา จดั ทาโดย นายธรี ยุทธ นพรตั นอ์ าภากลุ
P a g e | 57
ตารางท่ี 25 (ต่อ) ปญั หา/ความเส่ียงทพ่ี บในการปฏิบตั ิงาน แนวทางการแก้ไข/ลดความเสีย่ ง
ผงั กระบวนการ
การเสนอเรื่องต่อรองคณบดีท่ีได้รับ ผู้ปฏิบัติงานได้ศึกษากระบวนการ
เสนอรองคณบดี ส่งั การ
มอบหมายเพ่ือส่ังการให้ดาเนินการ และดาเนินการเตรียมข้อมูล
จดั เตรยี มขอ้ มลู
- แผนดาเนินการ เน่ืองจากการจัดส่งหนังสือต้องเป็นไปตาม ประกอบแผนการดาเนินการไว้
- แบบฟอรม์ ทีเ่ ก่ยี วข้อง
- ระบบการคานวณ ระเบียบสารบรรณส่งผลให้บางครั้งไม่ได้ ล่วงหน้าเพ่ือให้กระบวนการ
ปฏิบัติการทางเอกสารให้ถูกต้องระเบียบ ท้งั หมดสามารถดาเนนิ การได้
สารบรรณ
การจัดเตรียมข้อมูลเพ่ือการดาเนินการ เน่ืองจากแผนงานในการจัดทา
จัดทาการประมาณการรายรับนั้นมีความ งบประมาณของมหาวิทยาลัย มี
ซับซ้อนและต้องการความถูกต้องและได้ ความเสี่ยงของระยะเวลาการ
ข้อมูลท่ีมีประสิทธิภาพสูงสุด จากการท่ี ดาเนินงานท่ีไม่แน่นอน และอาจ
นโยบายด้านการจัดทางบประมาณรวมท้ัง ส่งผลต่อการดาเนินการจัดเตรียม
แผนการดาเนินการของมหาวิทยาลัยยังไม่ ระบบข้อมูลประกอบการจัดทา
มีคว ามชัดเจน อาจส่งผลต่อข้อมูล การประมาณการรายรับของคณะ
ที่จัดเตรียมไว้และทาให้การจัดเตรียม วิทยาศาสตร์ และเพ่ือให้ทันต่อ
ข้อมูลเกดิ ความคลาดเคลือ่ นได้ กาหนดระยะเวลาท่ีมหาวิทยาลัย
กาหนด ดังนน้ั ผู้ปฏิบตั งิ านจึงต้อง
มีการวางกรอบการดาเนินงาน
ด้านการจัดทางบประมาณของ
คณะวิทยาศาสตร์ให้ชัดเจน มีการ
จัดเตรียมและทดสอบระบบให้มี
ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ ท า ใ ห้
กระบว นการท้ังหมดมีความ
ร ว ด เ ร็ ว ถู ก ต้ อ ง แ ล ะ มี
ประสิทธิภาพสูงสุด เนื่องจาก
ขอ้ มลู ทผ่ี ู้ปฏิบัตงิ านจัดเตรยี มไว้ใน
ระบบทุกระบวนการมีความสาคัญ
ต้องจัดเตรียมข้อมูลเพื่อรองรับ
ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ใ น ภ า ย ห ลั ง
เพื่อให้ได้ข้อมูลท่ีมีประสิทธิภาพ
สูงสดุ
คู่มอื การปฏบิ ตั งิ าน การจดั ทาการประมาณการรายรับของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา จดั ทาโดย นายธรี ยทุ ธ นพรตั นอ์ าภากลุ
P a g e | 58
ตารางท่ี 25 (ต่อ) ปัญหา/ความเส่ียงที่พบในการปฏบิ ัติงาน แนวทางการแกไ้ ข/ลดความเสีย่ ง
ผังกระบวนการ
การตรวจสอบข้อมูลเป็นกระบวนการ ผู้ปฏิบัติงานได้ตรวจสอบความ
ตรวจสอบ
ข้อมลู ที่ ส า คั ญ ต้ อ ง มี ก า ร ท ด ส อ บ ร ะ บ บ ถูกต้องในทุกกระบวนการ และมี
เสนอรองคณบดี แบบฟอร์ม ท่ี ใช้ และการค า น ว ณ ที่ การทดสอบระบบเม่ือพบปัญหา
พิจารณา
จัดเตรียมไว้ให้พร้อมต่อกระบวนการ ตอ้ งรีบดาเนนิ การแก้ไขในทนั ที
เสนอแผนการดาเนินงาน
ในคณะกรรมการบริหาร ประมาณการรายรับ ซ่ึงเป็นส่วนที่สาคัญ
คณะวทิ ยาศาสตร์ ที่สุดในการลดปัญหาและความเสี่ยงที่
จัดทาขอ้ มลู แผนการรับ อาจจะเกดิ ขึน้ ตอ่ กระบวนการ
นิสติ เพือ่ การประมาณ
การเสนอเรอ่ื งหรอื หารือกบั รองคณบดีเพ่ือ ผู้ปฏิบัติงานใช้ช่องทางอ่ืนในการ
การรายรับ
เตรียมการบางคร้ังไม่สามารถเสนอเพ่ือ ติดต่อเสนอรอง และการส่งต่อ
พิจารณาได้ทันที เนื่องจากรองคณบดีติด ไฟล์ผ่านระบบออนไลน์ เพ่ือให้
ภารกิจสาคัญในช่วงทด่ี าเนินการ รองคณบดีพจิ ารณาในเบือ้ งตน้
กระบวนการเสนอแผนการดาเนินการ การเสนอแผนการดาเนินงานผ่าน
เพื่อแจ้งในคณะกรรมการบริหารคณะ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร ค ณ ะ
วิทยาศาสตร์ เป็นการปรับประบวนการ วิทยาศาสตร์นั้นเป็นข้ันตอนที่
ในปีท่ีผ่านมาในการเพ่ิมช่องทางในการ เพิ่มเติมข้ึนมา โดยผู้ที่เกี่ยวข้อง
ส่ือสารไปยังภาควิชาและผู้ที่เก่ียวข้อง ไม่ได้เป็นผู้ท่ีเข้าร่วมประชุมทาให้
และยังพบปัญหาว่าผู้ที่เกี่ยวข้องไม่ทราบ ได้รับข้อมูลล่าช้า ผู้ปฏิบัติงานจึง
ข้อมลู และกระบวนการ ดาเนินการตดิ ต่อประสานงานและ
จั ด ท า เ ป็ น ห นั ง สื อ แ จ้ ง ไ ป ยั ง
ภาควิชาและผู้ที่เกยี่ วขอ้ งอกี คร้ัง
ข้อมูลแผนการรับนิสิตเพ่ือการประมาณ ผปู้ ฏิบตั งิ านประสานงานไปยงั ฝ่าย
การรายรับกับข้อมูลแผนการรับนิสิตท่ี วิชาการเพื่อนาข้อมูลมาเปรียบ
เสนอสภาวิชาการของคณะวิทยาศาสตร์ เทียบก่อนการจัดทาข้อมูลแผน
อาจไม่ใช่ข้อมูลเดียวกัน แต่ข้อมูลแผนการ การรับนิสิตเพ่ือการประมาณการ
รับนิสิตเพื่อการประมาณการรรายรับต้อง รายรับ เพื่อให้ได้ข้อมูลจานวน
ไม่เกินกว่าข้อมูลจานวนนิสิตที่สภา นิสติ ในกรอบท่ีสภาวชิ าการอนมุ ตั ิ
วชิ าการอนุมัติ
คู่มอื การปฏิบัติงาน การจดั ทาการประมาณการรายรับของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา จดั ทาโดย นายธรี ยุทธ นพรัตนอ์ าภากลุ
P a g e | 59
ตารางที่ 25 (ต่อ) ปัญหา/ความเส่ียงที่พบในการปฏบิ ตั งิ าน แนวทางการแก้ไข/ลดความเส่ยี ง
ผังกระบวนการ
การจัดทาแผนการรับนิสิตเพ่ือเสนอ ผู้ปฏิบัติงานควรมีการตรวจสอบ
เสนอรองคณบดี
พจิ ารณา รองคณบดีพิจารณาน้ันต้องแนบพร้อมกับ บนั ทึกขอ้ ความและข้อมูลแผนการ
เสนอคณบดี การจัดทาบันทึกข้อความเพ่ือนาส่ง รับนิสิตก่อนเสนอรองคณบดี
พจิ ารณา
มหาวิทยาลัย และอาจจะเกิดข้อผิดพลาด พิจารณาให้ละเอียด เพ่ือให้ข้อมูล
ส่งข้อมลู ยืนยันแผน
การรบั นสิ ติ ไปยงั ในส่วนของบันทกึ ขอ้ ความบอ่ ยครง้ั มคี วามถูกตอ้ ง
มหาวิทยาลยั
การเสนอคณบดีพิจารณาเร่ืองและลงนาม ผู้ปฏิบัติงานเสนอข้อมูลให้คณบดี
สง่ ออกแบบฟอรม์
แผนการเปดิ รายวิชา ในหนังสือบางครั้ง มีระยะเวลาการเสนอท่ี ตรวจสอบในระบบเพื่อพิจารณา
ไปยังภาควิชา นานเน่ืองจากคณบดีติดภารกิจที่ไม่ ข้อมูลแผนการรับนิสิตที่ใช้ในการ
สามารถพิจารณาได้ทนั ทีทาให้บางคร้ังเกิด จัดทาประมาณการรายรับ และให้
ความลา่ ชา้ ตอ่ การส่งขอ้ มลู คณบดีพิจารณามอบรองคณบดี
ลงนามปฏิบัติการแทน เพื่อให้
ข้ั น ต อ น ก า ร ส่ ง ข้ อ มู ล ส า ม า ร ถ
ดาเนนิ การไดท้ ันเวลา
การส่งข้อมูลยืนยันแผนการรับนิสิตที่เป็น มีการร่างบันทึกข้อความไว้เพื่อ
ลายลักษณ์อักษรยืนยันข้อมูลการกรอกใน เตรียมการจัดส่งข้อมูล เนื่องจาก
ระบบ Google Sheets ของมหาวิทยาลัย รายละเอียดในการจัดส่งข้อมูลใน
นั้นบางคร้ังมีความล่าช้า เกินกว่ากาหนด แต่ละปีไม่ค่อยมีการเปล่ียนแปลง
ของทางมหาวิทยาลยั การร่างบันทึกข้อความนาส่งไว้รอ
การจดั ส่งข้อมลู ทาให้ระยะเวลาใน
การดาเนินการนั้นส้ันลงและทัน
ตอ่ กรอบเวลาของมหาวิทยาลัย
การแชร์ข้อมูลไปยังภาควิชาผ่านระบบ ผู้ปฏิบัติงานควรมีการส่ือสารหรือ
Google Sheets บ า ง ค ร้ั ง เ กิ ด ปั ญ ห า ดาเนินการให้ภาควิชาตอบกลับ
ในการเข้าถึงข้อมูล โดยผู้ปฏิบัติงานต้อง เป็นลายลักษณ์อักษรว่าข้อมูล
ดาเนินการจากัดสิทธิเฉพาะผู้ท่ีได้รับ ที่ต้องดาเนินการมีการมอบหมาย
มอบหมายเท่านั้น เนื่องจากข้อมูลท่ีให้ หนา้ ท่ใี หใ้ ครเป็นผู้รับผิดชอบ และ
ภาควิชาดาเนินการกรอกจะเป็นส่วนหน่ึง เพ่ือให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องและได้รับ
ของการนาไปจัดทางบประมาณการ รายละเอียดข้อมูลที่ครบถ้วน
ประมาณการรายรับ ผู้ปฏิบัติงานต้องมี เพ่ือที่ผู้ปฏิบัติงานจะได้นาข้อมูล
ความระมัดระวังในการส่งออกไฟล์ข้อมูล ท่ีได้รับจากระบบไปประกอบการ
ไปยังผู้ท่ีเก่ียวข้องและได้รับมอบหมาย จัดทาการประมาณการรายรับได้
เทา่ นั้น อย่างถกู ตอ้ ง และมีประสิทธิภาพ
คู่มอื การปฏบิ ัติงาน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา จดั ทาโดย นายธีรยทุ ธ นพรตั นอ์ าภากลุ
P a g e | 60
ตารางที่ 25 (ต่อ) ปญั หา/ความเสี่ยงท่ีพบในการปฏบิ ัตงิ าน แนวทางการแกไ้ ข/ลดความเส่ียง
ผงั กระบวนการ
ข้อมูลการเปิดรายวิชาของภาควิชาที่จะ ผู้ปฏิบัติงานต้องมีการติดตาม
ภาควิชากรอกขอ้ มลู และ
จดั ส่งกลบั มายงั คณะ เป็นข้อมลู ในการคาดการณล์ ่วงหน้า ขอ้ มูล ข้อมูลแผนการเปิดรายวิชาของ
ตรวจสอบ ที่ได้รับมีโอกาสคลาดเคลื่อนค่อนข้างสูง ภาควิชาให้ได้ซ่ึงข้อมูลที่เป็น
ข้อมูล
เนื่องจากคณะวิทยาศาสตร์เป็นคณะท่ีมี ปัจจุบัน โดยต้องสื่อสารให้ภาค
จดั ทาและสรุปข้อมูล
แผนการเปดิ รายวชิ า การสอนบริการและมีสัดส่วนการสอน วิชามีการประสานงานไปยังคณะ
ภายในและภายนอกคณะใกล้เคียงกัน ซึ่ง ท่ีให้บริการสอนถึงแผนการรับ
ข้อมูลในส่วนของวิชาที่คาดว่าจะเปิดสอน นิสิตและจานวนนิสิตที่รับจริง
ภายนอกคณะวิทยาศาสตร์มีโอกาสท่ีจะ พร้อมกับความต้องการที่จะให้
ทาให้การประมาณการเปิดรายวิชามีความ ทางคณะวิทยาศาสตร์เปิดรายวิชา
คาดเคล่ือนโดยไม่สามารถควบคุมได้ และ ที่เป็นไปตามแผนการเรียนการ
ส่งผลต่อการประมาณการรายรับงบ สอนแก่นิสิตคณะน้ัน ๆ ให้มีความ
ประมาณเงินรายได้อย่างชัดเจน คลาดเคลือ่ นนอ้ ยท่ีสุด
ข้อมูลการเปิดรายวิชาท่ีได้รับจากภาควิชา ผู้ปฏิบัติงานดาเนินการประสาน
เป็นการคาดการณ์ จากแผนการรับนิสิต งานกับภาควิชาท่ีมีการเปิดสอน
จากนิสิตคณะวิทยาศาสตร์และนิสิตนอก รายวิชาต่าง ๆ และต้องมีการ
คณะวิทยาศาสตร์ ซ่ึงมีโอกาสของข้อมูลท่ี ยืนยันข้อมูลท่ีเป็นลายลักษณ์
จะเกิดการคลาดเคล่ือนจากข้อมูลจริงได้ อั ก ษ ร เ พ่ื อ ท่ี ภ า ค วิ ช า จ ะ ไ ด้
คอ่ นข้างสูง มีการตรวจสอบข้อมูลในระบบ
การกรอกแผนการรับนิสิตผ่าน
Google Sheets อีกครั้ง และจัด
พิมพ์เอกสารเพ่ือเป็นการยืนยัน
ข้อมูลเพ่ือให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง
มากที่สุด
แผนการเปิดรายวิชาและสาขาวิชาตาม ผู้ปฏิบัติงานควรมีการติดตาม
แผนงานท่ีได้รับจากภาควิชา ผู้ปฏิบัติงาน และตรวจสอบข้อมูลแผนการเปิด
ต้องนามาวิเคราะห์ข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับ รายวชิ าโดยใช้ข้อมูลอ้างองิ จานวน
การประมาณการรายรับเท่าน้ัน โดยไม่นา นิ สิ ต จ า ก แ ผ น ก า ร รั บ นิ สิ ต ท่ี
ข้อมูลแผนการเปิดรายวิชาท่ีเปิดให้กับ มหา วิทยาลัยได้สรุปข้อมูลไว้ใน
นิสิตคณะอื่น ๆ ทั้งภาคพิเศษและนิสิต ระบบ Google Sheets ซึ่งจะมี
ที่เปน็ ระบบเหมาจา่ ย การแบ่งรูปแบบของนิสิตแต่ละ
คณะไวอ้ ย่างชัดเจน
คู่มอื การปฏบิ ัตงิ าน การจดั ทาการประมาณการรายรับของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา จดั ทาโดย นายธรี ยุทธ นพรตั นอ์ าภากลุ
ตารางที่ 25 (ต่อ) P a g e | 61
ผังกระบวนการ
ปญั หา/ความเสี่ยงท่ีพบในการปฏบิ ัติงาน แนวทางการแกไ้ ข/ลดความเสี่ยง
จัดทาและสรุป การสรุปงบประมาณจากการประมาณการ ต้องมีการตรวจสอบกระบวนการ
การประมาณการรายรับ รายรับเป็นข้ันตอนท่ีสาคัญท่ีสุด เนื่องจาก และการคานวณในทุก ๆ ส่วนที่
มีรายละเอียดค่อนข้างมาก และสามารถ เกี่ยวข้องโดยละเอียดเพื่อไม่ให้
เสนอรองคณบดี เกิดข้อผิดพลาดได้ทุกส่วน ท้ังทางด้าน เกิดความผิดพลาดของข้อมูลและ
พจิ ารณา ข้อมูลท่ีนามาใช้ในการประมาณการ ให้ได้มาซึ่งข้อมูลท่ีมีการประมาณ
รายรับในทุก ๆ ส่วนท่ีเก่ียวข้องใน การรายรับที่ใกล้เคียงกับรายรับ
เสนอคณบดี กระบวนการ การประยุกต์ข้อมูลและ จรงิ ท่ีจะได้รบั มากที่สดุ
พจิ ารณา คานวณเป็นงบประมาณ พร้อมทั้งสูตร
การคานวณท่ไี ด้จัดทาไวใ้ นระบบ
ผู้ปฏิบัติงานต้องติดตามการเสนอรอง ผู้ปฏิบัติงานควรมีการหารือกับ
คณบดีพิจารณาข้อมูลการประมาณการ รองคณบดีเป็นระยะและมีการ
รายรับ เพ่ือให้สามารถทันต่อกรอบเวลา ตรวจสอบขอ้ มลู ในทุก ๆ กระบวน
ที่กาหนดในแผนการดาเนินงานและ การ เพื่อให้สามารถลดระยะเวลา
ให้สามารถส่งข้อมูลให้กับมหาวิทยาลัย ท่ีใช้ในการพิจารณา และสามารถ
ไดท้ นั ตามกรอบระยะเวลาท่ีกาหนด ด า เ นิ น ก า ร ไ ด้ ทั น ต า ม ก ร อ บ
ระยะเวลาที่กาหนด
ผู้ปฏิบัติงานต้องติดตามการเสนอคณบดี ผู้ปฏิบัติงานเสนอข้อมูลต่อรอง
พิจารณาข้อมูลการประมาณการรายรับ คณบดีพิจารณาข้อมูลประกอบ
เ พื่ อ ใ ห้ ส า ม า ร ถ ทั น ต่ อ ก ร อ บ เ ว ล า การจัดทาประมาณการแล้วเสร็จ
ที่กาหนดในแผนการดาเนินงานและ ต้องเร่งหารือกับคณบดีในทันที
ให้สามารถส่งข้อมูลให้กับมหาวิทยาลัย เพื่อสรุปข้อมูลและจะส่งผลให้ได้
ได้ทันตามกรอบระยะเวลาท่ีกาหนด ข้ อ มู ล ที่ มี ค ว า ม ชั ด เ จ น แ ล ะ
เ ป็ น ไ ป ต า ม น โ ย บ า ย ข อ ง ค ณ ะ
วทิ ยาศาสตร์
คู่มอื การปฏบิ ตั งิ าน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา จัดทาโดย นายธรี ยทุ ธ นพรัตนอ์ าภากลุ
P a g e | 62
ตารางท่ี 25 (ต่อ) ปญั หา/ความเส่ียงทพ่ี บในการปฏิบตั ิงาน แนวทางการแกไ้ ข/ลดความเส่ยี ง
ผงั กระบวนการ
กระบวนการจัดทางบประมาณตามกรอบ ห า รื อ กั บ ผู้ บ ริ ห า ร เ พ่ื อ แ ก้ ไ ข
เสนอ คกก.ประจา
คณะพิจารณา ระยะเวลาท่ีมหาวิทยาลัยกาหนดอาจ กระบวนการไว้เบื้องต้นตั้งแต่การ
สรปุ ข้อมลู และกรอก ไม่ตรงกับช่วงของการประชุ มค ณะ ร่างแผนการดาเนินการเพ่ือ
ข้อมลู ลงระบบ
E-Budgeting กรรมการประจาคณะวิทยาศาสตร์ และ วิเคราะห์กรอบของการดาเนินการ
ส่งผลให้ไม่สามารถนาเข้าเพื่อพิจารณา และแนวทางแก้ไข เช่น หากไม่
ความเห็นชอบในท่ีประชุมคณะกรรมการ สามารถนาเข้าพิจารณาความ
ประจาคณะวิทยาศาสตร์ได้ เห็นชอบในคณะกรรมการประจา
คณะวิทยาศาสตร์ตามกาหนดการ
ประชุมปกติ ให้กาหนดวาระการ
ประชุมพิเศษขึ้นหรือเสนอวาระ
เ วี ย น พิ จ า ร ณ า ค ว า ม เ ห็ น ช อ บ
แ ล้ ว แ ต่ ส ถ า น ะ ก า ร ณ์ แ ล ะ แ น ว
ทางการดาเนิ นงานที่คณบดี
ไดพ้ ิจารณาไว้
1. การสรุปมติที่ประชุมคณะกรรมการ 1. ผู้ปฏิบัติงานติดตามและเร่งรัด
ประจาคณะวิทยาศาสตร์นั้นมีขั้นตอนของ การออกมติที่ประชุมของฝ่าย
การเวียนมติที่ประชุมที่มีระยะเวลาในการ เลขาฯ ในเร่ืองของการจัดทางบ
ให้คณะกรรมการพิจารณา ทาให้ไม่ทันต่อ ประมาณ เพื่อให้ทันต่อแผนการ
แผนการดาเนนิ การ ดาเนินการทีก่ าหนด
2. ระบบ E-Budgeting ท่ีใช้สาหรับกรอก 2. ผู้ปฏิบัติงานควรตรวจสอบการ
ข้อมูลสรุปการประมาณการรายรับ จะมี กรอกข้อมูลในทุก ๆ ขั้นตอนและ
ข้อมูลท่ีมีรายละเอียดหลากหลายท่ีรองรับ ทุ ก ๆ ส่ ว น ที่ ก ร อ ก ล ง ร ะ บ บ
การจัดทางบประมาณของทุกส่วนงานใน E-Budgeting กับระบบ Google
มหาวิทยาลัยบูรพา ผู้ปฏิบัติงานต้องมี Sheets ท่ีผู้ปฏิบัติงานได้จัดทาข้ึน
ความรอบคอบในการกรอกข้อมูลให้ตรง ให้ได้ข้อมูลงบประมาณท่ีตรงกัน
กับข้อมูลที่ได้จัดเตรียมไว้ และต้องเป็น และจะได้ข้อมูลที่ไม่เกิดความ
ช่องสาหรับส่วนท่ีคณะวิทยาศาสตร์ ผดิ พลาดขน้ึ
ตอ้ งกรอกขอ้ มูลเทา่ น้ัน
คู่มอื การปฏบิ ัติงาน การจดั ทาการประมาณการรายรับของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา จดั ทาโดย นายธีรยุทธ นพรตั นอ์ าภากลุ
P a g e | 63
ตารางที่ 25 (ต่อ) ปญั หา/ความเสี่ยงทพี่ บในการปฏิบัติงาน แนวทางการแกไ้ ข/ลดความเสี่ยง
ผังกระบวนการ
การจัดทาบันทึกข้อความเพื่อเป็นการ ผู้ปฏิบัติงานต้องมีการตรวจสอบ
จดั ทาบันทึกข้อความ
แนบขอ้ มูลทก่ี รอก ยื น ยั น ก า ร ก ร อ ก ข้ อ มู ล ใ น ร ะ บ บ ความถูกต้องของบันทึกข้อความ
ในระบบ E-Budgeting
E-Budgeting ซ่ึงข้อมูลที่จัดพิมพ์ออกมา และเอกสารที่จัดพิมพ์ออกมา กับ
เสนอคณบดี
พิจารณาลงนาม นั้นอาจเกิดข้อผิดพลาดหรือจัดพิมพ์ ข้อมูลในระบบ E-Budgeting ที่
ส่งข้อมลู ยืนยันไปยัง เอกสารไมค่ รบตามท่ตี อ้ งจดั ส่งข้อมลู ให้กับ กรอกต้องมีข้อมูลที่ครบถ้วนและ
มหาวิทยาลยั
มหาวิทยาลยั ถูกต้อง โดยการนามาเทียบเคียง
จัดเกบ็ ข้อมลู
กันอีกครั้งก่อนการจัดพิมพ์เป็น
เอกสารแนบ ต้องมีการตรวจสอบ
ความถูกต้องของข้อมูลที่จัดพิมพ์
เ ป็ น เ อ ก ส า ร อี ก ค รั้ ง ว่ า มี ข้ อ มู ล
ครบถ้วนเป็นไปตามข้อมูลที่ได้
กรอกลงระบบ E-Budgeting
ผู้ปฏิบัติงานนาบันทึกข้อความและข้อมูล ผู้ปฏิบัติงานติดตามการเสนอแฟ้ม
ประกอบการประมาณการรายรับเสนอต่อ โ ด ย ใ ส่ ล ง ใ น แ ฟ้ ม เ ส น อ เ ซ็ น
คณบดผี ่านรองคณบดีเพื่อพจิ ารณาลงนาม (ด่วนท่ีสดุ ) เนอื่ งจากเปน็ เร่ืองด่วน
และต้องมีการติดตามการพิจารณาลงนาม และเป็นข้อมูลที่สาคัญต่อการ
เพือ่ ใหท้ ันตอ่ กรอบระยะเวลา ดาเนนิ การของคณะวทิ ยาศาสตร์
การส่งข้อมูลยืนยันการประมาณการ ผู้ปฏิบัติงานต้องวิเคราะห์จาก
รายรับต้องมีการเซ็นรับหนังสือเป็นลาย แผนการดาเนินงานว่าการจัดส่ง
ลักษณ์อักษร ซ่ึงเป็นกระบวนการท้ายสุด ข้ อ มู ล ป ก ติ ทั น ต่ อ ก ร อ บ ข อ ง
ของการจัดส่งข้อมูลให้กับมหาวิทยาลัย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ห รื อ ไ ม่ ห า ก
และอาจเกิดความเสี่ยงที่จะได้รับเอกสาร กระบวนการปกติไม่ทัน ผู้ปฏิบัติ
ไม่ครบถ้วนหรือการจัดส่งเอกสารไม่ทัน งานต้องประสานงานไปยังกอง
กาหนด แผนงานในการนาส่งเป็นเอกสาร
ล่าช้ากว่ากาหนด หรือดาเนินการ
เดินเอกสารดว้ ยตนเอง
การจดั การขอ้ มลู ในภาพรวมของการจัดทา ผู้ปฏิบตั ิงานควรดาเนนิ การจดั ฐาน
งบประมาณยังไม่เป็นระบบ ทาให้เกิด ข้อมูลและระบบแฟ้มเอกสารให้
ปญั หาต่อการค้นหาข้อมลู ย้อนหลงั เป็นระบบมากข้ึนเพ่ือให้สะดวก
ต่อการค้นหาและตรวจสอบข้อมูล
ในอนาคต
คมู่ อื การปฏิบตั งิ าน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงินรายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา จดั ทาโดย นายธรี ยุทธ นพรตั นอ์ าภากุล
P a g e | 64
14. บรรณานุกรม
เสถียร คามีศักดิ์. (2559). การเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน. เอกสารประกอบการอบรมโครงการอบรมเชิง
ปฏิบัติการ “การเขียนคู่มือการปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทางาน”, ชลบุรี: มหาวิทยาลัย
บูรพา.
พรภัทร อินทรวรพัฒน์. (2560). ร่าง Work Manual และเทคนิคการจัดทา เอกสารประกอบประกอบ
การโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ หลักสตู ร “เทคนิคการเขียนคู่มือปฏิบัติงานเพื่อขอกาหนดตาแหน่ง
ทางวชิ าชพี ระดับชานาญการ” (คร้งั ท่ี 4), ชลบุรี : มหาวทิ ยาลยั บรู พา
มหาวทิ ยาลัยบูรพา. (2561), E-Budgeting Burapha University สืบค้นไดจ้ าก
https://e-budgeting.buu.ac.th/login/backend/ เขา้ ถงึ ข้อมลู เมื่อวันท่ี 2 สิงหาคม 2561
คมู่ ือการปฏิบตั งิ าน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา จัดทาโดย นายธรี ยุทธ นพรัตนอ์ าภากุล
P a g e | 65
ภาคผนวก
คูม่ อื การปฏบิ ตั ิงาน การจัดทาการประมาณการรายรับของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา จดั ทาโดย นายธีรยทุ ธ นพรตั นอ์ าภากุล
P a g e | 66
ภาคผนวก ก.
ประกาศฯ ระเบียบ และข้อบังคบั ฯ
คมู่ อื การปฏิบัตงิ าน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา จดั ทาโดย นายธีรยทุ ธ นพรตั นอ์ าภากลุ
P a g e | 67
ข้อบังคับมหาวทิ ยาลยั บูรพา ว่าด้วยการบรหิ ารการเงนิ และทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2561
คู่มือการปฏิบตั งิ าน การจัดทาการประมาณการรายรับของงบประมาณเงินรายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา จดั ทาโดย นายธรี ยุทธ นพรตั นอ์ าภากลุ
P a g e | 68
คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา จัดทาโดย นายธรี ยุทธ นพรัตนอ์ าภากลุ
P a g e | 69
คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา จัดทาโดย นายธรี ยุทธ นพรัตนอ์ าภากลุ
P a g e | 70
คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา จัดทาโดย นายธรี ยุทธ นพรัตนอ์ าภากลุ
P a g e | 71
คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา จัดทาโดย นายธรี ยุทธ นพรัตนอ์ าภากลุ
P a g e | 72
คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา จัดทาโดย นายธรี ยุทธ นพรัตนอ์ าภากลุ
P a g e | 73
คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา จัดทาโดย นายธรี ยุทธ นพรัตนอ์ าภากลุ
P a g e | 74
คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา จัดทาโดย นายธรี ยุทธ นพรัตนอ์ าภากลุ
P a g e | 75
คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา จัดทาโดย นายธรี ยุทธ นพรัตนอ์ าภากลุ
P a g e | 76
คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา จัดทาโดย นายธรี ยุทธ นพรัตนอ์ าภากลุ
P a g e | 77
คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา จัดทาโดย นายธรี ยุทธ นพรัตนอ์ าภากลุ
P a g e | 78
คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา จัดทาโดย นายธรี ยุทธ นพรัตนอ์ าภากลุ
P a g e | 79
คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา จัดทาโดย นายธรี ยุทธ นพรัตนอ์ าภากลุ
P a g e | 80
คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา จัดทาโดย นายธรี ยุทธ นพรัตนอ์ าภากลุ
P a g e | 81
ระเบยี บมหาวิทยาลัยบรู พา ว่าด้วยการงบประมาณของมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2561
คู่มือการปฏบิ ตั งิ าน การจัดทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงินรายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จัดทาโดย นายธีรยุทธ นพรตั นอ์ าภากลุ
P a g e | 82
คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา จัดทาโดย นายธรี ยุทธ นพรัตนอ์ าภากลุ
P a g e | 83
คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา จัดทาโดย นายธรี ยุทธ นพรัตนอ์ าภากลุ
P a g e | 84
คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา จัดทาโดย นายธรี ยุทธ นพรัตนอ์ าภากลุ
P a g e | 85
คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา จัดทาโดย นายธรี ยุทธ นพรัตนอ์ าภากลุ
P a g e | 86
คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา จัดทาโดย นายธรี ยุทธ นพรัตนอ์ าภากลุ
P a g e | 87
คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา จัดทาโดย นายธรี ยุทธ นพรัตนอ์ าภากลุ
P a g e | 88
นโยบายการจัดทางบประมาณรายจา่ ยจากเงนิ รายได้มหาวิทยาลัยบรู พา
คู่มือการปฏิบตั ิงาน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา จัดทาโดย นายธีรยทุ ธ นพรตั นอ์ าภากลุ
P a g e | 89
คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา จัดทาโดย นายธรี ยุทธ นพรัตนอ์ าภากลุ
P a g e | 90
คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา จัดทาโดย นายธรี ยุทธ นพรัตนอ์ าภากลุ
P a g e | 91
คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา จัดทาโดย นายธรี ยุทธ นพรัตนอ์ าภากลุ
P a g e | 92
มติคณะกรรมการสภาวิชาการมหาวิทยาลัยบูรพาครั้งที่ 4/2559 เมื่อวันท่ี 23 สิงหาคม พ.ศ. 2559
เรือ่ ง การขอเปิดรับนสิ ติ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา ตัง้ แต่ภาคการศึกษาตน้ ปีการศกึ ษา 2560-
2563
คู่มือการปฏบิ ตั ิงาน การจัดทาการประมาณการรายรับของงบประมาณเงินรายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา จัดทาโดย นายธีรยทุ ธ นพรัตนอ์ าภากลุ
P a g e | 93
คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา จัดทาโดย นายธรี ยุทธ นพรัตนอ์ าภากลุ
P a g e | 94
คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน การจดั ทาการประมาณการรายรบั ของงบประมาณเงนิ รายได้คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา จัดทาโดย นายธรี ยุทธ นพรัตนอ์ าภากลุ