The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by saiyom, 2021-03-22 13:55:34

ART Power Model

ART Power Model

การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ดา้ นศลิ ปะสำหรบั นกั เรียน ทม่ี ีความต้องการพิเศษ
โดยใชร้ ปู แบบนวตั กรรม ART POWER MODEL เปน็ การจดั การเรียนการสอน ท่ีมุ่งเน้น
ใหน้ ักเรยี นท่มี คี วามชอบในดา้ นศลิ ปะ มาเรยี นรู้ตามรปู แบบของนวตั กรรม ART POWER
Model ที่ไดน้ ำได้นำทฤษฎีโครงสรา้ งสมองของ Guilford เพอ่ื พัฒนาความคิดสรา้ งสรรค์
ของนักเรียน โดยผนู้ ำเสนอมองว่าความคิดสรา้ งสรรค์ เปน็ ความสามารถทางสมอง
ทจ่ี ะคิดได้หลายทศิ ทางหรอื แบบอเนกนยั เพราะความคิดสรา้ งสรรค์ ถอื เป็นกระบวนการ
ทางความคดิ ทมี่ คี วามสำคัญตอ่ นักเรียน และผลของความสำเรจ็ ของรูปแบบงาน ก็จะ
แตกตา่ งจากเดมิ

ผู้นำเสนอไดจ้ ดั ทำรปู แบบนวตั กรรม ART POWER MODEL ขึ้น เพื่อเป็นแนวทาง
สำหรับครู ผู้ปกครอง ในการใช้ เป็นแนวทางการจดั การเรยี นรกู้ ารสอนศลิ ปะทีเ่ น้น
ความคดิ สร้างสรรคเ์ ป็นฐาน ประกอบการพฒั นาศกั ยภาพนักเรยี นทม่ี ีความต้องการจำเป็น
พิเศษในด้านศลิ ปะ หวังเปน็ อยา่ งย่งิ วา่ นวัตกรรมนจี้ ะช่วยใหค้ รู ผูป้ กครอง สามารถ
นำรูปแบบการจัดการเรยี นรูส้ ำหรบั นักเรียน ที่จะสามารถทำกิจกรรมไดอ้ ยา่ งเต็ม
ศักยภาพ

สายยม สวนเขอ่ื น

ผู้จัดทำ

จากประสบการณ์การจดั การเรยี นการสอนแบบเดิม ๆ
ทน่ี กั เรียนได้เรียนทำใหน้ ักเรียนเกิดความเบ่อื หนา่ ย ผู้นำเสนอผลงานจึงได้ดำเนินการ
จัดรูปแบบการจัดการเรียนการสอนวิชาศิลปะแบบใหม่โดยใช้นวัตกรรม “ART
POWER MODEL”มาเป็นแรงกระตนุ้ ความคดิ สร้างสรรค์ทางด้านศลิ ปะของนักเรยี น
โดยจุดเริ่มต้นของการคิดสร้างนวัตกรรม เริ่มจากตัวของผู้นำเสนอเองที่มีความชอบ
ทางด้านศิลปะเป็นพื้นฐานตั้งแต่เด็ก ๆ และมีความชอบในด้านจิตวิทยาควบคู่กันไป
ทำให้มองว่าถ้าลองนำพื้นฐานชีวิตของตัวเรามาจัดรูปแบบการจัดกิจกรรมทางด้าน
ศิลปะ เพื่อที่จะนำมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนศิลปะ โดยมองว่านักเรียนที่
เริ่มต้นจากความชอบทางด้านศิลปะ จะสามารถสร้างงานให้เกิดขึ้นได้ง่ายและมีการ
สรา้ งสรรคง์ านไดม้ ากกว่า นกั เรียนที่ไม่ชอบศลิ ปะ

ผูน้ ำเสนอจึงไดด้ ำเนินการคดิ รูปแบบจดั รูปแบบการเรียนการสอน
โดยใช้รูปแบบนวัตกรรม ART POWER Model ที่ได้นำทฤษฎีโครงสร้างสมอง
ของ Guilford เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน โดยผู้นำเสนอมองว่า
ความคิดสร้างสรรค์เป็นความสามารถทางสมองเป็นความสามารถที่จะคิดได้หลาย
ทิศทางหรือแบบอเนกนัย เพราะความคิดสรา้ งสรรค์ถือเป็นกระบวนการทางความคิด
ที่มีความสำคัญต่อนักเรียน และผลของความสำเร็จของรูปแบบงานก็จะแตกต่าง
จากเดิม ซึ่งจากการที่ผู้นำเสนอได้คิดนวัตกรรม ART POWER Model ขึ้นมาได้
ลองนำไปใช้กับนักเรียนปกติได้ประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ แต่ในการ
จัดการเรียนการสอนเจอปัญหาที่ในบางชั้นเรียนจะมีนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
ซึ่งเด็กเหล่านี้จะมีความคิดว่าตนเองเรียนไม่เก่ง หรือไม่สามารถเรียนตามเพื่อนในชัน้
เรียนและมองว่าตนเองด้อยศักยภาพในการเรยี น ผู้นำเสนอจึงมองเห็นปัญหาตรงจุด
นจ้ี ึงได้นำนวัตกรรมART POWER Model มาใชก้ ับนกั เรยี นที่มคี วามต้องการพิเศษ
เพื่อมุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนา สร้างการเรียนรู้ การสังเกตและวิเคราะห์ความบกพร่อง
ของนักเรียนใน 5 ด้าน 1) ด้านความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ 2) ด้าน
สตปิ ญั ญา 3) ด้านพฤตกิ รรม 4) ด้านร่างกาย และ5) ด้านสงั คมข้ึนมา

ซ่ึงนวตั กรรม ART POWER Model นี้ไดผ้ ่านวิธรี ะบบวิเคราะห์

ออกมาแลว้ ทดลองและพฒั นาแล้วนำมาใช้จริงและมผี ลยนื ยนั ว่าใชไ้ ด้จรงิ
แกป้ ญั หาได้จริงสามารถยนื ยันได้

1.นกั เรียนท่มี คี วามตอ้ งการพเิ ศษสามารถสร้างสรรค์

ผลงานศลิ ปะตามจนิ ตนาการแบบสร้างสรรคไ์ ด้มากข้นึ

2.นักเรยี นมที กั ษะในการคิดสรา้ งสรรคม์ ากข้ึน

และสามารถการตอบสนองใน 5 ดา้ นได้

3.นกั เรยี นมีความเช่อื มัน่ ในศักยภาพของตวั เองดา้ นศิลปะ

ท่เี ป็นการลบจุดด้อยด้านอ่ืนของตัวเอง



กลิ ฟอรด์ (Guilford)

นกั จติ วทิ ยาชาวอเมรกิ นั อธบิ ายวา่ ความคดิ สร้างสรรค์
เป็นความสามารถด้านสมองทจ่ี ะคดิ ได้อย่างซบั ซอ้ นหลายแนวทาง
หรือคิดไดห้ ลายคำตอบเรียกว่า การคิดแบบอเนกนัย(Divergent Thinking)



นักเรียนทไ่ี ม่อาจ พฒั นาความสามารถได้เทา่ ทคี่ วร
จากการเรยี นการสอนตามปกติ ท้ังน้ีเนื่องจากสภาพความบกพร่อง
หรือความแตกต่างทางร่างกาย สตปิ ญั ญาและอารมณ์ รวมถึงนักเรยี น
ทม่ี คี วามสามารถพิเศษด้วย แบง่ เป็น ๙ ประเภท ตามประกาศ
กระทรวงศึกษาธกิ ารไดแ้ ก่

(๑) บคุ คลที่มีความบกพร่องทางการเห็น
(๒) บุคคลที่มีความบกพร่องทางการไดย้ นิ
(๓) บุคคลทมี่ คี วามบกพร่องทางสตปิ ญั ญา
(๔) บคุ คลทม่ี ีความบกพรอ่ งทางรา่ งกาย หรอื การเคลอ่ื นไหว

หรอื สุขภาพ
(๕) บคุ คลทม่ี ีปัญหาทางการเรียนรู้
(๖) บุคคลที่มคี วามบกพร่องทางการพดู และภาษา
(๗) บุคคลท่ีมีปัญหาทางพฤตกิ รรม หรอื อารมณ์
(๘) บุคคลออทสิ ตกิ
(๙) บุคคลพกิ ารซอ้ น





(ศลิ ปะ)

การกระทำหรอื ข้นั ตอนของการสรา้ งชิ้นงานศลิ ปะ
ที่มกี ารสรา้ งสรรค์, สุนทรียภาพ, หรือการสร้าง
อารมณต์ า่ ง ๆ ซงึ่ ในนวตั กรรมน้ีเน้นงานทางทัศนศลิ ป์
ด้านภาพวาด-ภาพเขยี น



(การมสี ่วนรว่ ม/การเข้ารว่ ม)

นกั เรยี นที่มคี วามสนใจทางดา้ นศลิ ปะมสี ว่ นร่วม
ในการสรา้ งสรรคง์ านศิลปะ



(สงั เกต)

การสังเกตและวเิ คราะห์ความบกพร่องของเด็กใน 5 ด้าน

การสงั เกตและวิเคราะห์ความบกพรอ่ งของเดก็ ใน 5 ดา้ น
1. ด้านความรู้ ความสามารถและประสบการณ์
2. ด้านสติปญั ญา เปน็ ความสามารถในการเรยี นรู้
ความสัมพันธ์ระหวา่ งสง่ิ ตา่ งๆกับตนเองการร้คู ิด รเู้ หตผุ ล
และความสามารถ ในการแก้ปญั หา พฒั นาการดา้ นภาษา
และการใช้มือกบั ตาเกยี่ วข้องกับพัฒนาการดา้ นสติปัญญา
3. ด้านพฤติกรรม การกระทำ
4. ด้านรา่ งกาย เปน็ ความสามารถของร่างกายในการทรง
ตวั และการเคลื่อนไหว โดยการใชก้ ล้ามเนอื้ มัดใหญ่การใช้
มือและตาประสานกนั ในการทำกิจกรรมตา่ งๆ
5. ดา้ นสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดลอ้ มของสงั คม



(ความต้งั ใจ)

การใหค้ วามรแู้ ละสร้างแรงบนั ดาลใจใหน้ ักเรียนด้วยความเต็มใจ
จากโครงสรา้ งของสมรรถภาพสมองหรือทฤษฎีโครงสร้างทางสติปัญญา
ของ Guilford โดยแบง่ เปน็ 3 มติ ิ จะเหน็ ว่าองคป์ ระกอบสว่ นหนึ่ง
ในมติ ทิ ี่ว่าดว้ ยการคดิ แบบอเนกนัยมคี วามสัมพนั ธ์โดยตรงกบั ความคิด
สร้างสรรค์ และองค์ประกอบส่วนหน่ึงในมิตทิ วี่ า่ ดว้ ยผลของคดิ
ทเี่ รยี กว่า การแปลงรูปเปน็ สว่ นทแี่ สดงถึงความคิด

มติ ิแรก- ดา้ นเน้ือหา (Content)
ส่ิงเร้าหรอื ข้อมลู ต่างๆ ทสี่ มองรับเขา้ ไปคิดมี 4 ประเภท
ได้แก่ ภาพ สญั ลักษณ์ ภาษา และพฤติกรรม

มติ ทิ ี่ 2 วิธีการคิด (Operation)
ลกั ษณะกระบวนการทำงานของสมองแบบตา่ งๆมี 5 แบบ ได้แก่
ความร้คู วามเขา้ ใจ ความจำ การคดิ แบบเอกนยั การคดิ แบบอเนกนัย
และการประเมินผล

มิตทิ ี่ 3 - ผลการคดิ (Product)
เปน็ ผลของกระบวนการจัดกระทำของความคดิ กับข้อมลู เนือ้ หา ผลิตผล
ของความคดิ ออกมาเปน็ รูปแบบต่างๆ การแปลงรปู และการประยกุ ต์
จากแบบทฤษฎโี ครงสรา้ งทางสตปิ ัญญาของกิลฟอร์ดนี้



(ให้กำลงั ใจ/การเสรมิ แรง)

การให้กำลงั ใจและการเสริมแรงด้วยส่ิงเรา้
ความสนใจและกลอ่ มเกลาอารมณ์ การตอบสนอง
ทสี่ ัมพนั ธ์กับสมองสว่ นตา่ งๆ



(การตอบสนอง)

การใชง้ านศิลปะพัฒนานกั เรียน
ให้มีการตอบสนองใน 5 ด้านดขี ึ้น





เด็กชายวชั รชัย ชายสีออ่ น นักเรียนชัน้ ประถมศึกษา
ปีที่ 6 โรงเรยี นอนุบาลหนองใหญ่เปน็ เดก็ ที่มคี วามบกพร่องสติปัญญา
เม่อื ได้รับการพัฒนาโดยการนำนวัตกรรม ART POWER MODER มาใช้
ผลปรากฏวา่ นกั เรยี นมสี มาธิมากขน้ึ และไดร้ ับการพัฒนาการทำให้
มีพัฒนาการตอบสนองใน 5 ด้านดีขึ้น และได้เปน็ ตวั แทนการแข่งขนั
ประกวดวาดภาพระบายสีเดก็ ที่มีความบกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญาระดับ ชาติ
ปกี ารศึกษา 2562 – 2561 ส่วนปีการศึกษา 2560 ไดเ้ ป็นตัวแทน
ระดบั ภาค

เดก็ ชายณัฐพงศ์ ปัญญา นกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษา
ปที ่ี 6 โรงเรียนบ้านหนองเสือชา้ ง(จรงุ ราษฎรพ์ ฒั นา)
เป็นเด็กทม่ี ีความบกพร่องทางการเรียนรู้ช้ันประถมศึกษา
ปที ี่ 4 และ 5 ไดร้ บั การพฒั นาตามขั้นตอนการจัดรูปแบบ
นวัตกรรม ART POWER Model อยา่ งตอ่ เน่อื ง ส่งผลให้
นักเรียนมพี ัฒนาการตอบสนองใน 5 ด้านดีขน้ึ
และในชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6 ได้กลับเปน็ เด็กปกติ

ช่อื นางสาวสายยม สวนเข่อื น
ตำแหน่ง ครู โรงเรยี นบ้านหนองซ้ำซาก

อำเภอบ้านบงึ จังหวดั ชลบรุ ี
สงั กดั สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา

ชลบรุ ี เขต 1
เกดิ เม่ือวนั ที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2525
อายุ 38 ปี
ท่ีอยู่ปจั จุบนั เลขท่ี 36/95 หมู่ 2 ตำบลบา้ นสวน

อำเภอเมืองชลบุรี จังหวดั ชลบุรี ๒๐๐๐๐
ติดตอ่ โทร ๐๙๕-๓๖๒-๔๔๕๔
e-mail [email protected]

1.นางวไิ ลวรรณ สงพอ ผู้อำนวยการโรงเรียนบา้ นหนองซำ้ ซากประธานทปี่ รกึ ษา
2. นางสาวเนตรทราย กังวานพณิชย์ ศกึ ษานิเทศก์ชำนาญการทีป่ รกึ ษาดา้ นศลิ ปะ
3.นางศุภวรรณ จันทราเขต ศกึ ษานเิ ทศก์ชำนาญการท่ีปรึกษาดา้ นการศกึ ษาพเิ ศษ
4. นางสาวมนญั ญา งามวงศ์วาน ศึกษานเิ ทศชำนาญการที่ปรกึ ษาด้านเทคโนโลยี

ทางการศกึ ษา
5. นางณัฐทราวดี คณุ ย่ิงใหญ่ วทิ ยฐานะชำนาญการพเิ ศษโรงเรยี นอนุบาลหนองใหญ่

ที่ปรกึ ษาดา้ นเดก็ พิเศษ
6. นางสาวออ้ มใจ สุทธวิ ารี วิทยฐานะชำนาญการ กศม. วิจยั และวดั ผลทางการศกึ ษา

ผเู้ ชี่ยวชาญดา้ นการวิจยั วดั ผล


Click to View FlipBook Version