The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดกิจกรรมที่-5

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ชนิดา แก่นท้าว, 2021-02-17 11:01:23

ชุดกิจกรรมที่-5

ชุดกิจกรรมที่-5

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ รายวชิ า เคมี

ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 5
เลม่ ท่ี
เร่ือง การไทเทรตกรด-เบส

นางสาวมาริสา แอ่งสธุ า
นางสาวกมลทิพย์ แสนอภยั



คำนำ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 10เร่ือง กรด-เบส ช้ัน
มัธยมศึกษาปีท่ี 5 ชุดกิจกรรมนี้ จัดทาข้ึนเพ่ือเป็นส่ือประกอบการจัดการเรียนรู้
วชิ าเคมี โดยเนื้อหาและวัตถุประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย โดยนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือให้นักเรียนฝึกปฏิบัติ
การทางวิทยาศาสตร์ ทาแบบฝึกหัด นักเรียนได้ศึกษาด้วยตนเองแก้ไขปัญหา
ระหว่างเรียนเพื่อสร้างให้นักเรียนมีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์มีความสามารถในการอ่าน
คิด วิเคราะห์ เขียนสื่อความหมายและมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการจัดทาชุด
กิจกรรมการเรียนรู้ วิชาเคมี หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 เร่ือง กรด-เบส
ประกอบดว้ ยชุดกจิ กรรมดงั นี้

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ชุดท่ี 1 ทฤษฎกี รด-เบสและคู่กรด-เบส
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชดุ ท่ี 2 การแตกตัวของกรด-เบสและนา้
ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 3 สมบตั กิ รด-เบสของเกลือ
ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ชดุ ที่ 4 pH ของสารละลายกรดและเบส
ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ ชุดท่ี 5 การไทเทรตกรด-เบส
ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ชดุ ท่ี 6 สารละลายบฟั เฟอร์
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 7 การประยุกต์ใช้ความรู้เก่ียวกับกรด-
เบส
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชา เคมี ชุดนี้จะช่วย
สร้างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ให้แก่นักเรียนได้เรียน เรื่อง กรด-เบส อย่างเข้าใจเป็น
ส่อื การเรียนการสอนที่ครูผู้สอนสามารถใช้เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรู้ต่าง
ๆทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนให้มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้นักเรียนมีเจตคติท่ีดีต่อ
วิชา มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนที่สูงขึ้นและส่งผลให้นักเรียนนาไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวติ ประจาวันไดเ้ ปน็ อยา่ งดี



สำรบญั

หนา้

คานา......................................................................................................... ก

สารบัญ.................................................................................................... ข

คาช้แี จง.................................................................................................. 1

ข้ันตอนการใชช้ ดุ กิจกรรม............................................................ 3

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น.................................................................... 4

มาตรฐานการเรียนร.ู้ ..................................................................... 6

ชดุ กิจกรรมการเรียนร.ู้ ................................................................. 7

แบบทดสอบหลังเรียน................................................................... 15

ประวตั ิผูจ้ ัดทา................................................................................... 17

อา้ งองิ ................................................................................................... 19

ภาคผนวก............................................................................................ 20
• ใบความรู้..................................................................................... 21
• แบบฝึกทักษะ............................................................................. 26
• เฉลยชุดกิจกรรมการเรียนรู้.............................................. 30
• เฉลยแบบฝึกทกั ษะ.................................................................. 38
• เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียนหลงั เรยี น.......................... 41

1

คำช้ีแจงสำหรับครู

การใช้ชดุ แบบฝึกทักษะ ครผู สู้ อนเปน็ ผ้มู ีบทบาทสาคญั ส่วนหนึ่งใน
การทจ่ี ะชว่ ยใหก้ ารดาเนิน การเรยี นรู้ของนกั เรยี นให้บรรลุวตั ถุประสงค์
ครูผู้สอนควรตอ้ งศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับการปฏิบัตติ น กอ่ นท่ีจะใช้
แบบฝกึ ทักษะ ดงั น้ี
ขน้ั เตรียมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

1. ครผู สู้ อนต้องศึกษาชุดแบบฝกึ ทกั ษะและอ่านเนอื้ หาอย่าง
ละเอยี ดรอบครอบ พรอ้ มทัง้ ทา ความเขา้ ใจกับเนอื้ หาทุกชุดก่อนการใช้
งาน

2. ครูผู้สอนตอ้ งเตรยี มวสั ดอุ ุปกรณ์สื่อการเรียนการสอนตา่ ง ๆ
สาหรับให้นักเรยี นปฏิบตั ิ กจิ กรรมให้ครบถ้วนและเพยี งพอกบั จานวน
นกั เรียน
ขน้ั ตอนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

1. ครผู ้สู อนชี้แจงใหน้ ักเรียนทราบถึงลาดับข้นั ตอนและวธิ กี าร
สอนโดยใช้ชุดแบบฝกึ ทกั ษะอยา่ ง ชดั เจน และประโยชน์ทไี่ ด้รบั จากการ
สอนโดยใชช้ ดุ แบบฝกึ ทกั ษะ

2. ครูผสู้ อนต้องชี้แจงให้นกั เรียนทราบเก่ียวกบั บทบาทของ
นกั เรียนในการเรยี นโดยใช้ชุด แบบฝกึ ทักษะให้เขา้ ใจและเน้นยา้ เรอ่ื ง
ความซอ่ื สัตยโ์ ดยไมค่ ัดลอกเพือ่ นหรือดเู ฉลยก่อน
3. ในกรณีที่นกั เรยี นคนใดขาดเรียน ใหน้ ักเรียนศกึ ษาเปน็ รายบุคคลจาก
ชดุ แบบฝึกทกั ษะที่ ครผู ู้สอนเตรยี มไว้ให้

2

คำชแี้ จงสำหรับนกั เรยี น

ในการศึกษาชุดแบบฝึกทักษะการแก้โจทย์ปัญหาวิชาเคมี

รหัส ว 30224 เรื่อง กรด - เบส ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5

นกั เรียนควรปฏบิ ตั ิตามขน้ั ตอน ดงั นี้

1. ให้นักเรียนอ่านคาแนะนาสาหรับนักเรียนให้เข้าใจก่อนลง

มอื ศึกษาโดยการทากิจกรรมตาม ลาดับข้ันตอนการเรียนรู้ท่ีกาหนด

ไวใ้ นแบบฝกึ ทักษะ

2. นกั เรียนศกึ ษาเนอื้ หาการเรียนรู้จากใบความรู้และตัวอย่าง

โจทย์การคานวณด้วยความต้ัง ใจแล้วสรุปความคิดรวบยอดที่ได้

ศกึ ษาร่วมกนั กบั เพ่อื นในกลมุ่ ก่อนทาแบบฝึกหัด

3. นักเรียนทาแบบฝึกหัดทักษะการคานวณ ฝึกทาใบงาน

ด้วยความต้ังใจและซ่ือสัตย์โดยไม่ เปิดดูเฉลยก่อนนะค่ะ หากมีข้อ

ซักถาม สามารถสอบถามครูผูส้ อนได้

4. เม่ือนักเรียนศึกษาและทากิจกรรมทุกข้ันตอนแล้ว ให้

นักเรียน แลกเปล่ียนกับเพื่อนในห้อง เพื่อตรวจคาตอบจาก

แนวคาตอบ

ขั้นตอนกำรใช้ชุดกจิ กรรม 3

อา่ นคาช้แี จงของนกั เรยี นในการใชช้ ุดกิจกรรม

แบบทดสอบก่อนเรียน

ศึกษาสาระการเรยี นรู้ จุดประสงค์การเรยี นรู้

ดาเนินการใช้ชดุ กจิ กรรม
ศกึ ษาขน้ั ตอนการทากิจกรรม

ปฏิบัติกิจกรรม
ทาแบบฝึกทกั ษะ

ทาแบบทดสอบหลงั เรียน

แบบทดสอบกอ่ นเรียน 4

คาช้แี จง : 1. แบบทดสอบจานวน 10 ขอ้ ข้อละ 1 คะแนน
2. จงเลือกคาตอบท่ถี กู ตอ้ งทสี่ ุดเพยี งคาตอบเดียว แล้วใหน้ กั เรียนทา

เคร่อื งหมายกากบาทลงในกระดาษคาตอบใหเ้ วลา 20 นาที

1. ข้อใดไมใ่ ชอ่ ปุ กรณ์ท่ีใช้ในการไทเทรต 5. ยาลดกรดชนิดหน่ึงมี Mg(OH)2อยรู่ อ้ ย
ละ 29 โดยมวลตอ่ มวล นอกนั้นเป็นแปง้
ก. ขวดรูปกรวย กระดาษกรอง ถ้ายานหี้ นกั 0.2 กรมั จะตอ้ งใชย้ ากีเ่ ม็ด
จงึ จะทาปฏิกิรยิ าพอดีกับสารละลาย HCl
ข. ปเิ ปต หลอดหยด 0.02 mol/dm3 จานวน 300 cm3
(กาหนดมวลอะตอมของ Mg=24, O =
ค. บวิ เรต หลอดหยด 16, H=1)

ง. ลกู ยาง ขวดนา้ กลั่น ก. 2 ข. 3
ค. 4 ง. 5
2. ข้อใกกล่าวถึง จุดสมมูล ไมถ่ กู ตอ้ ง

ก. ปฏิกิริยาระหวา่ งกรดแกก่ ับเบสแก่

จดุ สมมูลจะมี pH=7

ข. ปฏกิ ริ ยิ าระหว่างกรดออ่ นกบั เบสแก่

จุดสมมูลจะมี pH ประมาณ 8-10

ค. ปฏิกริ ยิ าระหวา่ งกรดแก่กับเบสออ่ น 6. จงหา pH ของสารละลายเมอื่ เติม

จดุ สมมูลจะมี pH ประมาณ 4-6 NaOH 0.1 mol/dm3 10 cm3 ลงใน

ง. การหาจดุ สมมูลของการไทเทรต สารละลาย HCl 0.1 mol/dm3 50 cm3

สามารถคานวณได้กอ่ นการทดลองไทเทรต ( log 6.6 = 0.82)

3.ขณะทไ่ี ทเทรต จุดทีอ่ ินดิเคเตอรใ์ น ก. 0.2 ข. 0.35

สารละลายกรด-เบส เปลยี่ นสถี าวรมีชือ่ ค. 1.18 ง. 2.18

เรยี กวา่ อยา่ งไร

ก. จดุ ยตุ ิ ข. จดุ พอดี 7. สารละลาย HNO3 ปริมาตร 10 cm3

ค. จุดสมมลู ง. จุดสมดลุ ไทเทรตพอดีกับสารละลาย NaOH 0.1

4. นาสารละลายกรดแก่pH=3ปริมาตร mol/dm3 ปรมิ าตร 18 cm3จงหาความ

10cm3 มาผสมน้าจนกระทัง่ มีปริมาตร เขม้ ขน้ ของสารละลาย HNO3

เปน็ 890cm3 แล้ว เตมิ เบสแก่ที่มี pH=10 ก. 0.18 ข. 1.34

จานวน 10 cm3 ลงไป จะได้สารละลายที่ ค. 1.96 ง. 2.03

มคี ่า pH เท่าใด

ก. 4 ข. 5

ค. 6 ง. 7

5

8. การไทเทรตสารละลาย HCl ในสารละลาย KOH เข้มข้น 0.1 mol/dm3 ให้ข้อมลู ดงั นี้

จงหาความเข้มขน้ ของสารละลาย HCl
ก. 0.01
ข. 0.10
ค. 0.34
ง. 0.95

9. กราฟการไทเทรตในข้อใดเปน็ การไทเทรตระกวา่ งกรดออ่ นกบั เบสแก่

10. ทาการทดลองไทเทรตระหว่างสารละลาย NaOH เขม้ ข้น 0.1mol/dm3กบั สารละลาย
CH3COOH เข้มข้น 0.1mol/dm3 ปรมิ าตร10 cm3 ไดผ้ ลการทดลองดังกราฟ

จากกราฟข้อใดกลา่ วไม่ถูกต้อง
ก. จุดสมมูลมีคา่ pH ประมาณ 8.7
ข. เกลอื ท่เี กดิ ขน้ึ จากปฏกิ ิรยิ าการไทเทรตน้ีเปน็ เกลอื ไฮโดรไลซิสแล้วไดเ้ บส
ค. ควรเลอื กใช้เมทิลออเรนจ(์ 3.2-4.4)เปน็ อนิ ดเิ คเตอร์ในการระบุจดุ ยุติ ณ ตาแหน่งA
ง. สารละลาย NaOH ท่ใี ชใ้ นการไทเทรตพอดีกบั CH3COOH มีปริมาตร 10 cm3

ชดุ กิจกรรมกำรเรยี นรู้ ชุดท่ี 6 6
เรอ่ื ง กำรไทเทรตกรด-เบส
รำยวชิ ำเคมี ช้นั มัธยมศกึ ษำปีท่ี 5 เวลำ 2 ชว่ั โมง

สาระเคมี

๒. เข้าใจการเขียนและการดุลสมการเคมี ปริมาณสัมพันธ์ในปฏิกิริยา
เคมี อัตราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี สมดุลในปฏิกิริยาเคมี สมบัติและปฏิกิริยา
ของกรด–เบส ปฏิกิริยา รีดอกซ์และเซลล์เคมีไฟฟ้า รวมท้ังการนาความรู้ไป
ใชป้ ระโยชน์

มาตราฐาน/ตวั ช้ีวดั

๒๐. ทดลอง และอธิบายหลักการการไทเทรต และเลือกใช้อินดิเค
เตอรท์ ี่เหมาะสมสาหรบั การไทเทรตกรด-เบส

๒๑. คานวณปริมาณสารหรือความเข้มข้นของ สารละลายกรดหรือ
เบสจากการไทเทรต

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

ด้านความรู้ (K)

1. ทดลองและอธบิ ายหลกั การไทเทรต
2. เลอื กใช้อนิ ดิเคเตอรท์ ่ีเหมาะสมสาหรับการไทเทรตกรด-เบส
3. คานวณปริมาณสารหรอื ความเขน้ ข้นของสารละลายกรดหรือเบสจากการไทเทรต

ดา้ นทกั ษะ (P)

1. การใช้ตวั เลข
2. การทดลอง

7

ขัน้ ตอนการทากจิ กรรม

คาช้แี จง : 1. ชดุ กิจกรรมมีทง้ั หมด 2 กจิ กรรม รวม 10 คะแนน
2. ให้นกั เรียนทาตามข้ันตอนและตอบคาถามต่อไปน้ี

กิจกรรมท่ี 1

1. นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ ทาการทดลองและบนั ทกึ ผลการทดลอง
เรื่อง การทดลองการไทเทรตกรด-เบส โดยใชอ้ ินดิเคเตอร์ ลงในแบบ
บันทึกกจิ กรรมท่ี 1

2. นกั เรียนตอบคาถามทา้ ยการทดลอง

กิจกรรมที่ 2

1. นกั เรยี นแต่ละกลุม่ ทาการทดลองและบันทึกผลการทดลอง
เรอ่ื ง การทดลองหาความเขม้ ขน้ ของสารละลายจากการไทเทรตกรด-
เบส โดยใชด้ นิ ดเิ คเตอร์บอกจุดยุติลงในแบบบนั ทกึ กจิ กรรมท่ี 2

2. นกั เรยี นตอบคาถามท้ายการทดลอง

8

1 การทดลองการไทเทรตกรด-เบสโดยใช้อนิ ดเิ คเตอร์

จดุ ประสงคก์ ารทดลอง

1. ทดลองเพ่ือศกึ ษาการไทเทรตกรด-เบสโดยใชอ้ ินดิเคเตอร์
2. เปรยี บเทยี บจดุ ยุติของอินดิเคเตอร์แต่ละชนิด
3. อธบิ ายการเลือกอินดิเคเตอร์ใหไ้ ดจ้ ดุ ยุตใิ กลเ้ คยี งกบั จุดสมมลู

วสั ดุ อุปกรณ์ และสารเคมี

สารเคมี
1. สารละลายกรดแอซีตกิ (CH₃COOH) 0.10 mol/L
2. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) 0.10 mol/L
3. เมทิลออเรนจ์
4. ฟีนอล์ฟทาลนี

วัสดุและอปุ กรณ์
1. ปเิ ปตตข์ นาด 10 mL
2. บิวเรตต์ขนาด 50 mL
3. ขวดรูปกรวยขนาด 125 mL
4. บีกเกอรข์ นาด 100 mL
5. หลอดหยด
6. กรวยกรอง
7. ขาตั้งพรอ้ มทีจ่ ับ
8. ลูกยางปิเปตต์
9. ขวดน้า กลน่ั

9

วิธีการทดลอง

1. ปเิ ปตต์ CH3COOH 0.10 mol / L ใสข่ วดรปู กรวย 3 ขวดขวด
ละ 10.00 mL แลว้ หยดเมทิลออเรนจ์ 2 หยดลงในแตล่ ะขวดซึง่ สารละลายจะ
มสี แี ดง

2. บรรจุ NaOH0.10 mol / L ปริมาตรประมาณ 40-50 mL ลง
ในบวิ เรตตแ์ ละปรับระดับของสารละลายให้สามารถอ่านค่าได้แล้วบันทกึ
ปรมิ าตรไว้

3. ไขบิวเรตต์ให้ NaOH ไหลลงใน CH3COOH ท่ีอยู่ในขวดรปู กรวย
อย่างช้า ๆ พร้อมกับเขย่าขวดให้สารละลายผสมกันตลอดเวลาเม่อื สีเหลอื งท่ี
เกดิ ขนึ้ บรเิ วณที่หยดสารละลายจากบิวเรตต์เปลย่ี นกลบั เปน็ สีแดงไดช้ า้ ลงใหป้ รบั
บวิ เรตต์จนสารละลายหยดลงในขวดรปู กรวยท่ลี ะหยดพรอ้ มกับเขยา่ ขวดและ
หยดุ การไทเทรตเมอ่ื สารละลายเปลีย่ นเปน็ สเี หลอื งอยา่ งถาวรให้บันทกึ ปรมิ าตร
ของ NaOH

4. ทดลองซา้ ขอ้ 3-4 โดยใช้สารละลายที่เตรยี มไวใ้ นขอ้ 1 อีก 2 คร้งั
จากนนั้ คานวณปรมิ าตรเฉลย่ี ของ NaOH ทใี่ ชท้ าปฏกิ ิรยิ าพอดีกบั
CH3COOH โดยถ้าข้อมูลครั้งใดมีความคลาดเคล่ือนหรือแตกตา่ งจากการ
ทดลองที่เหลอื มากกวา่ 0.20 mL ให้ตดั ผลครง้ั นน้ั ท้งิ แลว้ ทาการทดลองเพ่มิ
อกี 1 ครั้ง

5. ทาการทดลองซา้ ขอ้ 1-4 แต่เปลยี่ นอนิ ดิเคเตอร์เป็นฟีนอล์ฟทาลนี
ซึ่งสารละลายจะเปล่ยี นจากไม่มสี เี ปน็ สชี มพู

การไทเทรต

10

บันทึกผลการทดลอง

ตารางที่ 1 ความเขม้ ข้นของสารละลายมาตรฐาน NaOH ในการทดลองนี้
คือ 0.0999 mol/L ความเข้มข้นของสารละลาย CH3 COOH ในการ
ทดลองนี้คอื 0.100 mol/L อินดิเคเตอรท์ ี่ใช้คอื เมทิลออเรนจ์

ปรมิ าตร สารละลายมาตรฐาน NaOH
สารละลาย
การทดลอง CH3COOH ขดี วัดปริมาตร ขีดวัด ปรมิ าตรท่ีใช้
คร้งั ท่ี (เริม่ ต้น) ปริมาตร เม่อื (mL)
(mL) ถึงจุดยุติ

ตารางท่ี 2 ความเขม้ ข้นของสารละลายมาตรฐาน NaOH ในการทดลองนีค้ อื
0.0999 mol/L ความเขม้ ขน้ ของสารละลาย CH3 COOH ในการทดลองนี้
คอื 0.100 mol/L อนิ ดิเคเตอร์ทใี่ ชค้ ือ ฟีนอลฟท์ าลีน

11

สรุปผลการทดลอง

ตารางท่ี 1

........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
ตารางที่ 2
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................

2 12
การทดลองหาความเขม้ ขน้ ของสารละลายจากการ
ไทเทรตกรดเบส โดยใช้อนิ ดเิ คเตอร์บอกจุดยุติ

จดุ ประสงคก์ ารทดลอง

1. ทดลองเพอ่ื หาความเขม้ ข้นของสารละลายจากการไทเทรต
กรด-เบส โดยใช้อนิ ดิเคเตอรบ์ อกจดุ ยุติ

2. คานวณความเขม้ ข้นของสารละลายตัวอย่าง

วัสดุ อุปกรณ์และสารเคมี

สารเคมี
1. สารละลายตัวอย่างกรดไฮโดรคลอรกิ (HCl)
2. สารละลายมาตรฐานโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) 0.10 mol/L
3. เมทิลเรด
4. โบรโมไทมอลบลู
5. ฟีนอลฟ์ ทาลีน

วสั ดุและอปุ กรณ์
1. ปเิ ปตต์ขนาด 10 mL
2. บิวเรตต์ขนาด 50 mL
3. ขวดรูปกรวยขนาด 100 mL
4. บกี เกอร์ขนาด 100 mL
5. หลอดหยด
6. กรวยกรอง
7. ขาต้งั พร้อมท่ีจับ
8. ลูกยางปเิ ปตต์
9. ขวดนา้ กลนั่

13

วธิ กี ารทดลอง

1. ปเิ ปตตส์ ารละลายตวั อยา่ ง HCI ใสข่ วดรูปกรวย 3 ขวดขวดละ
10.00 mL แลว้ หยดอนิ ดิเคเตอร์ที่เลอื กมา 1 ชนิดจานวน 2 หยดลง
ในแต่ละขวดสังเกตสีของสารละลาย
2. บรรจุ NaOH 0.10 mol / L ในบิวเรตตแ์ ล้วทาการไทเทรต
จนกระทงั่ ถึงจดุ ยตุ บิ ันทึกปรมิ าตรของ NaOH ทีใ่ ชใ้ นแต่ละขวด
3. คานวณปริมาตรเฉลี่ยของ NaOH และความเข้มขน้ ของสารละลาย
ตัวอย่าง HCI

ตารางบันทกึ ผลการทดลอง

ปรมิ าตร สารละลายมาตรฐาน NaOH
สารละลาย
การทดลอง ตัวอยา่ ง ขีดวดั ปรมิ าตร ขดี วดั ปรมิ าตรทใ่ี ช้
ครงั้ ท่ี (เร่มิ ตน้ ) ปริมาตร เมอื่ (mL)
(mL) ถงึ จุดยุติ

การคานวณการทดลอง

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

14

สรุปผลการทดลอง

........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
.......................................................................................................................................

แบบทดสอบหลังเรียน 15

คาชี้แจง : 1. แบบทดสอบจานวน 10 ข้อ ขอ้ ละ 1 คะแนน
2. จงเลอื กคาตอบท่ีถกู ต้องที่สดุ เพียงคาตอบเดียว แล้วให้นกั เรยี นทา

เครือ่ งหมายกากบาทลงในกระดาษคาตอบให้เวลา 20 นาที

1. จงหา pH ของสารละลายเมือ่ เตมิ 5. ขอ้ ใกกลา่ วถึง จดุ สมมลู ไมถ่ กู ตอ้ ง

NaOH 0.1 mol/dm3 10 cm3 ลงใน ก. ปฏิกิริยาระหวา่ งกรดแก่กับเบสแก่

สารละลาย HCl 0.1 mol/dm3 50 cm3 จดุ สมมูลจะมี pH=7

( log 6.6 = 0.82) ข. ปฏกิ ริ ยิ าระหว่างกรดอ่อนกบั เบสแก่

ก. 0.2 ข. 0.35 จดุ สมมลู จะมี pH ประมาณ 8-10

ค. 1.18 ง. 2.18 ค. ปฏกิ ริ ิยาระหวา่ งกรดแกก่ บั เบสอ่อน

2.ข้อใดไมใ่ ช่อปุ กรณ์ที่ใชใ้ นการไทเทรต จดุ สมมูลจะมี pH ประมาณ 4-6

ก. ขวดรูปกรวย กระดาษกรอง ง. การหาจุดสมมูลของการไทเทรต

ข. ปเิ ปต หลอดหยด สามารถคานวณไดก้ อ่ นการทดลองไทเทรต

ค. บวิ เรต หลอดหยด 3.ขณะทไี่ ทเทรต จดุ ท่ีอินดิเคเตอร์ใน

ง. ลกู ยาง ขวดน้ากลั่น 6. สารละลาย HNO3 ปริมาตร 10 cm3

3.ขณะทีไ่ ทเทรต จุดทีอ่ นิ ดเิ คเตอรใ์ น ไทเทรตพอดีกับสารละลาย NaOH 0.1

สารละลายกรด-เบส เปล่ยี นสถี าวรมชี ่อื mol/dm3 ปรมิ าตร 18 cm3จงหาความ

เรยี กว่าอยา่ งไร เข้มข้นของสารละลาย HNO3

ก. จุดยตุ ิ ข. จุดพอดี ก. 0.18 ข. 1.34

ค. จุดสมมูล ง. จดุ สมดุล ค. 1.96 ง. 2.03

4. ยาลดกรดชนิดหนึง่ มี Mg(OH)2อยูร่ อ้ ย 7. นาสารละลายกรดแก่pH=3ปรมิ าตร

ละ 29 โดยมวลตอ่ มวล นอกนนั้ เปน็ แป้ง 10cm3 มาผสมนา้ จนกระท่ัง มีปริมาตร

ถา้ ยานห้ี นัก 0.2 กรมั จะต้องใชย้ ากเี่ ม็ด เป็น890cm3 แล้ว เตมิ เบสแก่ท่มี ี pH=10

จงึ จะทาปฏิกริ ยิ าพอดีกบั สารละลาย HCl จานวน 10 cm3 ลงไป จะไดส้ ารละลายที่

0.02 mol/dm3 จานวน 300 cm3 มคี า่ pH เท่าใด

(กาหนดมวลอะตอมของ Mg=24, O = ก. 4 ข. 5

16, H=1) ค. 6 ง. 7

ก. 2 ข. 3

ค. 4 ง. 5

8. ทาการทดลองไทเทรตระหวา่ งสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.1mol/dm3กบั สารละลาย 16

CH3COOH เข้มข้น 0.1mol/dm3 ปรมิ าตร10 cm3 ได้ผลการทดลองดงั กราฟ

จากกราฟขอ้ ใดกล่าวไม่ถูกตอ้ ง
ก. จดุ สมมลู มคี า่ pH ประมาณ 8.7
ข. เกลอื ท่เี กดิ ขึ้นจากปฏกิ ิริยาการไทเทรตนี้เป็นเกลอื ไฮโดรไลซสิ แลว้ ไดเ้ บส
ค. ควรเลือกใชเ้ มทิลออเรนจ์(3.2-4.4)เปน็ อินดเิ คเตอร์ในการระบจุ ดุ ยุติ ณ ตาแหน่งA
ง. สารละลาย NaOH ทใี่ ช้ในการไทเทรตพอดีกบั CH3COOH มปี รมิ าตร 10 cm3

9. การไทเทรตสารละลาย HCl ในสารละลาย KOH เขม้ ขน้ 0.1 mol/dm3 ให้ขอ้ มูลดังนี้

จงหาความเขม้ ขน้ ของสารละลาย HCl
ก. 0.01
ข. 0.10
ค. 0.34
ง. 0.95

10. กราฟการไทเทรตในข้อใดเปน็ การไทเทรตระกวา่ งกรดออ่ นกบั เบสแก่

17

ประวตั ิผ้จู ดั ทา

ประวตั สิ ว่ นตวั
ช่อื นางสาวมารสิ า นามสกลุ แอ่งสุธา
เกดิ เม่อื วันท่ี 12 เดอื น เมษายน พ.ศ. 2541 อายุ 22 ปี
ภูมิลาเนา บ้านเลขที่ 12 หมู่ 3 ตาบล อ้อมกอ อาเภอ บ้านดุง
จังหวัดอุดรธานี รหสั ไปรษณีย์ 41190
ประวัตกิ ารศกึ ษา
สาเร็จการศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายจาก โรงเรียนดงเย็นพิทยา
คาร พ.ศ. 2559
ปจั จบุ ันกาลังศกึ ษาอยทู่ ี่
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีคณะครุศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์ เน้น
เคมี นักศึกษาช้ันปีที่ 4 รหัสนักศึกษา 60100141113

18

ประวัตผิ ู้จัดทา

ประวัตสิ ว่ นตัว
ชอ่ื นางสาวกมลทิพย์ นามสกลุ แสนอภยั
เกดิ เม่อื วนั ท่ี 1 เดือน กันยายน พ.ศ. 2541 อายุ 22 ปี
ภูมิลาเนา บ้านเลขที่ 177 หมู่ 8 ตาบล นาข่า อาเภอ ท่าบ่อ
จังหวดั หนองคาย รหัสไปรษณีย์ 43110
ประวตั ิการศกึ ษา
สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจาก โรงเรียนท่าบ่อ
พ.ศ. 2559
ปัจจุบันกาลังศึกษาอย่ทู ี่
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุดรธานคี ณะครุศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์ เน้น
เคมี นักศกึ ษาช้ันปีท่ี 4 รหัสนกั ศึกษา 60100141118

19

อ้างองิ

กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน
พทุ ธศักราช 2551.กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2559).คมู่ อื ครู
รายวิชาเพมิ่ เติม เคมี เลม่ 2 (พิมพ์ครงั้ ที่ 3). กรุงเทพฯ:
โรงพมิ พ์ สกสค.

สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2559). หนังสอื
เรียน รายวิชา เพ่มิ เติม เคมี เล่ม 2 (พิมพค์ ร้ังท่ี 9).
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค.

ภาคผนวก

21

ใบความรู้
เรอ่ื ง ปฏิกิริยาเคมรี ะหวา่ งกรดและเบส

ปฏกิ ริ ิยาเคมีระหว่างกรดและเบสทพี่ อดีกนั เรียกว่า ปฏกิ ิรยิ าสะเทนิ ซึ่ง

อาจเขียนในรปู สมการเคมที ่วั ไปดงั น้ี

HA + BOH BA + H2O

กรด เบส เกลือ น้า
หรอื H3O+(aq) + OH−(aq)
2H2O(l)

น้าซง่ึ มสี มบตั เิ ป็นกลาง เ)นผลติ ภัณฑท์ เ่ี กดิ จากไฮโดรเนียมไอออน
(H3O+) จากกรดทาปฏิกริ ยิ าไฮดรอกไซด์ไอออน(OH−)จากเบส ส่วนผลิตภัณฑ์
ทีเ่ ป็นเกลอื (BA) อาจมีสมบตั ิเป็นกลาง กรดหรือเบส ขึ้นอยู่กบั ชนดิ ของกรดและ

เบสทท่ี าปฏกิ ิริยากนั ซงึ่ พิจารณาไดจ้ ากตัวอย่างปฏิกริ ิยาตอ่ ไปนี้

ปฏิกิริยาระหวา่ งกรดแกก่ ับเบสแก่

เม่อื นาสารละลายกรดไฮโดรคลอริก(HCl)และสารละลายโซเดยี มไฮดรอก

ไซด(์ NaOH) มาทาปฏิกิรยิ ากัน เขียนสมการเคมไี ดด้ งั นี้

HCl(aq) + NaOH(aq) NaCl(aq) + H2O(l)

ผลิตภณั ฑท์ ี่เกิดขน้ึ คอื โซเดยี มคลอไรด์(NaCl)ซึงมสี มบตั ิเปน็ กลาง

ปฏิกริ ิยาระหวา่ งกรดออ่ นกบั เบสแก่

ปฏกิ ริ ิยาระหวา่ งสารละลายกรดแอซิตกิ (CH3COOH)และสารละลาย
โซเดยี มไฮดรอกไซด์(NaOH) เขยี นสมการเคมีไดด้ งั นี้

CH3COOH(aq) + NaOH(aq) CH3COONa(aq) + H2O(l)
เผบลสิตภเนณั ือ่ ฑงเ์ จกาลกอื ทC่ีเกHดิ 3ขCน้ึ OคOอื −เกสลาือมโาซรเดถยี เกมิดแปอฏซีเกิ ตริ ติย(าCไHฮ3โดCรOไลOซNสิ aได) ้ ซึ่งมสี มบัตเิ ป็น
OH−

ปฏกิ ิริยาระหว่างกรดแก่กับเบสอ่อน

ปฏิกิรยิ าระหวา่ งสารละลายกรอไฮโรคลอริก(HCl)และสารละลาย

แอมโมเนีย(NH3) เขยี นสมการเคมีไดด้ ังน้ี
HCl(aq) + NH3(aq) NH4Cl(aq)
ผเนลื่อติ งภจณั ากฑ์เกNลHอื 4+ทเี่ สกาิดมขานึ้ รคถือเกแดิ อปมฏโิกมริ เยินายี ไมฮคโดลรอไไลรซดสิ์(NไดH้ 4HC3l)Oซ+่งึ มสี มบัติเป็นกรด

ใบความรู้ 22

การไทเทรต

ปฏกิ ิรยิ าสะเทนิ ระหว่างกรดและเบสสามารถนามาใช้หาความเข้มข้นของ
สารละลายท่ีไม่ทราบความเขม้ ขน้ โดยใชว้ ิธกี ารที่เรียกว่าการไทเทรต (titration)
ซงึ่ เป็นการตดิ ตามปรมิ าณสารชนิดใดชนิดหนง่ึ ทีเ่ ตมิ ลงไปทาปฏกิ ิรยิ ากบั สารอกี
ชนิดหนึ่งจนถึงจุดที่สารท้ังสองทาปฏิกิริยาพอดีกันซ่ึงเรียกว่าจุดสมมูล
(equivalent point) โดยใช้สารละลายมาตรฐาน (Standard solution) ท่ี
ทราบปริมาณหรือความเข้มข้นท่ีแน่นอนทาปฏิกิริยากับสารละลายอีกชนิดหนึ่ง
ท่ีต้องการหาความเข้มข้นการไทเทรตสารละลายอาจติดตามปริมาตร
สารละลายมาตรฐานท่ีทราบความเข้มข้นแน่นอนหรือปริมาตรสารละลายท่ี
ตอ้ งการหาความเข้มขน้ ก็ได้

จุดสมมูลของการไทเทรตกรด-เบสคือจุดที่จานวนโมลของไฮโดรเจน
ไอออน (H+)พอดีกบั จานวนโมลของไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-)ซง่ึ หาไดจ้ ากการ
ติดตามค่า pH แล้วนามาเขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง pH กับปริมาตร
ของสารละลายที่เป็นตัวไทเทรต (titrant)ซงึ่ เรียกว่ากราฟการไทเทรต (titration
Curve)กราฟการไทเทรตและการคานวณความเข้มข้นของสารละลายท่ีต้องการ
ทราบความเข้มข้นศึกษาได้จากตัวอย่างการไทเทรตกรด -เบสคู่ต่าง ๆ
ดงั ต่อไปนี้

การไทเทรตกรดแกก่ บั เบสแก่ 23

การไทเทรตกรดแก่กับเบสแก่เช่นสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl)กับ
สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) กราฟท่ีได้จากการไทเทรต HCI ที่
ต้องการทราบความเขม้ ข้นปริมาตร 10.00 มิลลิลิตรด้วย NaOH 0.200 โมลต่อ
ลติ รโดยติดตามปรมิ าตร NaOH ที่เตมิ ลงไปและการเปลยี่ นแปลง pH แสดงดังรูป

กราฟการไทเทรตระหว่าง HCl กบั NaOH

จากกราฟการไทเทรต HCI เริ่มต้นมี pH = 1 เม่ือเติม NaOH มีผลทาให้

pH ของสารละลายค่อย ๆ เพ่ิมขึ้นจนถึงบริเวณท่ี pHของสารละลายเพ่ิมขึ้นอย่าง

รวดเรว็ และเริม่ คงทท่ี ่ี pH>12โดยจดุ สมมูลท่ไี ด้จากกราฟการไทเทรตคือจุดก่ึงกลาง

ของบริเวณท่ี pH เพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็วในท่ีนี้คือ pH = 7 สอดคล้องกับความเป็น

กลางของสารละลายผลิตภัณฑ์เกลือ NaCl เมื่อลากเส้นตรงจากจุดสมมูลลงมาตัด

แกน X จะทาให้ทราบปริมาตรของ NaOH ที่ทาปฏิกิริยาพอดีกับ HCI ซึ่งใน

กราฟน้ีคือ 10.00 มิลลิลิตรซ่ึงสามารถใช้ปริมาตรนี้ในการคานวณความเข้มข้น

ของ HCI ไดด้ งั น้ี

จากสมการเคมี HCl aq +NaOH aq NaCl aq +H2O(l)

จะเห็นว่า HCl 1โมลทาปฏิกริ ยิ าพอดีกบั NaOH 1 โมล

คานวณจานวณโมลของ NaOH
0.2 mol NaOH
จานวณโมลของ NaOH = 1000 ml ×100ml=2.0×10−3mol NaOH

คานวณความเขม้ ขน้ ของ HCl
20.0.2×10001000m−o3ml lmHsooCllln/LHCslo×ln100
ความเขม้ ขน้ ของ HCl = ml soln
=

ดังนน้ั สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเขม้ ข้น 0.200 โมลตอ่ ลติ ร

การไทเทรตกรดอ่อนกับเบสแก่ 24

การไทเทรตกรดอ่อนกับเบสแก่เช่นสารละลายกรดแอซีติก (CH3COOH) กับ
สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์(NaOH) กราฟท่ีได้จากการไทเทรต CH3COOH ที่
ต้องการทราบความเข้มข้นปรมิ าตร 10.00 มลิ ลิลติ รด้วย NaOH 0.200 โมลต่อลิตร
โดยติดตามปริมาตร NaOH ทเ่ี ติมลงไปและการเปลี่ยนแปลง pH แสดงดังรปู

กราฟไทเทรตระหวา่ ง CH3COOH กับ NaOH
จากกราฟการไทเทรตสารละลาย CH3COOH เร่ิมต้นมี pH = 3 เม่ือเติม
NaOH มีผลทาให้ pH ของสารละลายค่อย ๆ เพ่ิมขึ้นจนถึงบริเวณท่ี pH ของ
สารละลายเพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็วและเร่ิมคงที่ที่ pH>12 โดยจุดสมมูลที่ได้จากกราฟการ
ไทเทรตคือจุดก่ึงกลางของบริเวณท่ี pH เพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็วในท่ีน้ีคือ pH=9
สอดคล้องกับความเปน็ เบสของสารละลายผลิตภัณฑ์เกลือ CH3COONaเมื่อลากเส้น
ตรงจากจุดสมมูลลงมาตัดแกน Xจะทาให้ทราบปริมาตรของ NaOHที่ทาปฏิกิริยาพอดี
กับ CH3COOHซ่ึงในกราฟน้ีคือ 10.00 มิลลิลิตรซึ่งสามารถใช้ปริมาตรนี้ในการ
คานวณความเขม้ ข้นของ CH3COOH ไดด้ ังน้ี
จากสมการเคมี
ความเขม้ CขH้นข3อCงOCOHH3CaqOO+NHa××=O= H10110.02110a0m00q0.o02m0LloCmmmCmlHllHoo3CNNl3lHCaaCNOCO3OCOaHCHOHHOO3O3HHCHOsC×oOHOlsOn1oOsH×l0Nnol1a/nm0laCmLqCHl H3+N31CHaCOO2OOHOOH(lsH)oslosnlonln
ดังนน้ั สารละลายกรดแอซิตกิ เขม้ ข้น 0.200 โมลต่อลติ ร

การไทเทรตกรดแก่กบั เบสออ่ น 25

การไทเทรตกรดแกก่ บั เบสอ่อน เชน่ สารละลายกรดไฮโดรคลอรกิ (HCI) กบั
สารละลายแอมโมเนยี (NH3) กราฟท่ีไดจ้ ากการไทเทรต NH3 ทตี่ อ้ งการทราบความ
เขม้ ข้นปรมิ าตร 10.00 มิลลลิ ติ รด้วย HCI 0.200 โมลต่อลิตรโดยติดตามปริมาตร
HCl ท่ีเติมลงไปและการเปลีย่ นแปลง pH แสดงดังรปู

กราฟการไทเทรตระหว่าง NH3 กับ HCI

จากกราฟการไทเทรต NH3 เริ่มต้นมี pH = 11 เม่ือเติม HCI มีผลทาให้ pH

ของสารละลายคอ่ ย ๆ ลดลงจนถึงบริเวณที่ pH ของสารละลายลดลงอย่างรวดเร็วและ

เริ่มคงที่ที่ pH <1 โดยจุดสมมูลท่ีได้จากกราฟการไทเทรตคือจุดก่ึงกลางของบริเวณที่

pH ลดลงอย่างรวดเร็วในท่ีน้ีคือค่า pH=5 สอดคล้องกับความเป็นกรดของสารละลาย

ผลิตภัณฑ์เกลือ NH4CI และเมื่อลากเส้นตรงจากจุดสมมูลลงมาตัดแกน X จะทาให้

ทราบปริมาตรของ HCI ทท่ี าปฏกิ ริ ยิ าพอดกี ับ NH3 ซง่ึ ในกราฟนี้คือ 10.00 มิลลลิ ติ ร

ซ่งึ สามารถใชป้ ริมาตรน้ใี นการคานวณความเขม้ ขน้ ของ NH3 ได้ดังน้ี

จากสมการเคมี

ความเขม้ ขน้ ของ NH3H=××Cl1111a001q0m0m000.ooL2+llNNmmNmHHHllHoCN33H3llHC×aH3lsqCo1ssll0onol.l0nn NH4Cl(aq) soln
= 0.200 mol NH3/L ×10.0 ml HCl

1
ml NH3 soln

NH3 soln

ดังนนั้ สารละลายแอมโมเนียเขม้ ขน้ 0.200 โมลตอ่ ลิตร

จากกราฟการไทเทรตข้างต้นสรุปได้ว่าจุดสมมูลของการไทเทรตกรด-เบสมี pH

แตกตา่ งกนั ข้นึ อยู่กับความแรงของกรดและเบสทนี่ ามาทาปฏกิ ริ ิยากนั คือกรดแก่-เบสแก่มี

จุดสมมูลที่ pH = 7 กรดอ่อน-เบสแก่มีจุดสมมูลท่ี pH> 7 และกรดแก่-เบสอ่อนมีจุด

สมมูลที่ pH <7 และปริมาตรของสารละลายที่ใช้ไทเทรต ณ จุดสมมูลสามารถนาไป

คานวณหาความเข้มข้นหรอื ปริมาณสารไดส้ ว่ นกรดอ่อน-เบสออ่ นไมน่ ยิ มนามาไทเทรต

แบบฝึกทกั ษะ

แบบฝกึ หัด 27

การไทเทรตกรด-เบส

1. ในการไทเทรตสารละลายกรดในทรกิ (HNO3) ปรมิ าตร 25.0 มลิ ลลิ ิตร
พบว่าทาปฏิกิรยิ าพอดกี บั สารละลายโพแทสเซยี มไฮดรอกไซด์ (KOH) 0.10
โมลตอ่ ลติ รปรมิ าตร 20.0 มิลลิลติ รสารละลายกรดไนทรกิ มคี วามเขม้ ข้น
เท่าใด

2. ในการไทเทรตสารละลายแอมโมเนีย (NH) ปรมิ าตร 25.0 มลิ ลิลิตรกบั
สารละลายกรดไฮโดรคลอรกิ (HCI) 0.50 โมลตอ่ ลติ รโดยใช้เมทิลเรดเป็น
อินดิเคเตอร์ปริมาตรสารละลายกรดไฮโดรคลอริกทใี่ ชเ้ ท่ากบั 32.40มิลลลิ ติ ร
สารละลายแอมโมเนยี มความเขม้ ขน้ รอ้ ยละเทา่ ใดโดยมวลตอ่ ปรมิ าตร

3. กราฟของการไทเทรตระหว่างสารละลายกรดมอนอโปรตกิ สองชนิด Xและ
Y มีความเขม้ ข้นและปรมิ าตรเท่ากันกบั สารละลายโซเดยี วไฮดรอกไซด์
(NaOH) เป็นดงั รปู

3.1 pH ท่จี ุดสมมลู ของการไทเทรตสาร X และ Y มีค่าเทา่ ใด
3.2 จงเปรยี บเทียบความแรงของกรด X และ Y
3.3 ในการไทเทรตสารละลาย X ด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ จะ
เลอื กใชอ้ นิ ดิเคเตอร์ใดบ้าง จึงจะบอกจดุ ยุติทใ่ี กล้เคยี งกบั จดุ สมมูล

กระดาษคาตอบแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
และหลังเรยี น

กระดาษคาตอบ 29

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น คะแนนทีไ่ ด้ =

ข้อ ก ข คง
1
2 คะแนนท่ีได้ =
3
4
5
6
7
8
9
10

แบบทดสอบหลงั เรยี น

ขอ้ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เฉลยชุดกจิ กรรมการเรียนรู้

31

1 การทดลองการไทเทรตกรด-เบสโดยใช้อนิ ดเิ คเตอร์

จุดประสงคก์ ารทดลอง

1. ทดลองเพือ่ ศกึ ษาการไทเทรตกรด-เบสโดยใชอ้ นิ ดเิ คเตอร์
2. เปรยี บเทยี บจุดยตุ ขิ องอินดิเคเตอร์แตล่ ะชนดิ
3. อธบิ ายการเลือกอินดิเคเตอรใ์ หไ้ ด้จดุ ยตุ ิใกล้เคยี งกับจดุ สมมลู

วสั ดุ อปุ กรณ์ และสารเคมี

สารเคมี
1. สารละลายกรดแอซีติก (CH₃COOH) 0.10 mol/L
2. สารละลายโซเดยี มไฮดรอกไซด์ (NaOH) 0.10 mol/L
3. เมทิลออเรนจ์
4. ฟีนอลฟ์ ทาลีน

วสั ดแุ ละอุปกรณ์
1. ปเิ ปตตข์ นาด 10 mL
2. บวิ เรตต์ขนาด 50 mL
3. ขวดรปู กรวยขนาด 125 mL
4. บีกเกอรข์ นาด 100 mL
5. หลอดหยด
6. กรวยกรอง
7. ขาตง้ั พร้อมทจี่ บั
8. ลกู ยางปิเปตต์
9. ขวดนา้ กลั่น

32

วธิ กี ารทดลอง

1. ปิเปตต์ CH3COOH 0.10 mol / L ใสข่ วดรปู กรวย 3 ขวดขวด
ละ 10.00 mL แลว้ หยดเมทิลออเรนจ์ 2 หยดลงในแตล่ ะขวดซ่งึ สารละลายจะ
มีสแี ดง

2. บรรจุ NaOH0.10 mol / L ปรมิ าตรประมาณ 40-50 mL ลง
ในบิวเรตต์และปรับระดับของสารละลายใหส้ ามารถอา่ นค่าได้แลว้ บันทกึ
ปริมาตรไว้

3. ไขบิวเรตต์ให้ NaOH ไหลลงใน CH3COOH ที่อยูใ่ นขวดรปู กรวย
อยา่ งชา้ ๆ พรอ้ มกับเขยา่ ขวดให้สารละลายผสมกนั ตลอดเวลาเม่อื สเี หลืองท่ี
เกิดขนึ้ บริเวณทหี่ ยดสารละลายจากบวิ เรตต์เปล่ียนกลับเปน็ สแี ดงไดช้ ้าลงใหป้ รบั
บวิ เรตต์จนสารละลายหยดลงในขวดรูปกรวยท่ีละหยดพรอ้ มกับเขยา่ ขวดและ
หยุดการไทเทรตเมื่อสารละลายเปลย่ี นเป็นสเี หลืองอยา่ งถาวรใหบ้ นั ทกึ ปริมาตร
ของ NaOH

4. ทดลองซา้ ขอ้ 3-4 โดยใช้สารละลายที่เตรยี มไวใ้ นขอ้ 1 อกี 2 คร้งั
จากนัน้ คานวณปริมาตรเฉล่ียของ NaOH ทใี่ ชท้ าปฏิกริ ยิ าพอดีกับ
CH3COOH โดยถา้ ข้อมลู ครงั้ ใดมีความคลาดเคลื่อนหรือแตกตา่ งจากการ
ทดลองท่ีเหลือมากกวา่ 0.20 mL ใหต้ ัดผลครัง้ นัน้ ทง้ิ แล้วทาการทดลองเพ่ิม
อีก 1 คร้งั

5. ทาการทดลองซา้ ข้อ 1-4 แตเ่ ปล่ียนอนิ ดิเคเตอรเ์ ป็นฟีนอล์ฟทาลนี
ซ่ึงสารละลายจะเปล่ยี นจากไม่มีสเี ปน็ สีชมพู

การไทเทรต

33

บนั ทึกผลการทดลอง

ตารางที่ 1 ความเข้มข้นของสารละลายมาตรฐาน NaOH ในการทดลองน้ี
คอื 0.0999 mol/L ความเข้มขน้ ของสารละลาย CH3COOH ในการทดลอง
นีค้ อื 0.100 mol/L อินดเิ คเตอร์ท่ีใชค้ ือ เมทิลออเรนจ์

ปรมิ าตร สารละลายมาตรฐาน NaOH
สารละลาย
การทดลอง CH3COOH ขีดวัดปริมาตร ขดี วัด ปริมาตรทใ่ี ช้
ครั้งที่ (เรม่ิ ตน้ ) ปริมาตร เมอื่ (mL)
(mL) ถึงจดุ ยุติ

ตารางที่ 2 ความเขม้ ขน้ ของสารละลายมาตรฐาน NaOH ในการทดลองนี้คือ
0.0999 mol/L ความเขม้ ข้นของสารละลาย CH3 COOH ในการทดลองนี้
คือ 0.100 mol/L อนิ ดิเคเตอร์ท่ใี ชค้ อื ฟนี อลฟท์ าลีน

ปรมิ าตร สารละลายมาตรฐาน NaOH
สารละลาย
การทดลอง CH3COOH ขีดวัดปรมิ าตร ขีดวัด ปริมาตรท่ใี ช้
ครั้งที่ (เริม่ ตน้ ) ปริมาตร เมอ่ื (mL)
(mL) ถงึ จุดยุติ

34

สรุปผลการทดลอง

ปรมิ าตรของสารละลาย NaOH ที่ใช้ในการไทเทรตจนถึงจุดยุติ
ของเมทิลออเรนจแ์ ตกตา่ งจากของฟนี อลฟท์ าลนี โดยปริมาตรที่ได้จาก
การใช้เมทิลออเรนจ์น้อยกว่าปริมาตรท่ีได้จากการใช้ฟีนอล์ฟทาลีน
และจากการคา นวณปริมาตรของสารละลาย NaOHท่ีควรใช้ทา
ปฏิกิริยาพอดีกับสารละลาย CH3COOH พบว่า มีค่าใกล้เคียงกับ
ปริมาตรของสารละลายNaOH ที่ได้จากการใช้ฟีนอลฟ์ทาลีนเป็นอินดิ
เคเตอร์ แสดงว่าฟีนอล์ฟทาลีนบอกจุดยุติได้ใกล้เคียงกับจุดสมมูล
มากกว่าเมทิลออเรนจ์ ซึ่งเมื่อพิจารณา pHของจุดสมมูลพบว่าอยู่
ในช่วง pH การเปล่ียนสีของฟีนอลฟ์ทาลีน แต่อยู่เหนือช่วง pH การ
เปลีย่ นสขี องเมทิลออเรนจ

2 35
การทดลองหาความเขม้ ขน้ ของสารละลายจากการ
ไทเทรตกรดเบส โดยใช้อนิ ดเิ คเตอร์บอกจุดยุติ

จดุ ประสงคก์ ารทดลอง

1. ทดลองเพอ่ื หาความเขม้ ข้นของสารละลายจากการไทเทรต
กรด-เบส โดยใช้อนิ ดิเคเตอรบ์ อกจดุ ยุติ

2. คานวณความเขม้ ข้นของสารละลายตัวอย่าง

วัสดุ อุปกรณ์และสารเคมี

สารเคมี
1. สารละลายตัวอย่างกรดไฮโดรคลอรกิ (HCl)
2. สารละลายมาตรฐานโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) 0.10 mol/L
3. เมทิลเรด
4. โบรโมไทมอลบลู
5. ฟีนอลฟ์ ทาลีน

วสั ดุและอปุ กรณ์
1. ปเิ ปตต์ขนาด 10 mL
2. บิวเรตต์ขนาด 50 mL
3. ขวดรูปกรวยขนาด 100 mL
4. บกี เกอร์ขนาด 100 mL
5. หลอดหยด
6. กรวยกรอง
7. ขาต้งั พร้อมท่ีจับ
8. ลูกยางปเิ ปตต์
9. ขวดนา้ กลนั่

36

วิธกี ารทดลอง

1. ปิเปตต์สารละลายตวั อยา่ ง HCI ใสข่ วดรูปกรวย 3 ขวดขวดละ
10.00 mL แลว้ หยดอินดเิ คเตอร์ท่เี ลือกมา 1 ชนดิ จานวน 2 หยดลง
ในแต่ละขวดสงั เกตสขี องสารละลาย
2. บรรจุ NaOH 0.10 mol / L ในบิวเรตตแ์ ลว้ ทาการไทเทรต
จนกระท่งั ถงึ จดุ ยตุ บิ นั ทึกปริมาตรของ NaOH ทใ่ี ชใ้ นแตล่ ะขวด
3. คานวณปริมาตรเฉลย่ี ของ NaOH และความเขม้ ขน้ ของสารละลาย
ตัวอย่าง HCI

ตารางบันทึกผลการทดลอง

ปรมิ าตร สารละลายมาตรฐาน NaOH
สารละลาย
การทดลอง ตัวอยา่ ง ขดี วดั ปริมาตร ขดี วดั ปริมาตรทใ่ี ช้
ครัง้ ที่ (เร่ิมต้น) ปรมิ าตร เมือ่ (mL)
(mL) ถึงจดุ ยตุ ิ

การคานวณการทดลอง

ความเข้มขน้ ของ HCl ×=×= 10111.0000m0170m.o1080ol0L8l2mNmHHlamlmCOCoHNlolHlCa/slLOlo×NlHsnHa1oOC0lsnlHo.0lsn0ol×nm7l1.7H3ClmsloNlanOH soln

37

สรปุ ผลการทดลอง

เมื่อทาการไทเทรตสารละลายตวั อย่าง ซึ่งเป็นสารละลายกรด
ไฮโดรคลอรกิ ดว้ ย สารละลายมาตรฐาน NaOH โดยใชโ้ บรโมไท
มอลบลูเป็นอนิ ดเิ คเตอรแ์ ล้วคานวณหาความเข้มขน้ พบวา่ ความ
เข้มขน้ ของสารละลายตวั อยา่ ง A เท่ากบั 0.0788 โมลตอ่ ลิตร

เฉลยแบบฝึกทกั หดั

แบบฝกึ หัด 39

การไทเทรตกรด-เบส

1. ในการไทเทรตสารละลายกรดในทรกิ (HNO3) ปริมาตร 25.0 มลิ ลลิ ิตร

พบวา่ ทาปฏิกริ ยิ าพอดีกบั สารละลายโพแทสเซยี มไฮดรอกไซด์ (KOH) 0.10

โมลต่อลติ รปริมาตร 20.0 มลิ ลิลติ รสารละลายกรดไนทริกมคี วามเข้มขน้

เทา่ ใด

จากสมการเคมี HNO3 =a=×=q=211201.00+.0.000m1m.0×180oKo00l−O1l2m3H0H5mlmK−N(oOomKa3OmllqOoHl3)lKHmHsONHooslOHNlonO3HlnN3/×O3L2K0N×sOom1l3nl010Ka0OqLHms+losolsnHlon2lnO(l)
จานวนโมลของ HNO3

ความเขม้ ข้นของ HNO3

ดงั นนั้ สารละลายกรดไนตรกิ เข้มข้น 0.080 โมลต่อลิตร

2. ในการไทเทรตสารละลายแอมโมเนยี (NH3) ปรมิ าตร 25.0 มลิ ลิลิตรกบั

สารละลายกรดไฮโดรคลอรกิ (HCI) 0.50 โมลตอ่ ลิตรโดยใชเ้ มทิลเรดเปน็

อินดเิ คเตอรป์ รมิ าตรสารละลายกรดไฮโดรคลอรกิ ทใี่ ช้เท่ากบั 32.40มิลลิลิตร

สารละลายแอมโมเนยี มความเข้มขน้ ร้อยละเท่าใดโดยมวลตอ่ ปริมาตร

ปฏิกริ ยิ าระหวา่ งสารละลาย NH3 กับสารละลาย HCl แสดงดงั สมการเคมี

คจาวนามวนเขโม้ มขล้นขขอองงNNHNH3H3(3a==q=)=+11××11..16.H6012%×1C×005l01(m.1g5am0mo0qom1−)Nllm−l2lH2oNsHmHo3mlHColC/on3HlmlllC×lNsNloHs1Hol30n3l0n××31N217H.4.04m04Collm(galNqN)HHH3C3l soln
ดงั นน้ั สารละลายแอมโมเนียเข้มข้นรอ้ ยละ 1.1 โยมวลต่อปรมิ าตร

แบบฝึกหัด 40

การไทเทรตกรด-เบส

3. กราฟของการไทเทรตระหว่างสารละลายกรดมอนอโปรตกิ สองชนดิ Xและ
Y มคี วามเข้มขน้ และปรมิ าตรเท่ากันกบั สารละลายโซเดียวไฮดรอกไซด์
(NaOH) เปน็ ดงั รูป

3.1 pH ท่จี ดุ สมมลู ของการไทเทรตสาร X และ Y มีคา่ เทา่ ใด
pH ท่จี ดุ สมมลู ของการไทเทรตสาร X มีค่าประมาณ 8
pH ท่จี ุดสมมลู ของการไทเทรตสาร Y มคี ่าประมาณ 6

3.2 จงเปรียบเทียบความแรงของกรด X และ Y
ความแรงของกรด Y มากกวา่ กรด X

3.3 ในการไทเทรตสารละลาย X ดว้ ยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ จะ
เลือกใชอ้ นิ ดิเคเตอรใ์ ดบ้าง จงึ จะบอกจดุ ยุติทใ่ี กล้เคยี งกับจดุ สมมลู

ในการไทเทรตกรด X ซึ่งเป็นกรดออ่ นด้วย NaOH ซง่ึ เป็นเบสแก่จะได้
ผลิตภณั ฑ์มสี มบัติเปน็ เบส เม่อื พิจารณาจากกราฟการไทเทรตพบวา่ ท่ีจุดสมมลู มี
pH ประมาณ 8 จึงควรเลอื กอินดเิ คเตอรท์ ่ีมชี ่วง pH การเปลยี่ นสีที่ใกลเ้ คยี งกับ
จุดสมมลู เชน่ ฟีนอลเรด(ชว่ ง pH การเปลย่ี นสีที่ pH 6.8–8.4) ครซี อลเรด
(ช่วง pH การเปลี่ยนสีท่ี pH 7.2–8.8)

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
และหลังเรียน

กระดาษคาตอบ 42

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น คะแนนทไี่ ด้ =

ข้อ ก ข คง
1x x
2 x
3x x x
4x x
5 x
6
7x คะแนนท่ไี ด้ =
8
9
10

แบบทดสอบหลงั เรียน

ขอ้ ก ข ค ง
1x
2x
3x
4x
5x
6x
7x
8x
9x
10 x


Click to View FlipBook Version