The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทที่ 1 ระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อารี พิทยาวงศ์ฤกษ์, 2019-06-05 21:06:53

บทที่ 1 ระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต

บทที่ 1 ระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต

วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต

หน่วยที่ 1 ระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต

นางอารพี ิทยาวงศฤ์ กษ์ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยฉี ะเชิงเทรา

1

บทท่ี 1 ระบบต่าง ๆ ของสง่ิ มีชวี ิต

สาระการเรียนรู้
สง่ิ มชี วี ติ (Organism) หมายถึง ส่ิงทม่ี ีตัวตน สามารถเคล่ือนท่ีได๎ ต๎องการอาหาร ต๎องการที่อยํู และ

สามารถทจ่ี ะสืบพนั ธ์ไุ ด๎ ต๎องใช๎พลังงานในการดารงชวี ติ สิ่งมีชวี ติ สํวนลักษณะของสงิ่ ไมํมีชีวติ จะตรงกนั ข๎ามกับ
สง่ิ มชี ีวิต

จดุ ประสงค์ทั่วไป
นกั เรยี นมคี วามร๎ูความเขา๎ ใจเกี่ยวกับความหมายของสงิ่ มชี ีวิต ความแตกตาํ งของสง่ิ มีชีวติ และไมํมีชวี ิต

การทางานของระบบตําง ๆ ของพืช การทางานของระบบตําง ๆ ของสตั ว์ และการทางานของระบบตาํ ง ๆ
ของมนุษย์

จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. บอกความหมายของส่งิ มชี ีวิตได๎
2. บอกความแตกตํางของสง่ิ มีชวี ติ และส่ิงไมมํ ีชวี ติ ได๎
3. สามารถอธบิ ายการทางานของระบบตําง ๆ ของพชื ได๎
4. สามารถอธิบายการทางานของระบบตําง ๆ ของสตั ว์ได๎
5. สามารถอธิบายการทางานของระบบตําง ๆ ของมนษุ ย์ได๎

ความหมายของสิ่งมีชีวิต
สิง่ มีชีวติ (Organism) หมายถึง สิ่งทม่ี ีตัวตน สามารถเคล่อื นท่ไี ด๎ ต๎องการอาหาร ต๎องการทีอ่ ยูํ และ

สามารถที่จะสบื พนั ธ์ไุ ด๎ ต๎องใช๎พลงั งานในการดารงชีวิตส่ิงมีชีวติ มลี กั ษณะทส่ี าคญั ดงั นี้
1. ตอ๎ งมกี ารเจรญิ เติบโต
2. เคลื่อนไหวได๎ด๎วยพลงั งานทีเ่ กิดขน้ึ ในรํางกาย
3. สบื พนั ธไ์ุ ด๎
4. สามารถปรบั ตวั ใหเ๎ ข๎ากบั สภาพแวดลอ๎ ม
5. ประกอบไปด๎วยเซลล์
6. มกี ารหายใจ
7. มีการขับถํายของเสยี
8. ต๎องกินอาหาร หรอื แรํธาตุตํางๆ

ความเเตกตา่ งสิ่งมชี ีวติ กับส่ิงไมม่ ีชวี ติ
ความแตกตํางของสิง่ มีชวี ิตกับสิ่งไมํมีชวี ิตส่งิ ตาํ งๆ ท่ีมอี ยํรู อบๆตวั เรามมี ากมาย เชนํ ต๎นไม๎ ผีเสือ้ สนุ ขั

แมว ดวงอาทติ ย์ ก๎อนเมฆ บ๎าน ถนน เป็นตน๎ สงิ่ เหลําน้จี าแนกเปน็ กลุํมใหญํได๎ ๒ กลํุม คือ สงิ่ มชี ีวิตและ
ส่ิงไมํมีชีวิตเราเคยสงสยั กันไหมคํะวํา ส่ิงมีชีวติ คืออะไร อะไรบ๎างท่จี ดั เป็นส่งิ มีชวี ติ ดงั ภาพที่ 1.1 และ 1.2

2

ภาพท่ี 1.1 ส่ิงไมํชีวิต ภาพที่ 1.2 ส่งิ มชี วี ติ

ลักษณะของส่งิ มีชีวิตคือ หายใจได๎ กนิ อาหารได๎ ขบั ถาํ ย เคล่ือนไหว ตอบสนองตํอสง่ิ ตํางๆ และมี
ลกั ษณะพเิ ศษเพม่ิ เติมอีกเชนํ มีการเจรญิ เตบิ โตสืบพนั ธุไ์ ด๎ สวํ นลกั ษณะของสงิ่ ไมํมชี ีวิตจะตรงกันข๎ามกับ
สิ่งมชี วี ติ ซึ่งแยกได๎อีก ๒ ชนดิ คอื ส่งิ ไมมํ ีชวี ิตตามธรรมชาติและสิง่ ไมมํ ีชีวติ ทค่ี นสร๎างข้นึ ดังภาพท่ี 1.3 และ 1.4

ภาพที่ 1.3 ส่งิ ไมํมชี วี ติ ตามธรรมชาติ ภาพที่ 1.4 ส่ิงไมํมชี ีวิตที่คนสรา๎ งขึน้

ระบบต่าง ๆ ของส่ิงมชี ีวิต
1. ระบบตําง ๆ ของพชื
2. ระบบตําง ๆ ของสัตว์
3. ระบบตาํ ง ๆ ของมนุษย์

1. ระบบตา่ ง ๆ ของพืช
ความหมายของพืช พืชมมี ากมายหลายชนิด พืชแตลํ ะชนดิ มลี ักษณะแตกตาํ งกันหลายประการถึงแม๎

พืชแตํละชนดิ จะมีลักษณะแตกตํางกัน แตพํ ืชเหลาํ นี้ก็มีลักษณะบางประการทเ่ี หมอื นกันดว๎ ย ดังนั้นจึงสามารถ
ใช๎ลกั ษณะท่ีเหมือนกนั ของพืช เป็นเกณฑใ์ นการจาแนกพชื เพ่ือทาให๎งํายตํอการศกึ ษาเก่ียวกับการดารงชวี ิต
ของพืช เราสามารถจาแนกพืชออกเป็น 2 พวกใหญํ ไดด๎ งั น้ี

3

1. พชื มดี อก คือ พชื ที่เจริญเติบโตเตม็ ท่แี ลว๎ มีสํวนของดอกสาหรับใช๎ในการผสมพันธ์ุ เพ่ือใหเ๎ กดิ เปน็
พืชตน๎ ใหมํ พืชมดี อกจัดเป็นพืชชนั้ สูง เพราะมสี วํ นประกอบสาคัญๆ คือ ราก ลาตน๎ ใบ ดอก ผล และเมลด็ เชํน
กหุ ลาบ กล๎วยไม๎ ชบา ทานตะวนั มะมวํ ง ชมพํู

2.พชื ไมมํ ดี อก หรอื พชื ไร๎ดอก คือ พชื ท่ีไมํมีดอกเลย ตลอดการดารงชีวิต ไมํวําจะเจรญิ เตบิ โตเต็มที่
แล๎วก็ตาม พชื จาพวกน้จี ึงไมํมีดอกสาหรับใช๎ในการผสมพันธุ์ แตํจะสบื พันธ์โุ ดยการสร๎างสปอร์ซง่ึ จะงอกเปน็ ตน๎
ใหมํได๎ เชํน เหด็ สน ปรง ผกั กดู ผักแวํน ดังภาพที่ 1.5

ภาพท่ี 1.5 โครงสร๎างภายนอกของพืช
ส่วนประกอบของพืช

พืชประกอบด๎วยอวัยวะทส่ี าคัญตอํ การดารงชีวิต ไดแ๎ กํ ราก ลาต๎น ใบ ดอก ผล และเมลด็ ซ่ึงอวัยวะ
แตํละสํวนของพชื นน้ั มีหนา๎ ท่ีและสวํ นประกอบแตกตํางกนั แตทํ างานเก่ียวข๎องและสัมพันธ์กนั หากขาดอวัยวะ
สํวนใดสํวนหนง่ึ ไป อาจทาให๎พืชนั้นผดิ ปกติหรอื ตายได๎ และยงั มีปจั จัยบางประการทจ่ี าเป็นตํอการเจรญิ เติบโต
ของพืช

1. ราก(Root) หมายถงึ อวยั วะของพชื ทเ่ี จริญมาจากรากแรกเกดิ (radicle) ของเอ็มบริโอภายในเมลด็
ปกตริ ากเจรญิ ลงในดนิ ในทิศทางตามแรงดงึ ดดู ของโลกรากไมํมขี ๎อและปล๎อง สํวนมากไมํมีสเี ขยี ว รากทาหน๎าที่
ยดึ พยงุ และค้าจุนลาตน๎ ใหต๎ ิดกบั พนื้ ดนิ ดูดน้าและอาหาร นาไปยงั สํวนตําง ของลาต๎นและใบ นอกจากนรี้ าก
ยงั เปลย่ี นแปลงรูปราํ งลกั ษณะไปทาหน๎าที่พเิ ศษอนื่ เชํน เก็บสะสมอาหาร ยดึ เกาะสังเคราะห์แสง รากจะ
ประกอบไปด๎วย

1.1 รากแก๎ว (primary root or tap root) เปน็ รากท่ีงอกออกมาจากเมลด็ โคนของรากแก๎ว
จะมขี นาดใหญแํ ลว๎ คํอยๆ เรยี วไปจนถึงปลายราก

4

1.2 รากแขนง (secondary root or lateral root) เปน็ รากท่แี ตกออกมาจากรากแกว๎ จะ
เจริญเตบิ โตขนานไปกับพนื้ ดิน และสามารถแตกแขนงไปไดเ๎ รือ่ ยๆ

1.3 รากทาหน๎าที่พิเศษ (adventitious root or modified root) หรือรากวสิ ามญั เป็นรากท่ี
มไิ ดม๎ ีกาเนิดจาก radicle และก็ไมํเป็นรากแขนงของ primary root จาแนกเป็นชนดิ ยอ่ ย ๆตามหน้าทีข่ องมนั เช่น

1.3.1 รากสะสมอาหาร (storage root or tuberous root) เปน็ รากทสี่ ะสมอาหาร
ในรูปของเมด็ แป้ง อาจสะสมอาหารไว๎ท่รี ากแก๎ว รากแขนงหรือรากพิเศษก็ไดท๎ าให๎รากอวบอ๎วน เชนํ รากของ
มันเทศ หวั ไชเท๎า หวั ผกั กาดหวาน แครอท เป็นต๎น หากเป็นรากท่มี ีลกั ษณะอว๎ นเรียว แตกออกจากบรเิ วณโคน
ต๎นเปน็ กระจุก และแตํละรากมีขนาดใกล๎เคยี งกันเรยี กรากชนดิ นว้ี าํ รากฟาสซิเคิล (fascicle root) เชนํ ราก
ฝอยของกระชาย ตอ๎ ยติง่ เป็นตน๎

1.3.2 รากฝอย (fibrous root) เปน็ รากเส๎นเล็ก ทโ่ี ตสม่าเสมอ งอกออกจากโคนตน๎
รอบรากแกว๎ ตอํ มารากแกว๎ จะตายไป รากฝอยจึงทาหน๎าท่ีดดู นา้ ธาตุอาหารและพยงุ ลาตน๎ แทนรากแก๎ว พบใน
พชื ใบเล้ยี งเดี่ยว เชนํ รากของข๎าวโพด มะพรา๎ ว เป็นต๎น

1.3.3 รากสงั เคราะห์แสง (photosynthetic root) รากชนิดน้ีมกั อยใูํ นอากาศ
(ariel root) จงึ เปน็ รากอากาศดว๎ ย รากมีคลอโรฟลิ ล์จงึ ทาหน๎าทส่ี งั เคราะหแ์ สงได๎ รากประเภทนีพ้ บได๎ในพืช
อิงอาศัย (epiphyte) เปน็ รากของพืชที่ไมํได๎เบยี ดเบยี นพืชใหอ๎ าศยั เชนํ รากของกลว๎ ยไม๎ ไทร เปน็ ตน๎ เม่ือราก
ไชลงไปในดนิ แลว๎ คลอโรฟลิ ล์ในสวํ นน้นั จะหายไป

1.3.4 รากยึดเกาะ (climbing root) เปน็ รากท่ีแตกตามขอ๎ ของลาตน๎ พบในพชื ทอด
เล้ือยสูงขน้ึ รากจึงทาหนา๎ ทีย่ ึดเกาะตามหลักให๎ลาต๎นทอดไปได๎ เชนํ รากของพลู พลูดํางพรกิ ไทย เปน็ ต๎น

1.3.5 รากชวํ ยพยงุ ใหล๎ อยน้า (vescicle) รากชนดิ นม้ี ลี ักษณะเป็นกระเปาะเล็กชํวย
พยุงให๎พชื ลอยนา้ ได๎ เชนํ รากของแพงพวยน้า เปน็ ตน๎

1.3.6 รากปรสติ (parasitic root) หรอื รากกาฝาก (haustoial root) เปน็ รากของ
พชื ที่งอกแทงลงไปบนพืชท่ใี ห๎อาศยั เพ่ือดูดสารอาหารจากพืชนั้น เชํน รากของประทดั ทอง กาฝาก ต๎นเต็ง

1.3.7 รากหายใจ (pneumatophore or aerating root)สํวนตําง ของพืชที่มชี ีวติ
ยํอมหายใจได๎ รวมท้ังรากด๎วย แตรํ ากหายใจนีท้ าหนา๎ ที่จะหายใจไดม๎ ากเปน็ พเิ ศษ รากชนิดนเี้ กดิ จากรากที่อยํู
ใต๎ดินงอกออกและต้ังตรงข้นึ มาเหนือดนิ ทาหนา๎ ท่ีชวํ ยในการหายใจ พบมากในพชื ชายเลน เชํน รากของโกงกาง
แสม ลาพู เปน็ ตน๎ โครงสรา๎ งภายในของรากเหลํานมี้ ีเซลล์พาเรงคิมา (parenchyma) ที่มชี อํ งวาํ งระหวํางเซลล์
จานวนมากเพ่ือให๎อากาศผาํ นเขา๎ สูํเซลล์ชัน้ ในของรากและสวํ นอนื่ สํวนรากทแี่ กจํ ะพบเน้ือเยื่อสีนา้ ตาลอํอนหุ๎ม
โดยรอบ มีลกั ษณะรูพรุน อุ๎มอากาศและน้าได๎ดี เรยี กโครงสรา๎ งนว้ี ํา วีลาเมน (velamen)

1.3.8 รากค้าจุน (prop root or stilt root) เปน็ รากที่งอกออกจากข๎อบรเิ วณสวํ น
โคนของลาต๎นเหนือดนิ และเจริญทแยงลงสดูํ นิ ทาหนา๎ ที่คา้ จุนลาต๎น รากจงึ มลี กั ษณะคล๎ายลวดยดึ เสาไฟฟา้
หรอื เสาวิทยุ เพื่อเพ่ิมความแข็งแรงใหแ๎ กํลาต๎น เชํน รากเตยหอมโกงกาง ขา๎ วโพด เปน็ ต๎น ดงั ภาพที่ 1.6

5

ภาพที่ 1.6 แสดงโครงสรา๎ งของราก

หน๎าทข่ี องราก มดี ังนี้
1. ยดึ (anchorage) ลาตน๎ ให๎ติดกบั พ้นื ดนิ
2. ดดู (absorption) นา้ และธาตุอาหารทล่ี ะลายน้าจากดนิ แล๎วลาเลียงขึน้ ไปยังสํวนตาํ งๆ

ของพชื โดยผํานทางลาตน๎ หรือกง่ิ
3. ลาเลยี ง (conduction) น้าและแรธํ าตุรวมทั้งอาหารซง่ึ พืชสะสมไว๎ในรากขน้ึ สูสํ ํวนตํางๆ

ของลาต๎น
4. แหลํงสรา๎ งฮอร์โมนรากเป็นแหลงํ สาคัญในการผลิตฮอร์โมนพชื หลายชนิด เชนํ ไซโทไคนิน

จิบเบอรเ์ รลลิน ซึ่งถกู ลาเลยี งไปใช๎ในการเจริญพฒั นาของสํวนลาต๎น สํวนยอด และสวํ นอ่ืน ๆ ของพืช
นอกจากน้รี ากยงั ทาหน๎าที่พิเศษหลายชนดิ เชํน สะสมอาหาร สังเคราะห์แสง ค้าจุน ยึดเกาะ หายใจ

เป็นตน๎

2. ลาต้น คือ อวัยวะของพืชที่โดยทว่ั ไปเจรญิ อยํูเหนือพน้ื ดินตํอจากราก มขี นาด รปู ราํ ง และลกั ษณะ
แตกตํางกันไป ลาตน๎ มีท้ังลาต๎นอยํเู หนือดนิ เชนํ มะละกอ มะมวํ ง มะนาว ชมพํู เปน็ ต๎น และลาตน๎ อยูํใต๎ดนิ
เชนํ ขิง ขาํ ขมน้ิ กลว๎ ย หญ๎าแพรก พุทธรักษา เป็นต๎นลาต๎นประกอบดว๎ ยสวํ นสาคญั 3 สํวน ดังนี้

2.1 ข๎อ เปน็ สํวนของลาต๎นบริเวณท่ีมีกง่ิ ใบหรือตางอกออกมา ลาต๎นบางชนิดอาจมดี อกงอก
ออกมาแทนกง่ิ หรือมีหนามงอกออกมาแทนก่ิงหรือใบ

2.2 ปล๎อง เป็นสํวนของลาต๎นทอี่ ยรํู ะหวาํ งข๎อแตลํ ะข๎อ
2.3 ตา เปน็ สวํ นประกอบทส่ี าคญั ของลาต๎น ทาใหเ๎ กิดกง่ิ ใบและดอก ตามีรปู รํางโคง๎ นูน หรอื
รูปกรวย ประกอบด๎วยตายอดและตาขา๎ ง
หนา๎ ทขี่ องลาตน๎ มีดังน้ี
1. เป็นแกนชํวยพยุงอวัยวะตํางๆ ได๎แกํ กง่ิ ใบ ดอก ผล และเมล็ด ชํวยใหใ๎ บกางออก รับ
แสงแดดเพื่อประโยชน์ในการสร๎างอาหาร โดยวธิ กี ารสังเคราะหด์ ว๎ ยแสง
2. เปน็ ทางลาเลียงนา้ และแรธํ าตทุ ่รี ากดดู ข้นึ มาสํงตํอไปยังใบและสวํ นตํางๆ ของพืช
3. เปน็ ทางลาเลยี งอาหารท่ใี บสร๎างขน้ึ สงํ ผํานลาตน๎ ไปยงั รากและสวํ นอืน่ ๆ
4. ลาต๎นของพืชทาหน๎าที่พิเศษตาํ งๆ อีก เชํน

6

4.1 ลาต๎นสะสมอาหาร เปน็ ลาต๎นทีท่ าหน๎าท่ีเป็นแหลงํ เกบ็ สะสมอาหาร จะมลี าตน๎
อยํูใต๎ดนิ เชํน ขงิ ขาํ ขม้ิน เผือก มันฝรัง่ เปน็ ต๎น

4.2 ลาตน๎ สงั เคราะหแ์ สง พืชบางชนิดมลี าต๎นเปน็ สเี ขยี วไว๎สาหรบั สรา๎ งอาหาร โดย
วิธกี ารสังเคราะหด์ ว๎ ยแสง เชํน กระบองเพชร พญาไร๎ใบ ผักบ๎ุง เป็นต๎น

4.3 ลาตน๎ ขยายพันธ์ุ เชํน โหระพา พลูดาํ ง โกสน คุณนายต่นื สาย ลีลาวดี เปน็ ตน๎
4.4 ลาต๎นเปลีย่ นไปเป็นมือพัน เพ่อื ชํวยพยงุ ค้าจุนลาต๎น เชํน บวบ ตาลึง น้าเตา๎
เปน็ ต๎น

3. ใบคือ อวัยวะของพชื ที่เจริญออกมาจากข๎อของลาต๎นและก่ิง ใบสวํ นใหญจํ ะมีสารสเี ขียวเรยี กวาํ
คลอโรฟิลล์ ใบมีรปู รํางและขนาดแตกตาํ งกันไปตามชนดิ ของพชื ใบประกอบดว๎ ย ก๎านใบ แผนํ ใบ เส๎นกลาง
และเส๎นใบนอกจากนใ้ี บของพืชยงั มีลกั ษณะอ่ืนๆ ทแ่ี ตกตาํ งกันอีก ไดแ๎ กํ

3.1ขอบใบ พชื บางชนดิ มีขอบใบเรียบ บางชนิดมีขอบใยหยัก
3.2ผวิ ใบ พชื บางชนิดมผี วิ ใบเรยี บเปน็ มัน บางชนิดมีผวิ ใบด๎านหรอื ขรุขระ
3.3สีของใบ พชื สวํ นใหญจํ ะมีใบสเี ขยี ว แตํบางชนิดมีใบสีอื่น เชํน แดง ส๎ม เหลอื ง เปน็ ต๎น
3.4เสน๎ ใบ เสน๎ ใบของพชื มีการเรยี งตวั ใน 2 ลกั ษณะ ได๎แกํ

1) เรียงตัวแบบรํางแห เชนํ ใบมะมวํ ง ตาลงึ อญั ชนั ชมพํู เป็นตน๎
2) เรียงตัวแบบขนาน เชํน ใบกลว๎ ย หญ๎า อ๎อย มะพร๎าว ข๎าว เป็นตน๎
ชนิดของใบ มีดังน้ี
1. ใบเดย่ี ว คือ ใบท่ีมแี ผนํ ใบเพยี งแผํนเดียวติดอยํูบนก๎านใบที่แตกออกจากก่งิ หรือลาต๎น เชนํ
ใบมะมวํ ง ชมพูํ กลว๎ ย ขา๎ ว ฟักทอง ใบเด่ียวบางชนดิ อาจมีขอบใบเวา๎ หยักลกึ เข๎าไปมากจนดคู ล๎ายใบประกอบ
เชํน ใบมะละกอ สาเก มนั สาปะหลงั เป็นต๎น
2. ใบประกอบ คือ ใบทีม่ ีแผํนใบแยกเป็นใบยอํ ยๆ หลายใบ ใบประกอบยังจาแนกยํอย ได๎
ดังน้ี
1) ใบประกอบแบบฝา่ มือ เป็นใบประกอบท่ีมีใบยํอยแตลํ ะใบแยกออกจากจดุ
เดยี วกันท่สี ํวนของโคนก๎านใบ พืชบางชนิดอาจมีใบยอํ ยสองใบ เชํน มะขามเทศ หรือสามใบ เชนํ ยางพารา
ถว่ั เหลือง ถัว่ ฝกั ยาว บางชนิดมีส่ีใบ เชํน ผักแวนํ หรือมากกวําสีใบ เชนํ ใบนํุน หนวดปลาหมึก ใบยํอยดงั กลําว
อาจมกี ๎านใบหรอื ไมํมีก็ได๎
2) ใบประกอบแบบขนนก เป็นใบประกอบท่ีใบยอํ ยแตลํ ะใบแยกออกจากก๎านสอง
ขา๎ งของแกนกลางคล๎ายขนนก ปลายสุดของใบประกอบอาจมใี บยอํ ยใบเดยี ว เชํน ใบกหุ ลาบ หรืออาจมีใบยอํ ย
สองใบ เชนํ ใบมะขาม
หนา๎ ทีข่ องใบ มดี งั นี้
1. สร๎างอาหาร ใบของพชื จะดูดแกส๏ คารบ์ อนไดออกไซด์เพื่อนาไปสรา๎ งอาหาร เรยี ก
กระบวนการสรา๎ งอาหารของพืชวาํ การสังเคราะหด์ ว๎ ยแสง
2. คายนา้ พืชคายน้าทางปากใบ
3. หายใจ ใบของพืชจะดดู แก๏สออกซิเจนและคายแก๏สคาร์บอนไดออกไซด์

7

4. ใบยังอาจเปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหนา๎ ที่พเิ ศษอนื่ ๆ เชนํ
4.1สะสมอาหาร เชํน ใบวํานหางจระเข๎ กลีบของกระเทียม และหัวหอม เปน็ ต๎น
4.2ขยายพนั ธุ์ เชํน ใบควา่ ตายหงายเป็น ใบเศรษฐีพนั ล๎าน เปน็ ตน๎
4.3ยึดและพยงุ ลาตน๎ ให๎ไตํขึ้นทส่ี ูงได๎ เชํน ใบตาลงึ ใบมะระ และถวั่ ลนั เตา เป็นตน๎
4.4 ลํอแมลง เชํน ใบดอกของหน๎าวัว ใบดอกของเฟื่องฟา้ เปน็ ตน๎
4.5ดกั และจับแมลง ทาหน๎าที่จบั แมลงเป็นอาหาร เชํน ใบหมอ๎ ข๎าวหม๎อแกงลงิ ใบ

กาบหอยแครง เป็นตน๎
4.6ลดการคายนา้ ของใบ เชนํ ใบกระบองเพชรจะเปล่ยี นเป็นหนามแหลม เปน็ ตน๎

4. ดอกคอื อวยั วะสืบพนั ธขุ์ องพืช ทาหน๎าทีส่ ืบพนั ธุ์แบบอาศยั เพศ ทีเ่ กิดมาจากตาชนดิ ตาดอกท่ีอยํู
ตรงบริเวณปลายยอด ปลายกิ่ง บรเิ วณลาตน๎ ตามแตํชนิดของพืช ดอกประกอบดว๎ ยสํวนตํางๆ 4 สวํ น แตลํ ะ
สํวนจะเรียงเป็นชนั้ เป็นวงตามลาดับจากนอกสุดเข๎าสดํู ๎านใน คือ กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู๎ และเกสร
เพศเมยี ดังน้ี

4.1 กลบี เลีย้ งเป็นสํวนของดอกทีอ่ ยํูชัน้ นอกสดุ เรียงกนั เปน็ วง เรียกวาํ วงกลีบเลย้ี ง สํวนมาก
มีสีเขียว เจริญเปลยี่ นแปลงมาจากใบ ทาหน๎าท่ีป้องกนั อันตรายตาํ งๆ จากส่ิงแวดล๎อม แมลงและศัตรอู ่ืนๆ ทจ่ี ะ
มาทาอันตรายในขณะทีด่ อกยังตมู อยํู นอกจากนยี้ งั ชํวยในการสงั เคราะห์ดว๎ ยแสง จานวนกลบี เลีย้ งในดอกแตํ
ละชนิดอาจไมเํ ทาํ กัน ดอกบางชนิดกลบี เลี้ยงจะติดกันหมดต้ังแตโํ คนกลีบจนเกอื บถงึ ปลายกลีบ มลี กั ษณะ
คล๎ายถ๎วยหรือหลอด เชํน กลีบเล้ียงของดอกชบา แตง บานบรุ ี แค บางชนดิ มีกลีบเลีย้ งแยกกนั เปน็ กลีบๆ เชํน
กลีบเล้ยี งของดอกบัวสาย พุทธรักษา กลบี เลี้ยงของพืชบางชนดิ อาจมีสีอนื่ นอกจากสเี ขยี ว ทาหน๎าที่ชวํ ยลํอ
แมลงในการผสมเกสรเชนํ เดยี วกบั กลีบดอก

4.2 กลีบดอก เปน็ สํวนของดอกท่ีอยํูถัดจากกลบี เลย้ี งเขา๎ มาข๎างใน มสี ีสนั ตํางๆ สวยงาม เชํน
สีแดง เหลือง ชมพู ขาว มกั มีขนาดใหญํกวาํ กลีบเลี้ยง บางชนดิ มกี ลิน่ หอม บางชนิดตรงโคนกลบี ดอกจะมีตอํ ม
นา้ หวานเพ่ือชวํ ยลํอแมลงมาชํวยผสมเกสร

4.3 เกสรเพศผ๎ู เป็นสํวนของดอกที่อยูํถัดจากกลบี ดอกเข๎ามาขา๎ งใน ประกอบด๎วยกา๎ นชู
อบั เรณู ซง่ึ ภายในบรรจลุ ะอองเรณมู ลี ักษณะเปน็ ผงสีเหลอื ง อบั เรณูทาหนา๎ ที่สร๎างละอองเรณู ภายในละออง
เรณู มีเซลลส์ ืบพนั ธุเ์ พศผู๎

4.4 เกสรเพศเมยี เปน็ สวํ นของดอกทีอ่ ยูํชน้ั ในสดุ ประกอบด๎วยยอดเกสรเพศเมยี ก๎านยอด
เกสรเพศเมยี รงั ไขํ ออวุล และเซลลไ์ ขํ

ชนดิ ของดอก พจิ ารณาจากสํวนประกอบเป็นเกณฑ์ จะจาแนกดอกเป็น 2 ประเภท ได๎แกํ
1. ดอกสมบรู ณ์ คอื ดอกท่ีมสี ํวนประกอบครบ 4 สวํ น ไดแ๎ กํ กลบี เลย้ี ง กลีบดอก เกสรเพศผ๎ู

และเกสรเพศเมยี เชนํ ดอกชบา ดอกกหุ ลาบ ดอกอัญชัน เปน็ ต๎น
2. ดอกไมํสมบรู ณ์ คือ ดอกท่ีมสี ํวนประกอบไมํครบ 4 สํวน เชํน ดอกหน๎าวัว ดอกตาลึง ดอก

ฟกั ทอง ดอกมะละกอ เปน็ ต๎น

8

ชนิดของดอกถา๎ พจิ ารณาเกสรของดอกที่ทาหนา๎ ทีส่ ืบพันธ์ุเป็นเกณฑ์ จะจาแนกดอกเปน็ 2 ประเภท
ไดแ๎ กํ

1. ดอกสมบรู ณ์เพศ คอื ดอกท่ีมีเกสรเพศผ๎ูและเกสรเพศเมียอยํูในดอกเดยี วกนั เชํน ดอกชบา
ดอกมะมวํ ง ดอกตอ๎ ยติ่ง ดอกอญั ชญั ดอกมะเขือ เป็นตน๎

2. ดอกไมํสมบูรณ์เพศ คือ ดอกทมี่ ีเกสรเพศผู๎หรือเกสรเพศเมียอยูภํ ายในดอกเพียงเพศเดียว
ดอกท่มี ีเกสรเพศผ๎ูอยํางเดียว เรยี กวาํ ดอกเพศผู๎ และดอกท่ีมเี กสรเพศเมยี อยํางเดียว เรียกวํา ดอกเพศเมีย
เชนํ ดอกฟักทอง ดอกบวบ ดอกตาลงึ ดอกมะละกอ เป็นต๎น

ชนดิ ของดอกถ๎าพิจารณาจานวนดอกท่ีเกิดจากหนึ่งกา๎ นดอกเป็นเกณฑ์ จะจาแนกดอก
ออกเปน็ 2 ประเภท

1. ดอกเด่ียว คือดอกท่ีเกดิ ขน้ึ บนกา๎ นดอก เป็นดอกเดียวโดดๆ เชนํ ดอกจาปี ดอกชบา
เปน็ ต๎น

2. ดอกชอํ คือดอกท่ีเกิดเป็นกลมํุ บนก๎านดอก ประกอบดว๎ ยดอกยํอยหลายดอกแตํละดอก
ยํอยมีก๎านดอกยํอยอยบูํ นกา๎ นดอก เชนํ ดอกหางนกยูง ดอกกลว๎ ยไม๎ ดอกทานตะวนั ดอกกระถนิ ณรงค์
เป็นต๎น

5. ผล (Fruit)หมายถึง รงั ไขํท่ีได๎รับการปฏสิ นธิ (fertilization) แลว๎ เจริญเตบิ โตเตม็ ท่ีอาจจะมี
บางสํวนของดอกเจริญข้นึ มาด๎วย เชํน ฐานรองดอก หรอื กลีบเลีย้ ง ภายในผลมีเมล็ดได๎ตั้งแตํหน่ึงเมลด็ ถึงหลาย
เมล็ดหรือไมมํ ีเมล็ดกไ็ ด๎ ผลอาจจะเกดิ จากรังไขํท่ีไดร๎ บั หรือไมไํ ด๎รบั การผสมเกสรก็ได๎ ผลทไี่ มํมีเมลด็ เรียกวาํ
พารท์ โี นคารป์ ิคฟรตุ (partinocarpic fruit)

5.1 สํวนประกอบของเนื้อผล (pericarp) เป็นสวํ นทเี่ จริญเปลีย่ นแปลงมาจากผนงั รังไขผํ ลแตํ
ละชนดิ มีเนอ้ื ผล หนาหรอื บางตํางกัน โดยทัว่ ไปเน้ือผลประกอบดว๎ ยเน้ือเยอื่ 3 ชน้ั ไดแ๎ กํ

5.1.1เนื้อผลชัน้ นอก (exocarp or epicarp) เป็นช้ันผวิ นอกสดุ ของผล ผลบางชนดิ มี
เปลอื กบางหรืออํอน เชํน ผลของมะปราง มะมํวง องํุน เป็นต๎น แตํผลบางชนดิ ผวิ ชั้นนอกแข็งและเหนียว เชํน
ผลของมะขวิด มะตมู กระเบา ฟักทอง เป็นต๎น

5.1.2เนอ้ื ผลชั้นกลาง (mesocarp) เน้อื ผลชั้นนโี้ ดยทัว่ ไปมักมเี นอื้ นุํม เชํน ผลของ
มะมวํ ง มะปราง เปน็ ต๎น บางชนิดเนอ้ื ผลเปน็ เสน๎ ใยเหนียวพบในผลของพืชวงศ์ปาลม์ เชนํ ผลของมะพรา๎ ว ตาล
จาก เป็นตน๎

5.1.3เนือ้ ผลชน้ั ใน (endocarp) เนือ้ ผลช้นั นโ้ี ดยทั่วไปมกั มีออํ นนํุม เชํน ผลของส๎ม
มะนาว เป็นตน๎ แตํเนื้อผลชน้ั ในอาจมีลักษณะแขง็ เชํน ผลของมะมํวง มะปราง และกะลามะพร๎าว เปน็ ตน๎
ดังภาพท่ี 1.7

9

ภาพที่ 1.7 สวํ นประกอบของผล (ทมี่ า; จาก Stern, 1987)
5.2 ชนิดของผล (kind of fruit) ชนดิ ของผลถา๎ พจิ ารณาของจานวนดอกและคาร์เพลวาํ เชื่อมติดกัน
หรอื แยกจากกันเป็นอสิ ระ สามารถจาแนกชนดิ ของผลไดเ๎ ป็น 3 ประเภท ไดแ๎ กํ

5.2.1 ผลเด่ียว (simple fruit) หมายถงึ ชนิดของผลท่ีเกิดจากดอกเดยี วทเี่ กสรตัวเมียมคี าร์
เพลเดยี ว หรือหลายคาร์เพลท่เี ชอื่ มติดกัน เชํน ผลของ ทเุ รยี น มะมวํ ง มงั คุด เปน็ ต๎น

5.2.2 ผลกลุมํ (aggregate fruit) หมายถึง ผลท่ีเกิดจากดอกเดียวที่มหี ลายคารเ์ พลแยกจาก
กนั แตํละคารเ์ พลจะเกดิ เปน็ ผลยอํ ย เชนํ ผลของจาปี จาปา การเวก กระดังงาน๎อยหนํา โมก รกั เปน็ ตน๎

5.2.3 ผลรวม (multiple fruit, composite fruit, collectice fruit or compound fruit)
หมายถึง ชนิดของผลทเ่ี กิดจากดอกยํอยหลายดอกในชอํ ดอกเดยี วกันเจรญิ เชื่อมตดิ กนั เจรญิ เป็นผลเดยี่ ว เชํน
ผลของขนนุ มะเดื่อโพธไ์ิ ทร สับปะรด ขา๎ วโพด ยอ เป็นต๎น

หากพิจารณาลักษณะเฉพาะของเนอื้ ผล พบวําเน้อื ผลบางชนดิ มลี กั ษณะอํอนนํุมบางชนดิ มี
ลักษณะแห๎งและแข็ง หรือลักษณะอนื่ อีกมากจึงจาแนกประเภทของผลออกได๎ 2 ประเภท ดังน้ี

1. ผลสด (fleshy fruit) หมายถึง ผลท่ีแกํแลว๎ มเี นื้อผลสดไมแํ ห๎งมีหลายประเภทดังน้ี
1.1 ดรพู (drupe) หมายถงึ ผลทม่ี ีเนื้อผลชั้นนอกอํอนนมุํ และบาง เนอ้ื ผลชั้นกลาง

ออํ นนุํม สวํ นเนอ้ื ผลช้นั ในแข็งหรอื เหนยี วห๎ุมเมลด็ ผลชนดิ นี้มเี มล็ดเดียว เชํน ผลของมะมํวง มะกอก พุทรา
มะปราง เปน็ ต๎น ผลประเภทน้ี อาจเรยี กวาํ สโตนฟรตุ (stone fruit) หรอื ไพรนี ฟรุต (pyrene fruit)

1.2 เบอรร์ ี (berry) หมายถงึ ผลทีม่ ีเนื้อผลสดทงั้ สามช้ัน เมื่อผลแกํแลว๎ ไมํแตกและ
มีหลายเมล็ด สํวนมากเมล็ด ฝังอยใูํ นเนื้อนํุม เชํน ผลมะเขือเทศ องุนํ มะเขือพวง มะเขือเปราะ มะเขอื ขน่ื
เป็นตน๎

10

1.3 แบคแคท (baccate) หมายถึง ผลทม่ี ีเปลือกบางและเหนยี ว มกั มเี มล็ดมากและ
เปน็ ผลทเ่ี กดิ จากอนิ ฟีเรียโอวารี เชนํ ผลของกล๎วย เป็นตน๎

1.4 เพพโพ (pepo) หรอื ก๎ดู (gourd) หมายถึง ผลทม่ี ผี นังช้ันนอกแขง็ หรอื เหนียว
คลา๎ ยแผนํ หนัง (leather) ซง่ึ เจริญมาจากฐานรองดอก สวํ นเนือ้ ผลชั้นกลางและชัน้ ในมเี นื้ออํอนนมํุ และมีเมล็ด
มาก เชนํ ผลของพืชในวงศ์แตงโม (family Cucurbitaceae)

1.5 โพม (pome) หรอื ซโู ดคาร์พ (pseudocarp) หมายถึง ผลท่มี ีเน้ือผลบางอํอนนํุม
และฐานรองดอกเจริญเป็นเน้ือของผลแทน ดังนน้ั ผลที่แท๎จรงิ จะฝงั อยภูํ ายในฐานรองดอกท่เี จรญิ เตม็ ท่ี เชํน ผล
แอบเปลิ แพร์ สาลี่ เปน็ ต๎น

1.6 เฮสเพอรเิ ดียม (hesperidium) หมายถึง ผลทม่ี ีเนื้อผลและตอํ มน้ามัน
จานวนมาก ผลเจริญมาจากรังไขแํ บบซูพีเรียโอวารที ่ปี ระกอบดว๎ ยหลายคาร์เพลเชื่อมตดิ กนั เชนํ ผลของพืช
สกุลสม๎ (Citrus)

2. ผลแห๎ง (dry fruit) หมายถึง ผลทเ่ี มื่อแกํแล๎วเนอ้ื ผลกลายเปน็ เปลือกแขง็ และแห๎ง มีหลาย
ประเภทดังน้ี

2.1 ผลแหง๎ ทไ่ี มํแตก (indehiscent dry fruit) หมายถงึ ผลเมอ่ื แกํแลว๎ ผลแห๎ง
ไมแํ ตก จาแนกได๎ดังน้ี

2.1.1 อะคีน (achene) หมายถงึ ผลท่มี ขี นาดเล็กผลแหง๎ และเนอ้ื บางมี
เพยี ง 1 เมล็ด สวํ นของเน้ือผลกับเปลือกหุม๎ เมลด็ ไมเํ ช่อื มติดกัน เชนํ ผลของบวั เปน็ ตน๎

2.1.2 ซพี ซีลา (cypsela) หมายถงึ ผลท่ีมีลกั ษณะคล๎ายอะคนี แตเํ กิดจาก
อินฟีเรียโอวารี เชํน ผลของทานตะวนั เป็นตน๎

2.1.3คาริออพซสิ (caryopsis) หมายถึง ผลทมี่ ีขนาดเล็กเพียง 1 เมลด็ สวํ น
ของเน้ือผลกบั เปลือกหุม๎ เมล็ดเชอ่ื มติดกนั ไมสํ ามารถแยกออกจากกันได๎อยํางเดํนชัด เชนํ ผลของพืชในวงศ์
หญ๎า

2.1.4 นทั (nut) หมายถงึ ผลทมี่ ีเปลือกแข็งและผวิ มันคลา๎ ยแผํนหนังเป็น
ผลทีเ่ กดิ จากรงั ไขํทมี่ หี ลายคารเ์ พลเช่ือมติดกนั แตํมีเมล็ดเดียว เชํน ผลของมะมํวงหมิ พานต์ มะพร๎าว กระจับ
เป็นตน๎

2.1.5 เอคอร์น (acorn) หมายถึง ผลแบบนทั ท่มี ีคูพูลมาห๎ุมผลทั้งหมดหรอื
บางสํวน เชํน ผลของพืชในวงศ์กํอ

2.1.6 ซามารา (samara) หมายถึง ผลคลา๎ ยอะคนี แตเํ นอ้ื ผลชัน้ นอกเจรญิ
ยน่ื ออกเป็นปกี อาจมีปีกเดยี วหรือมากกวํา เชนํ ผลของประดูํ สนทะเล สนประดิพทั ธ์ เปน็ ตน๎

2.1.7 ซามารอยด์ (samaroid) หมายถึง ผลแบบนทั ท่มี สี วํ นของกลบี เล้ยี ง
เจริญขน้ึ มาเป็นปีก เชนํ ผลของยางนา เหยี ง พลวง เตง็ รงั รกั ใหญํ เปน็ ตน๎

2.1.8 ชโิ ซคารพ์ (schizocarp) หมายถงึ ผลทเ่ี จรญิ มาจากรังไขํท่ีมาหลาย
คาร์เพลเชื่อมกัน เม่ือคารเ์ พลเจรญิ เตม็ ที่แล๎วคาร์เพลจะแยกจากกนั แตลํ ะคาร์เพลเรยี กวํา เมอรคิ าร์พ ซึง่
ภายในมีเมลด็ อยํู เชํน ผลของตน๎ ครอบจักรวาล เปน็ ต๎น

11

2.2 ผลแหง๎ ที่แตก (dehiscent dry fruit) หมายถึง ผลเมือ่ แกํแล๎วเนอื้ ผลแห๎งและ
แตกออกจากกัน มีหลายชนดิ ดงั น้ี

2.2.1 ฟอลลิเคิล (follicle) หมายถึง ผลท่เี กิดจากดอกท่ีมีคารเ์ พลเดียวหรือ
หลายคารเ์ พลแยกจากกนั แตํเมอ่ื ผลแกจํ ะแตกเพยี งตะเขบ็ เดยี ว ในกรณผี ลยํอยในผลกลํุมจะเรยี กแตลํ ะผล
ยอํ ยวํา ฟอลลเิ ซลตัม (folliceltum) เชํน ผลของจาปา จาปี รักเป็นต๎น

2.2.2 ซลิ ิค (silique) หมายถึง ผลที่เจรญิ มาจากรังไขํทมี่ ี 2 คารเ์ พล เม่ือผล
แกํเนอ้ื ผลแตกตามยาวจากดา๎ นลํางไปทางด๎านบนแบํงออกเปน็ 2 ซีก เมลด็ ตดิ อยูํแนวกลางของผล (central
false septum or replum) ซง่ึ หลุดออกมาจากเปลือกท้ังสองด๎าน เชนํ ผลของผกั เส้ยี น ผลของพชื ในวงศผ์ ัก

2.2.3 ซิลคิ เคลิ (silicle) หมายถงึ ผลท่มี ลี กั ษณะเชํนเดียวกับซลิ ิคแตมํ ีขนาด
เล็กไมเํ กินสองเทาํ ของความกว๎าง

2.2.4 เลกกูม (legume) หมายถึง ผลทีเ่ กิดจากดอกทม่ี ีคาร์เพลเดยี ว
ผลแกํจะแตกออกสองตะเข็บ ผลชนดิ น้ีมกั เรียกท่ัวไปวาํ ฝัก เชํน ผลของกระถินหางนกยูงฝรัง่ แดง เป็นต๎น

2.2.5 โลเมนต์ (loment) หรอื โลเมนตัม (lomentum) หมายถงึ ผลแบบ
เลกกมู แตมํ รี อยคอดรอบฝักเปน็ ชํวง หรือเป็นขอ๎ ผลแกํจะหักบริเวณนี้ในแตลํ ะชวํ งหรอื ขอ๎ มี 1 เมลด็ เชํนผล
ของพฤกษ์ ไมยราพ นนทรี เป็นตน๎

2.2.6 ครโี มคารพ์ (cremocarp) หมายถึง ผลมีขนาดเล็กมี 2 เมล็ดเม่ือผล
แกํและแตกออกเมล็ดจะแยกจากกนั ไปคนละขา๎ งโดยมีก๎านของผล (carpophore) เสน๎ เลก็ ยดึ ไวด๎ ๎วยกนั เชนํ
ผลของยหี่ รํา บวั บก เป็นตน๎

2.2.7 แคปซลู (capsule) หมายถงึ ผลที่เกิดจากดอกท่ีมีรงั ไขํท่ีมีหลายคาร์
เพลเช่อื มกัน เมือ่ ผลแกจํ ะแตกไดห๎ ลายแบบ ได๎แกํ

1) เซพติซดิ อลแคปซูล (septicidal capsule) เปน็ ผลทแ่ี ตก
ตามยาวตามผนงั คารเ์ พล เชํน ผลของกระเชา๎ สีดา เปน็ ตน๎

2) ลอคคูลซิ ิดอลแคปซูล (loculicidal capsule) เปน็ ผลที่มีรอย
แตกระหวํางลอคคูล เชํน ผลของทรยี น ฝ้าย พุดตาน ตะแบก เป็นตน๎

3) เซฟตริฟรากอลแคปซูล (septifragal capsule) เปน็ ผลท่มี ีรอย
แตกระหวาํ งลอคคูล แตํเมลด็ ยงั คงตดิ อยํูทแ่ี กนกลางของผลเชํน ผลของ Epidendrum sp. เป็นต๎น

4) พอริซิดอลแคปซลู (poricidalcapsule) เปน็ ผลทมี่ รี อยเปิดเปน็
รใู กลย๎ อดของผล เชํน ผลของฝน่ิ เปน็ ต๎น

5) เซอร์คมั ซิสไซล์แคปซูล (circumscissile capsule) เป็นผลที่แกํ
แลว๎ มรี อยแตกรอบตามขวาง คล๎ายเปดิ เปน็ ฝา ภายในมีเมล็ดจ านวนมาก หรอื อาจจะเรียกผลชนดิ นี้วาํ ไพซสี
(pyxis) เชํน ผลของหงอนไกํ เปน็ ต๎น

6) อทู รเิ คิล (utricle) เป็นผลท่ีมลี ักษณะคล๎ายผอบ และมีลักษณะ
การแตกของผลแบบเซอร์คมั ซิสไซล์แคปซูล แตผํ นงั บางกวําและภายในมีเมลด็ เดยี ว เชนํ ผลของบานไมรํ ๎โู รย
เป็นต๎น

12

6 เมล็ด (Seed)เมลด็ หมายถงึ ออวุลท่ไี ดร๎ ับการปฏิสนธิและเจรญิ เตบิ โตเต็มท่ี เมล็ดประกอบดว๎ ย
สํวนตาํ ง ดังนี้

6.1 เปลอื กห๎มุ เมลด็ (seed coat) เป็นสํวนที่ปอ้ งกันสํวนประกอบภายในของเมล็ดไมํให๎ได๎รบั
อนั ตราย เปลอื กหมุ๎ เมล็ดเจริญมาจากผนังของออวุล เปลอื กห๎ุมเมล็ดมีสองชั้นประกอบด๎วย

6.1.1 เปลือกเมล็ดช้นั นอก (testa or sclerotesta) เปลอื กช้ันนอกนี้มักจะหนาและ
แข็ง เปลยี่ นแปลงมาจากผนงั ออวุลชนั้ นอก

6.1.2 เปลือกเมลด็ ช้ันใน (tegment or sacrotesta) เปลือกชั้นในนี้มักจะเปน็ เยื่อ
บาง เปลย่ี นแปลงมาจากผนงั ออวลุ ชั้นใน

6.2 เอนโดสเปริ ม์ (endosperm) เป็นอาหารสะสมสาหรับต๎นอํอน ในพืชมีบางชนิดเก็บสะสม
อาหารในสวํ นอืน่ ไมํได๎เกบ็ ไวใ๎ นเอนโดสเปริ ์ม เอนโดสเปริ ์มเกดิ จากโพลารน์ วิ คลีไอ (polar nuclei) รวมกับ
สเปริ ม์ เมล็ดพืชบางชนดิ ไมเํ ก็บอาหารสะสมไว๎ในเอนโดสเปริ ม์ (exalbuminous seed) เชนํ เมล็ดถัว่ เป็นต๎น
แตเํ มลด็ พชื บางชนิดจะเกบ็ อาหารไวใ๎ นเอนโดสเปิรม์ (albuminous seed) เชนํ เมล็ดของละหงํุ เป็นตน๎

6.3 เอ็มบรโิ อ เกิดจากการผสมของไขํกบั สเปริ ์ม เอม็ บริโออยใูํ นเมลด็ ประกอบดว๎ ยสวํ นตาํ ง ๆ
ดังน้ี

6.3.1 ใบเล้ียง (cotyledon) เป็นโครงสร๎างทม่ี ลี ักษณะคล๎ายใบ พืชใบเลย้ี งคูํมใี บ
เล้ียงสองใบ พืชใบเลีย้ งเด่ียวมีใบเลยี้ งใบเดียว ใบเลย้ี งบางชนิดสะสมอาหารแทนเอนโดสเปริ ม์

6.3.2 ลาตน๎ เหนือใบเลี้ยง (epicotyl) เปน็ สํวนของเอ็มบรโิ อท่ีอยํูเหนือใบเลยี้ งท่ีจะ
เปลีย่ นแปลงไปเปน็ ลาต๎นและใบ

6.3.3 ลาตน๎ ใต๎ใบเลยี้ ง (hypocotyl) เป็นสวํ นของลาต๎นที่อยํใู ตใ๎ บเลยี้ ง สํวนนีเ้ จริญ
ไมดํ ี

6.3.4 รากแรกเกิด (radicle) เปน็ สํวนทจ่ี ะเจริญไปเปน็ รากแก๎ว
6.3.5 ยอดแรกเกดิ (plumule) เป็นสวํ นทีจ่ ะเจริญไปเปน็ ลาต๎นลักษณะภายนอก
ของเมลด็ เมอื่ ศึกษาเปลอื กเมล็ดจะพบลักษณะของเมลด็ ดงั นี้

1) ไฮลัม (hilum) เปน็ รอยแผลท่ีเปลอื กหม๎ุ เมล็ด ซงึ่ เกดิ จากการหลดุ ออก
ของกา๎ นออวลุ

2) ราฟี (raphe) เปน็ รอยสนั นนู ท่ีผวิ ของเมลด็ เกิดจากกา๎ นของออวุลแผํ
ออกจบั กบั เปลือกห๎ุมเมลด็

3) ไมโครไพล์ (micropyle) เป็นรูขนาดเล็กทเ่ี หน็ จากภายนอก ทะลเุ ขา๎ ไป
ในเมลด็ ดงั ภาพท่ี 1.8

13

ภาพที่ 1.8 สํวนประกอบของเมล็ด

การเจริญเตบิ โตของพืชปจั จัยตํอการเจริญเติบโตของพชื
การเจรญิ เติบโตของพชื ตอ๎ งการปัจจัยหลายประการทส่ี าคัญ คอื น้า แสง ธาตอุ าหารตํางๆ

พืชเป็นส่ิงมีชวี ติ มีการเจรญิ เติบโตและดารงชีวิตอยํูไดย๎ อํ มต๎องการ สง่ิ แวดล๎อมที่เหมาะสม สภาพของ
ส่ิงแวดล๎อมตาํ งๆ ทม่ี ีผลตํอการเจรญิ เติบโตของพืช ได๎แกํ

1. ดิน เป็นปัจจัยสาคัญอันดบั แรก ดินท่เี หมาะสมตํอการเจรญิ เติบโตของพชื ตอ๎ งเปน็ ดินท่ีอุ๎มนา้ ไดด๎ ี
รวํ นซยุ มีอนิ ทรยี ว์ ตั ถมุ าก แตํเมือ่ ใช๎ดนิ ปลูกไปนานๆ ดินอาจเสือ่ มสภาพ เชํน หมดแรธํ าตุ จาเปน็ ต๎องมีการ
ปรบั ปรุงดนิ ใหอ๎ ุดมสมบูรณ์ ไดแ๎ กํ การไถพรวน การใสปํ ุ๋ย การปลกู พืชหมุนเวยี น เป็นต๎น

2. น้า มีความสาคัญตํอการเจรญิ เติบโตของพืชมาก นา้ ชวํ ยละลายแรํธาตอุ าหารในดนิ เพ่ือให๎รากดูด
อาหารไปเลย้ี งสํวนตํางๆ ของลาตน๎ ได๎ และยังชวํ ยให๎ดนิ มีความชุมํ ชน้ื พืชสดชนื่ และการทางานของ
กระบวนการตํางๆ ในพืชเปน็ ไปอยาํ งปกติ

3. ธาตุอาหารหรือปุ๋ย เป็นสง่ิ ท่ีชวํ ยใหพ๎ ชื เจริญเติบโต ดียงิ่ ขนึ้ ธาตอุ าหารท่จี าเป็นตํอการเจรญิ เติบโต
ของพชื มี 16 ธาตุ แตธํ าตุท่พี ืชต๎องการมากและในดินมักมีไมํเพียงพอ คือ ธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรสั และ
โพแทสเซียม ธาตุอาหารเหลํานี้จะต๎องอยใูํ นรูปสารละลายท่ีพืชนาไปใช๎ไดแ๎ ละต๎องมีปรมิ าณ ทพ่ี อเหมาะ จงึ จะ
ทาให๎การเจรญิ เตบิ โตของพชื เป็นไปดว๎ ยดี แตํถ๎ามไี มํเพียงพอตอ๎ งเพ่ิมธาตุอาหารให๎แกํพชื ในรปู ของปยุ๋

4. อากาศ ในอากาศมแี กส๏ หลายชนิด แตํแกส๏ ที่พืชต๎องการมากคือ แกส๏ คารบ์ อนไดออกไซดแ์ ละแก๏ส
ออกซิเจน ซงึ่ ใชใ๎ นการสงั เคราะหด์ ๎วยแสงเพ่ือสร๎างอาหารและหายใจ แก๏สทั้งสองชนดิ นี้มีอยูํในดินดว๎ ย ในการ
ปลูกพืชเราจงึ ควรทาให๎ดินโปรงํ รํวนซยุ อยํูเสมอ เพื่อให๎อาหารทอี่ ยํูในชํองวํางระหวํางเมด็ ดนิ มกี ารถํายเทได๎

5. แสงสวา่ งหรือแสงแดด พืชตอ๎ งการแสงแดดมาใช๎ในการสร๎างอาหาร ถา๎ ขาดแสงแดด พชื จะแคระ
แกรน ใบจะมสี เี หลืองหรือขาวซีดและตายในทสี่ ุด พชื แตลํ ะชนิดต๎องการแสงไมํเทํากนั พืชบางชนิดตอ๎ งการ
แสงแดดจัด แตํพืชบางชนดิ ก็ต๎องการแสงราไร

6. อุณหภมู ิ มสี วํ นชวํ ยในการงอกและเจริญเตบิ โตของพชื เชํนกนั จะเห็นไดว๎ ําพืชบางชนิดชอบขน้ึ ในท่ี
มีอากาศหนาวเย็น แตํพชื บางชนิดกช็ อบข้ึนในที่มีอากาศร๎อน การนาพืชมาปลูกจงึ ควรเลือกชนดิ ทีเ่ หมาะสมกับ
อุณหภมู ทิ ่เี ปล่ียนไปตามฤดูกาล ในแตลํ ะท๎องถนิ่ ดว๎ ย

ชอํ งวาํ งอากาศ ชํองวํางระหวํางเม็ดดินบางสวํ นเป็นท่ีอยูํของน้า สวํ นที่เหลอื จะเปน็ ที่อยูํของอากาศ
อากาศในดนิ มีความสาคัญตํอการเจรญิ เตบิ โตของพชื มาก เพราะรากพืชต๎องการ แก๏สออกซิเจนในการหายใจ

14
ธาตอุ าหารทจ่ี าเป็นตํอพชื มี 6 ชนดิ ไดแ๎ กํ ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม
กามะถัน เหล็ก สงั กะสี แมงกานีส ทองแดง โบรอน โมลบิ ดินมั คลอรนี คาร์บอน ออกซิเจน ไฮโดรเจน สวํ น
ธาตุอาหารที่พืชตอ๎ งการมากกวํา บางคร้ังเรยี กวาํ ธาตอุ าหารหลกั ได๎แกํ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม
และธาตุอาหารทต่ี ๎องการรองลงมา เรียกวาํ ธาตอุ าหารรอง ไดแ๎ กํ แคลเซียม แมกนีเซยี ม และกามะถัน
ความหมายของสัตว์
สตั วเ์ ปน็ ส่งิ มีชวี ติ ชนดิ หน่งึ บนโลกนี้ ท่ีถอื ได๎วาํ มีความสาคญั ในแงตํ าํ งๆเป็นสง่ิ มีชวี ติ ทอี่ ยํูใน อาณาจักร
สัตว(์ Animally Kingdom) กลุํมโดเมน (Domain)สิง่ มชี วี ติ จาพวก Eukaryote
ลกั ษณะ เดํนก็คอื เปน็ ส่งิ มชี ีวิตพวกที่มีเยื่อหม๎ุ นวิ เคลยี ส ประกอบดว๎ ย หลายๆเซลล์ท่ีมกี ารแบงํ หนา๎ ท่ี
ของแตลํ ะเซลล์เพอ่ื ทาหนา๎ ท่ีเฉพาะอยาํ งไมํมี คลอโรฟิลล์ จึงสร๎างอาหารเองไมไํ ด๎ ดารงชีวติ ได๎หลายลักษณะท้ัง
บนบกในน้า และบางชนิดเปน็ ปรสิตอันไดแ๎ กํสัตวท์ ุกชนิด ต้ังแตสํ ัตวไ์ มมํ ีกระดูกสันหลังจนถงึ สตั ว์ทมี่ กี ระดูกสนั
หลงั เชํน ไสเ๎ ดอื น ผีเสอ้ื แมว หมาปา่ งู ดอกไม๎ทะเล ฟองน้า จนรวมไปถงึ มนุษย์
โครงสรา้ งของสัตว์
โครงสร๎างและหน๎าท่ีของระบบตาํ ง ๆ ในราํ งกายสัตวส์ ัตว์ตาํ ง ๆ เปน็ ส่งิ มชี วี ติ ท่อี าศัยอยใํู นแหลํงทีอ่ ยํทู ่ี
แตกตํางกนั และสตั ว์ตําง ๆ เหลาํ นบ้ี างชนิดมเี นอื้ เย่ือหรืออวัยวะที่ยังไมํมีการพัฒนาให๎เห็นไดช๎ ัดเจน แตบํ าง
ชนิดกม็ กี ารพัฒนาให๎เห็นได๎อยํางชัดเจน มคี วามซับซ๎อนของโครงสรา๎ งของรํางกายทีแ่ ตกตํางกนั ออกไป ซึ่งมผี ล
ทาให๎ระบบตําง ๆ มีสํวนประกอบของโครงสร๎างและหน๎าที่การทางานท่แี ตกตํางกันออกไปด๎วย
1. ระบบย่อยอาหารของสัตว์

1.1 การยํอยอาหารในสัตวม์ ีกระดกู สนั หลัง
สัตวม์ ีกระดูกสันหลังทกุ ชนดิ เชํน ปลา กบ ก้งิ กํา แมว จะมีระบบทางเดนิ อาหารสมบรู ณ์ ซึง่ ทางเดินอาหารของ
สัตวม์ ีกระดูกสันหลังประกอบดว๎ ยปาก® หลอดอาหาร ® กระเพาะอาหาร ® ลาไส๎เลก็ ® ทวารหนกั
ดังภาพท่ี 1.9

ภาพท่ี 1.9 แสดงทางเดนิ อาหารของวัว

15

1.2 การยํอยอาหารในสตั ว์ไมํมกี ระดูกสนั หลงั
1.2.1 การยอํ ยอาหารในสตั ว์ทไี่ มํมีกระดูกสนั หลงั ท่ีมที างเดินอาหารไมสํ มบรู ณ์

รปู แสดงระบบยํอยอาหารของสตั ว์ไมมํ ีกระดูกสันหลงั ทีม่ ที างเดนิ อาหารไมํสมบูรณช์ นิดของสัตว์
ลักษณะทางเดินอาหารและการยํอยอาหาร

1) ฟองน้ายงั ไมํมีทางเดินอาหาร แตมํ ีเซลล์พเิ ศษอยํผู นังด๎านในของฟองนา้
เรียกวํา เซลล์ปลอกคอ (Collar Cell) ทาหนา๎ ท่จี บั อาหาร แลว๎ สรา๎ งแวควิ โอลอาหาร (Food Vacuole) เพื่อ
ยอํ ยอาหาร

2) ไฮดรา แมงกะพรนุ ซแี อนนโี มนีมีทางเดินอาหารไมํสมบูรณ์ มปี าก แตํไมํ
มที วารหนัก อาหารจะผาํ นบริเวณปากเขา๎ ไปในชํองลาตัวท่เี รียกวาํ ชํองแกสโตรวาสควิ ลาร์ (Gastro vascular
Cavity) ซ่ึงจะยํอยอาหารทีบ่ ริเวณชํองนี้ และกากอาหารจะถูกขับออกทางเดมิ คือ ปาก

3) หนอนตวั แบน เชํน พลานาเรยี พยาธิใบไม๎มที างเดนิ อาหารไมสํ มบรู ณ์ มี
ชอํ งเปดิ ทางเดยี วคือปาก ซึ่งอาหารจะเข๎าทางปาก และยํอยในทางเดนิ อาหาร แลว๎ ขับกากอาหารออกทางเดมิ
คอื ทางปาก

1.2.2 การยํอยอาหารในสตั ว์ไมํมีกระดกู สันหลังที่มีทางเดินอาหารสมบรู ณช์ นิดของ
สัตว์ ลักษณะทางเดินอาหารและการยํอยอาหาร

1) หนอนตวั กลม เชํน พยาธิไสเ๎ ดอื น พยาธิเสน๎ ด๎ายเปน็ พวกแรกท่ีมที างเดิน
อาหารสมบรู ณ์ คอื มีชํองปากและชอํ งทวารหนักแยกออกจากกนั

2) หนอนตวั กลมมีปล๎อง เชํน ไสเ๎ ดือนดนิ ปลงิ นา้ จดื และแมลงมที างเดนิ
อาหารสมบูรณ์ และมีโครงสร๎างทางเดินอาหารที่มลี กั ษณะเฉพาะแตํละสวํ นมากขนึ้

2. ระบบหมุนเวียนเลอื ดในสัตว์
ในสตั วช์ ัน้ สูงมีระบบหมุนเวยี นเลอื ดซึง่ ประกอบด๎วยหวั ใจเปน็ อวัยวะสาคัญ ทาหน๎าท่ีสูบฉดี

เลือดไปยงั สํวนตาํ ง ๆ ของราํ งกาย และมหี ลอดเลือดเปน็ ทางลาเลยี งเลือดไปท่วั ทุกเซลลข์ องราํ งกาย แตํในสตั ว์
บางชนดิ ใชช๎ ํองวาํ งระหวํางอวยั วะเป็นทางผํานของเลือดระบบหมนุ เวยี นเลอื ดมี 2 แบบ ดังนี้

2.1 ระบบหมนุ เวยี นเลอื ดแบบวงจรปิด (Closed Circulation System) ระบบน้เี ลอื ดจะไหล
อยํภู ายในหลอดเลือดตลอดเวลา โดยเลือดจะไหลออกจากหัวใจไปตามหลอดเลือดชนดิ ตําง ๆ แลว๎ ไหลกลบั เขา๎
สหูํ ัวใจใหมํเชํนนี้เรือ่ ยไป พบในสัตว์จาพวกหนอนตัวกลมมีปล๎อง เชํน ไส๎เดือนดิน ปลงิ น้าจดื และสตั ว์มกี ระดูก
สันหลงั ทุกชนดิ ดังภาพท่ี 1.10

ภาพท่ี 1.10 แสดงระบบหมุนเวยี นเลอื ดแบบปดิ

16

2.2 ระบบหมุนเวยี นเลอื ดแบบวงจรเปดิ (Open Circulation System) ระบบนี้เลือดทีไ่ หล
ออกจากหวั ใจจะไมํอยใํู นหลอดเลอื ดตลอดเวลาเหมือนวงจรปิด โดยจะมเี ลอื ดไหลเขา๎ ไปในชํองวาํ งลาตัวและที่
วาํ งระหวําอวัยวะตาํ ง ๆ พบในสัตวจ์ าพวกแมลง ก๎ุง ปู และหอย ดงั ภาพที่ 1.11

ภาพที่ 1.11 แสดงระบบหมนุ เวียนเลอื ดแบบวงจรเปิด

3. ระบบหายใจในสตั ว์
สตั ว์ตําง ๆ จะแลกเปลีย่ นก๏าซกบั สิง่ แวดล๎อมโดยกระบวนการแพรํ (Diffusion)โดยสตั วแ์ ตลํ ะ

ชนดิ จะมโี ครงสร๎างที่ใช๎ในการแลกเปลย่ี นก๏าซที่เหมาะสมกับการดารงชีวติ และสิ่งแวดล๎อมตํางกนั ชนดิ ของสัตว์
โครงสรา๎ งทใี่ ชใ๎ นการแลกเปล่ียนกา๏ ซ

3.1 สัตวช์ ้ันตา่ เชํน ไฮดรา แมงกะพรนุ ฟองน้า พลานาเรียไมมํ ีอวยั วะในการหายใจ
โดยเฉพาะ การแลกเปลี่ยนกา๏ ซใชเ๎ ยื่อหมุ๎ เซลล์หรอื ผวิ หนังที่ชุํมชืน้

3.2 สตั ว์นา้ ชั้นสูง เชํน ปลา กงุ๎ ปู หมกึ หอย ดาวทะเลมเี หงอื ก (Gill) ซง่ึ มีความแตกตํางกัน
ในดา๎ นความซับซอ๎ น แตํทาหนา๎ ทเี่ ชํนเดยี วกนั (ยกเวน๎ สตั ว์ครง่ึ บกคร่ึงนา้ ในชํวงทีเ่ ปน็ ลูกออ๏ ดซึง่ อาศัยอยํูในน้า
จะหายใจด๎วยเหงอื ก ตอํ มาเม่ือโตเป็นตวั เต็มวัยอยูํบนบก จึงจะหายใจด๎วยปอด)

3.3 สตั ว์บกชั้นต่า เชนํ ไส๎เดอื นดินมผี ิวหนงั ทีเ่ ปียกชน้ื มีระบบหมุนเวียนเลอื ดเรํงอตั ราการ
แลกเปลยี่ นกา๏ ซ

3.4 สัตวบ์ กชนั้ สูง มี 3 ประเภท คอื
3.4.1แมงมมุ
3.4.2แมลงตาํ ง ๆ
3.4.3สตั ว์มีกระดูกสันหลงั
-มแี ผงปอดหรือลังบก (Lung Book) มีลกั ษณะเปน็ เส๎น ๆ ย่ืนออกมานอก

ผวิ ราํ งกาย ทาใหส๎ ูญเสยี ความชนื้ ไดง๎ าํ ย
- มที ํอลม (Trachea) เป็นทํอทตี่ ิดตอํ กับภายนอกรํางกายทางรูหายใจ และ

แตกแขนงแทรกไปยังทกุ สํวนของรํางกาย
- มีปอด (Lung) มลี ักษณะเป็นถงุ และมีความสมั พันธก์ ับระบบหมุนเวียน

เลือด

17

4. ระบบขบั ถ่ายในสัตว์
ในเซลล์หรอื ในรํางกายของสตั วต์ าํ ง ๆ จะมปี ฏิกริ ยิ าเคมีจานวนมากเกิดข้ึนตลอดเวลา และผล

จากการเกิดปฏิกิริยาเคมีเหลําน้ี จะทาใหเ๎ กดิ ผลติ ภัณฑท์ ี่มปี ระโยชน์ตอํ สงิ่ มีชีวิตและของเสยี ท่ีต๎องกาจัดออก
ดว๎ ยการขับถาํ ย สตั วแ์ ตลํ ะชนิดจะมีอวัยวะและกระบวนการกาจัดของเสยี ออกนอกรํางกายแตกตํางกันออกไป
สัตวช์ น้ั ต่าที่มโี ครงสรา๎ งงาํ ย ๆ เซลลท์ ท่ี าหน๎าทก่ี าจดั ของเสียจะสัมผัสกบั ส่งิ แวดลอ๎ มโดยตรง สํวนสัตวช์ ้ันสงู ท่ีมี
โครงสร๎างซบั ซ๎อน การกาจัดของเสยี จะมีอวยั วะท่ีทาหนา๎ ท่ีเฉพาะระบบขบั ถํายของสตั ว์ชนดิ ตาํ ง ๆ มีดงั ตํอไปน้ี

4.1 ฟองนา้ เยื่อห๎ุมเซลล์เปน็ บรเิ วณทมี่ ีการแพรํของเสียออกจากเซลล์
4.2 ไฮดรา แมงกะพรุนใช๎ปาก โดยของเสียจะแพรไํ ปสะสมในชํองลาตวั แล๎วขับออกทางปาก
และของเสยี บางชนิดจะแพรํทางผนงั ลาตัว
4.3 พวกหนอนตัวแบน เชนํ พลานาเรยี พยาธิใบไม๎ใช๎เฟลมเซลล์ (Flame Cell) ซึง่ กระจาย
อยํูทั้งสองข๎างตลอดความยาวของลาตวั เป็นตัวกรองของเสียออกทางทํอซ่ึงมรี เู ปดิ ออกขา๎ งลาตัว
4.4 พวกหนอนตัวกลมมปี ล๎อง เชํน ไส๎เดอื นดนิ ใชเ๎ นฟรเิ ดยี ม (Nephridium) รับของเสยี มา
ตามทํอ และเปดิ ออกมาทางทํอซงึ่ มรี เู ปิดออกข๎างลาตวั
4.5 แมลงใช๎ทอํ มลั พเิ กียน (Mulphigian Tubule) ซง่ึ เป็นทํอเล็ก ๆ จานวนมากอยูรํ ะหวําง
กระเพาะกบั ลาไส๎ ทาหน๎าท่ีดูดซึมของเสยี จากเลือด และสงํ ตํอไปทางเดินอาหาร และขบั ออกนอกลาตวั ทาง
ทวารหนักรํวมกับกากอาหาร
4.6 สัตวม์ ีกระดูกสนั หลงั ใชไ๎ ต 2 ข๎างพร๎อมดว๎ ยทํอไตและกระเพาะปสั สาวะเป็นอวัยวะ
ขับถําย

5. ระบบประสาท
ระบบประสาทเป็นระบบท่ีทาหนา๎ ที่เกี่ยวกับการสัง่ งานการตดิ ตํอเชื่อมโยงกบั ส่ิงแวดล๎อม การ

รบั คาสง่ั และการปรับระบบตําง ๆ ในราํ งกายให๎ทากิจกรรมไดถ๎ ูกต๎องเมื่ออยูํในสภาพแวดล๎อมที่แตกตํางกัน
ระบบประสาทของสัตวช์ นิดตาํ ง ๆ มดี ังตํอไปน้ี

5.1 ฟองนา้ ไมํมรี ะบบประสาท
5.2 ไฮดรา แมงกะพรนุ เปน็ พวกแรกทีม่ ีเซลลป์ ระสาท โดยเซลล์ประสาทเชื่อมโยงกันคล๎าย
รํางแห เรียกวํา ราํ งแหประสาท (Nerve Net)
5.3 หนอนตัวแบน เชนํ พลานาเรียเป็นพวกแรกที่มรี ะบบประสาทเป็นศนู ย์ควบคมุ อยบูํ รเิ วณ
หัว และมเี ส๎นประสาทแยกออกไป ซ่งึ จะมรี ะบบประสาทแบบขัน้ บันได (Ladder Type System)
5.4 สตั ว์ไมมํ ีกระดูกสนั หลังช้ันสงู เชนํ ไส๎เดือนดิน แมลง หอยมปี มประสาท (Nerve
Ganglion) บรเิ วณสํวนหวั มากข้นึ และเรียงตอํ กันเป็นวงแหวนรอบคอหอยหรอื หลอดอาหาร ทาหน๎าทีเ่ ป็น
ศนู ยก์ ลางระบบประสาท และมเี ส๎นประสาททอดยาวตลอดลาตัว
5.5 สัตวม์ ีกระดกู สนั หลงั มีสมองและไขสนั หลงั เปน็ ศูนย์ควบคุมการทางานของรํางกาย
มีเซลลป์ ระสาทและเสน๎ ประสาทอยํทู ุกสํวนของราํ งกาย

18

6. ระบบสบื พันธใ์ุ นสตั ว์
6.1 ประเภทของการสบื พันธ์ุของสตั ว์ แบงํ ออกเปน็ 2 ประเภท ดังน้ี
6.1.1 การสบื พนั ธแุ์ บบไมอํ าศัยเพศ (Asexual Reproduction) เป็นการสบื พนั ธุโ์ ดย

การผลิตหนวํ ยสง่ิ มชี ีวิตจากหนํวยส่ิงมชี ีวิตเดมิ ด๎วยวธิ กี ารตําง ๆ ท่ีไมํใชํจากการใช๎เซลลส์ บื พันธุ์ ได๎แกํ การแตก
หนํอ การงอกใหมํ การขาดออกเปน็ ทอํ น และพารธ์ โี นเจเนซิส

6.1.2 การสืบพนั ธ์แุ บบอาศยั เพศ (Sexual Reproduction) เปน็ การสืบพันธ์ทุ ่ีเกิด
จากการผสมพันธร์ุ ะหวาํ งเซลล์สบื พนั ธุ์เพศผ๎แู ละเซลลส์ ืบพันธุ์เพศเมยี เกิดเปน็ สง่ิ มีชีวติ ใหมํ ได๎แกํ การสบื พนั ธุ์
ของสัตว์ช้ันตา่ บางพวก และสัตวช์ นั้ สูงทกุ ชนดิ สัตวบ์ างชนิดสามารถสบื พนั ธ์ุท้งั แบบอาศยั เพศและแบบไมํอาศัย
เพศ เชํน ไฮดรา การสืบพนั ธ์ุแบบไมํอาศยั เพศของไฮดราจะใช๎วธิ ีการแตกหนํอ

6.2 ชนิดของการสืบพันธ์ุแบบไมอํ าศยั เพศ มหี ลายชนิดดังน้ี
6.2.1 การแตกหนํอ (Budding) เป็นการสืบพันธทุ์ ี่หนํวยสิ่งมีชวี ติ ใหมเํ จริญออกมา

ภายนอกของตัวเดมิ เรียกวํา หนอํ (Bud) หนอํ ที่เกิดขน้ึ นี้จะเจริญจนกระทั่งไดเ๎ ป็นสงิ่ มชี วี ิตใหมํ ซ่งึ มลี กั ษณะ
เหมือนเดมิ แตํมขี นาดเล็กวาํ ซึง่ ตํอมาจะหลดุ ออกจากตวั เดิมและเตบิ โตตํอไป หรืออาจจะตดิ อยํูกับตวั เดมิ กไ็ ด๎
สัตว์ที่มีการสืบพันธุ์ลักษณะนี้ได๎แกํ ไฮดรา ฟองนา้ ปะการงั ดังภาพที่ 1.12

ภาพท่ี 1.12 แสดงการแตกหนอํ ของไฮดรา

6.2.2 การงอกใหมํ (Regeneration) เป็นการสบื พันธ์ุทีม่ ีการสรา๎ งสํวนของราํ งกายที่
หลดุ ออกหรือสญู เสียไปใหเ๎ ป็นส่งิ มชี ีวติ ตัวใหมํ ทาใหม๎ จี านวนสิ่งมีชีวติ เพิม่ มากขนึ้ สตั วท์ ่ีมกี ารสืบพนั ธุ์ลกั ษณะ
น้ี ได๎แกํ พลานาเรยี ดาวทะเล ซแี อนนโี มนี ไส๎เดือนดนิ ปลิงนา้ จืด ดังภาพท่ี 1.13

ภาพที่ 1.13 แสดงการงอกใหมํของพลานาเรียและดาวทะเล

19

6.2.3 การขาดออกเป็นทํอน (Fragmentation) เป็นการสบื พนั ธ์โุ ดยการขาด
ออกเป็นทํอน ๆ จากตวั เดมิ แล๎วแตํละทํอนจะเจริญเตบิ โตเปน็ ตวั ใหมไํ ด๎ พบในพวกหนอนตวั แบน

6.2.4 พาร์ธโี นเจเนซสี (Parthenogenesis) เปน็ การสบื พันธุข์ องแมลงบางชนดิ ซึง่
ตัวเมียสามารถผลติ ไขทํ ี่ฟกั เป็นตัวได๎โดยไมตํ ๎องมีการปฏสิ นธิ ในสภาวะปรกติ ไขจํ ะฟักออกมาเป็นตัวเมยี เสมอ
แตใํ นสภาพที่ไมํเหมาะสมกับการดารงชีวิต เชนํ เกดิ ความแหง๎ แล๎ง หนาเย็น หรอื ขาดแคลนอาหาร ตัวเมียจะ
ผลติ ไขทํ ่ีฟักออกมาเป็นทัง้ ตัวผ๎แู ละตวั เมยี จากนั้นตัวผ๎แู ละตัวเมียเหลํานจี้ ะผสมพันธุ์กัน แล๎วตวั เมียจะออกไขํที่
มีความคงทนตํอสภาวะทีไ่ มํเหมาะสมดังกลําว แมลงที่มกี ารสบื พันธล์ุ กั ษณะน้ี ได๎แกํ ต๊กั แตนกง่ิ ไม๎ เพลย้ี ไรน้า
ในพวกแมลงสงั คม เชนํ ผึง้ มด ตํอ แตน ก็พบวาํ มีการสืบพันธ์ุในลักษณะนีเ้ หมือนกนั แตํในสภาวะปรกตไิ ขทํ ี่
ฟกั ออกมาจะได๎ตัวผเู๎ สมอ

6.3 ชนดิ ของการสบื พนั ธแุ์ บบอาศัยเพศของสัตว์ มี 2 ชนิด ดงั น้ี
6.3.1 การสบื พันธ์ุของสัตวท์ ่มี ี 2 เพศในตัวเดยี วกนั (Monoecious) โดยทัว่ ไปไมํ

สามารถผสมกนั ภายในตัว ต๎องผสมขา๎ มตวั เนอ่ื งจากไขแํ ละอสจุ จิ ะเจรญิ ไมํพร๎อมกนั เชนํ ไฮดรา พลานาเรีย
ไสเ๎ ดอื นดนิ ดงั ภาพท่ี 1.14

ภาพท่ี 1.14 รปู แสดงการสบื พันธุ์แบบอาศยั เพศของไฮดราตัวอํอนหลุดจากรังไขํ แล๎วเจรญิ เติบโตตอํ ไป

6.3.2 การสบื พันธุข์ องสัตวท์ ่มี ีเพศผูแ๎ ละเพศเมียแยกกนั อยตูํ ํางตัวกัน (Dioeciously)
ในการสบื พันธุข์ องสตั ว์ชนิดนี้มกี ารปฏิสนธิ 2 แบบ คือ

1) การปฏสิ นธภิ ายใน (Internal Fertilization) คอื การผสมระหวํางตัว
อสจุ ิกับไขทํ ่ีอยูํภายในราํ งกายของเพศเมยี สัตว์ท่มี ีการปฏิสนธิแบบนี้ ไดแ๎ กํ สตั วท์ ่ีวางไขํบนบกทุกชนิด สัตว์
ท่เี ล้ยี งลกู ด๎วยน้านม และปลาท่ีออกลูกเปน็ ตวั เชนํ ปลาเขม็ ปลาหางนกยูง ปลาฉลาม

2) การปฏสิ นธิภายนอก (External fertilization) คือการผสมระหวํางตัว
อสจุ กิ บั ไขทํ ี่อยภํู ายนอกราํ งกายของสตั วเ์ พศเมยี การปฏิสนธิแบบนี้ต๎องอาศยั น้าเป็นตัวกลางใหต๎ ัวอสุจิเคลื่อนที่
เขา๎ ไปผสมไขํได๎ สัตวท์ ีม่ ีการปฏสิ นธแิ บบนี้ ไดแ๎ กํ ปลาตาํ ง ๆ สตั วค์ รึง่ บกครึง่ น้า และสัตวท์ ี่วางไขํในน้าทกุ ชนิด

20

7. ระบบโครงกระดกู
ประเภทของโครงกระดูกหรอื โครงรํางแขง็ ของสัตว์ แบํงออกเป็น 2 ชนดิ คือ
7.1 โครงรํางแขง็ ท่ีอยภํู ายนอกรํางกาย (Exoskeleton) พบไดใ๎ นแมลง เปลอื กกง๎ุ ปู หอย

เกลด็ และกระดองสัตว์ตําง ๆ มหี นา๎ ท่ีป้องกนั อันตรายที่อาจเกิดขึน้ กับอวัยวะท่อี ยูํภายใน
7.2 โครงรํางแขง็ ท่อี ยูํภายในรํางกาย (Endoskeleton) ได๎แกํ โครงกระดูกของสตั วท์ ี่มกี ระดกู

สันหลงั ท้งั หมด

8. การเจรญิ เตบิ โตของสตั ว์
สัตวจ์ ะเร่มิ มีการเจริญเติบโตเม่อื เซลลส์ ืบพันธุเ์ พศผ๎ูผสมกับเซลล์สบื พันธุ์เพศเมีย แล๎วเจริญ

เป็นตัวออํ นภายในทอ๎ งของเพศเมยี (ในกรณีทีส่ ัตวม์ กี ารปฏสิ นธิภายใน)จนกระทั่งตัวอํอนฟักออกมาจากไขํ ตวั
ออํ นจะเจริญเตบิ โตโดยมกี ารเพิม่ ขนาดของอวัยวะในรํางกาย และมกี ารพัฒนาระบบอวยั วะตํางๆ ในราํ งกายให๎
สามารถทางานได๎อยาํ งมีประสิทธิภาพ ซ่ึงการเจริญเติบโตของสัตว์วัดไดจ๎ ากความสูงและนา้ หนักของราํ งกายท่ี
เพม่ิ มากขึน้ ตวั อํอนนจี้ ะเจรญิ เตบิ โตไปเรือ่ ยๆ จนกระท่ังมรี ูปรํางลกั ษณะเหมือนตวั เตม็ วัยทกุ ประการ และ
สามารถสบื พนั ธุ์เพื่อดารงเผําพนั ธต์ุ ํอไปได๎เม่ือรํางกายของสัตว์ได๎รับสารอาหารกจ็ ะทาใหเ๎ กดิ การเจรญิ เติบโต
โดยมกี าร เพ่มิ จานวนของเซลล์ การขยายขนาดของเซลล์ และการเปลีย่ นแปลงรูปรํางของเซลล์เพื่อทาหน๎าที่
เฉพาะ ในสตั ว์แตลํ ะชนิดจะมีรูปแบบการเจรญิ เติบโตท่ีแตกตาํ งกนั ไป ซึง่ สามารถแบงํ รปู แบบการเจรญิ เติบโต
ของสัตว์ได๎เป็น 4 ประเภท คือ

1. การเจรญิ เติบโตแบบทมี่ ีการเปล่ียนแปลงรปู ราํ งอยาํ งสมบรู ณ์
2. การเจริญเตบิ โตแบบท่ีมีการเปลี่ยนแปลงรปู ราํ งไมํสมบูรณ์
3. การเจรญิ เติบโตแบบทีม่ ีการเปลี่ยนแปลงรูปราํ งทลี ะน๎อย
4. การเจริญเตบิ โตแบบที่ไมมํ ีการเปล่ยี นแปลงรปู ราํ ง
การเจริญเติบโตแบบทมี่ กี ารเปลี่ยนแปลงรูปร่างอย่างสมบูรณ์(Complete Metamorphosis)
สตั ว์ประเภทนีจ้ ะมีการเปลี่ยนแปลงรปู ราํ งครบท้ัง 4 ข้นั ตอนคอื ไขจํ ะฟกั เป็นตัวอํอน ตอํ มาตวั อํอนจะ
สร๎างสารข้ึนมาหอํ ห๎ุมรํางกายกลายเป็นดกั แด๎ และเกิดการลอกคราบเพ่ือกาจัดเปลอื กท่ีมีลกั ษณะอํอนนํุมซ่ึง
หอํ ห๎มุ ราํ ง กายออกไป แลว๎ สรา๎ งเปลือกที่มคี วามแขง็ ข้นึ มาแทนกลายเป็นตวั เต็มวัยการเจริญเตบิ โตแบบทีม่ ีการ
เปล่ียนแปลงรปู ราํ งอยํางสมบูรณน์ ีม้ ักพบในแมลง เชนํ ผีเสื้อ ผง้ึ ตอํ แตน ยงุ ดงั ภาพท่ี 1.15

ภาพท่ี 1.15 รปู ภาพการเจริญเติบโตของผเี สื้อ

21

การเจรญิ เติบโตแบบทม่ี กี ารเปล่ยี นแปลงรูปรา่ งไมส่ มบูรณ์(Incomplete Metamorphosis)
ตวั เต็มวัยของสัตวป์ ระเภทนีจ้ ะวางไขใํ นนา้ แล๎วไขํจะฟักเป็นตัวอํอน ซึง่ ตวั อํอนหายใจโดยใช๎เหงอื ก

ตํอมาตัวอํอนจะลอกคราบกลายเป็นตวั เตม็ วยั แลว๎ ขึ้นจากน้ามาอาศยั อยํบู นบก ซงึ่ ตัวเต็มวยั หายใจโดยใช๎
ระบบทํอลมการเจรญิ เติบโตแบบที่มีการเปลยี่ นแปลงรปู ราํ งไมํสมบูรณน์ ้ีพบไดใ๎ นแมลงบางชนิด เชํน แมลงปอ
ชปี ะขาว ดังภาพที่ 1.16

ภาพท่ี 1.16 รปู ภาพการเจรญิ เติบโตของแมลงปอ
การเจรญิ เตบิ โตแบบที่มีการเปล่ียนแปลงรูปรา่ งทลี ะน้อย(Ametamorphosis)

ตัวอํอนท่ีฟักออกจากไขํมีลักษณะคลา๎ ยตวั เต็มวยั แตํยังมีอวัยวะบางอยาํ งไมํครบ เชนํ ไมํมปี ีก เม่ือมี
การลอกคราบตวั อํอนจงึ จะมีปีกและจะเจริญเตบิ โตตํอไปเรือ่ ยๆ จนมีลกั ษณะเหมอื นตวั เตม็ วยั การเจริญเติบโต
แบบทม่ี ีการเปลี่ยนแปลงรูปรํางทีละน๎อยนพี้ บไดใ๎ นแมลงบางชนดิ เชนํ ตกั๊ แตน แมลงสาบ ปลวก จง้ิ หรดี
ดังภาพท่ี 1.17

ภาพที่ 1.17 รูปภาพการเจริญเตบิ โตของตก๊ั แตน
การเจรญิ เติบโตแบบทีไ่ มม่ กี ารเปลยี่ นแปลงรปู รา่ ง(metamorphosis)

ตัวออํ นจะมีลกั ษณะเหมือนตัวเต็มวยั ทกุ ประการ เพียงแตํมขี นาดของราํ งกายเล็กกวาํ เทํานนั้ ตัวอํอน
จะเจริญเตบิ โตไปเร่ือยๆ จนมีขนาดเทาํ ตวั เต็มวัยการเจรญิ เตบิ โตแบบที่ไมมํ ีการเปลีย่ นแปลงรปู รํางนพี้ บไดใ๎ น
สตั วท์ วั่ ๆ ไป เชํน เป็ด ไกํ นก งู เตํา ปลา และพบได๎ในแมลงบางชนดิ เชนํ แมลงหางดีด ตัวสองงาํ ม ดงั ภาพท่ี
1.18

22

ภาพท่ี 1.18 รปู ภาพการเจรญิ เติบโตของตัวสองงาํ ม
รูปแบบการเจรญิ เตบิ โตของสัตว์ครง่ึ บกครึ่งน้า

การเจรญิ เตบิ โตของสตั วท์ ี่มีโครงรํางแข็งอยํภู ายในราํ งกายสัตว์ครึง่ บกคร่งึ นา้ เชนํ กบ เขียด คางคก
จะมีการเปลยี่ นแปลงรูปรํางในขณะทเี่ จรญิ เตบิ โต โดยทีต่ วั เต็มวยั ของสตั ว์ประเภทน้จี ะวางไขํในน้า ตวั ออํ นที่
ฟักออกมาจากไขจํ ะมหี างเหมือนปลาเรยี กวาํ ลกู อ๏อด ซึ่งหายใจโดยใช๎เหงอื ก เคล่ือนทโ่ี ดยใช๎หางวาํ ยไปมา
ลูกออ๏ ดจะคอํ ยๆ เจริญเตบิ โต โดยมขี าหลังงอกออกมากํอน แล๎วจงึ มขี าหน๎างอกตามออกมา และหางจะหดสนั้
ลงจนหายไปในทีส่ ดุ ซ่ึงเหงอื กก็จะหายไปด๎วยกลายเป็นลกู กบขนึ้ มาอาศัยอยบํู นบก หายใจโดยใช๎ปอดและ
ผวิ หนงั แลว๎ เจริญเตบิ โตกลายเป็นตวั เตม็ วยั ซงึ่ สามารถสบื พันธไุ์ ด๎ ดังภาพท่ี 1.19

ภาพที่ 1.19 รปู ภาพการเจริญเติบโตของกบ
9. ระบบขบั ถา่ ยของสัตว์

การขบั ถํายของเสยี ในรูปของเหลว ออกจากรํางกายเพื่อให๎สงิ มีชีวิตอยูไํ ด๎ เปน็ การกาจดั สารที่
กอํ ใหเ๎ กดิ อันตรายตํอราํ งกายและเปน็ การรักษาระดับสมดุลของ ของเหลวในรํางกาย

9.1 Contractile vacuoles: คอนแทรกไทลแ์ วคิวโอล มี ลักษณะ เปน็ ถุงบางๆใช๎ในการขบั นา้ ออก
จากสิ่งมชี ีวิตเซลลเ์ ดยี วในนา้ จืดโดยท่นี ้ามากเกิน ปกตจิ ะเข๎าไปในแวคิวโอลตามชอํ งเล็กๆ จานวนมากท่ีอยํู
รอบๆแวคิวโอล เมื่อแว ควิ โอลขยายเตม็ ที่จะเกดิ หดตัวและมีแรงดันให๎นา้ พงํุ ออกไปนอกเย้ือหม๎ุ เซลล์

9.2 Nephrida or nephridium: เนฟรเิ ดยี เปน็ ทอํ ขับถาํ ยในหนอน ใสเ๎ ดือน ตวั ออํ นของแมลงตาํ งๆ
และสัตวจ์ าพวกมอลลสั ก์ หลายชนิด เชนํ ทาก หนอน ท่มี ีการพฒั นาการสูงข้นึ จะเกบ็ สะสมของเสียไวใ๎ นชํอง
ลาตวั หนอนที่มกี าร พฒั นาน๎อยและตวั อํอน ของพวกมอลลัสก์ จะมีสวํ นที่เรียกวาํ โปรโทเนฟรเิ ดียม ของเสีย

23
ในรปู ของเหลวจะไหลเขา๎ ไปในทํอกลวงของเฟลมเซลลซ์ ึง้ มีขนเส๎นเล็กๆ คล๎ายซีเลียของเสียในเนฟรเิ ดยี มและ
โปรโทเนฟริเดยี ม จะไหลออกทางชํองเลก็ ๆ หรือรูขบั ถาํ ยทเ่ี รียกวาํ เนฟริดโิ อพอร์

9.3 Malpinghian tubules: ทํอมลั พิเกียน เป็นทอํ ยาวพบในสัตว์ ไฟลัมอาร์โทรโพดาหลายชนิด เชํน
แมลงทํอมลั พเิ กียนจะดดู เก็บของเสียท่ีอยํู ในรปู สารละลายจากชอํ งเลือดกลางลาตวั และจะขบั ตํอไปยังทางเดิน
อาหาร
. ระบบขับถา่ ยในสัตว์

ในเซลลห์ รือในรํางกายของสตั วต์ าํ ง ๆ จะมปี ฏิกิรยิ าเคมีจานวนมากเกดิ ขึ้นตลอดเวลา และผล
จากการเกิดปฏิกริ ิยาเคมเี หลาํ น้ี จะทาใหเ๎ กดิ ผลิตภัณฑ์ท่ีมปี ระโยชน์ตํอสง่ิ มีชวี ติ และของเสยี ทต่ี ๎องกาจดั ออก
ดว๎ ยการขบั ถําย สัตว์แตํละชนิดจะมีอวัยวะและกระบวนการกาจัดของเสียออกนอกรํางกายแตกตาํ งกนั ออกไป
สัตวช์ ั้นตา่ ท่ีมโี ครงสรา๎ งงําย ๆ เซลลท์ ท่ี าหน๎าท่กี าจดั ของเสียจะสัมผัสกับส่ิงแวดลอ๎ มโดยตรง สํวนสตั วช์ ้ันสูงทมี่ ี
โครงสร๎างซบั ซ๎อน การกาจัดของเสียจะมีอวัยวะที่ทาหนา๎ ที่เฉพาะระบบขบั ถาํ ยของสตั ว์ชนิดตาํ ง ๆ มีดงั ตํอไปน้ี

10.1 ฟองนา้ เยอื่ ห๎ุมเซลลเ์ ป็นบรเิ วณทีม่ ีการแพรํของเสยี ออกจากเซลล์
10.2 ไฮดรา แมงกะพรนุ ใชป๎ าก โดยของเสยี จะแพรํไปสะสมในชอํ งลาตัวแลว๎ ขับออกทางปาก
และของเสยี บางชนิดจะแพรํทางผนังลาตัว
10.3 พวกหนอนตัวแบน เชนํ พลานาเรีย พยาธิใบไม๎ใชเ๎ ฟลมเซลล์ (Flame Cell) ซงึ่ กระจาย
อยทํู ั้งสองขา๎ งตลอดความยาวของลาตัว เป็นตัวกรองของเสียออกทางทอํ ซึ่งมรี ูเปดิ ออกข๎างลาตวั
10.4 พวกหนอนตัวกลมมีปล๎อง เชนํ ไสเ๎ ดอื นดนิ ใช๎เนฟรเิ ดียม (Nephridium) รบั ของเสียมา
ตามทํอ และเปดิ ออกมาทางทํอซ่ึงมีรเู ปิดออกข๎างลาตัว
10.5 แมลงใชท๎ ํอมลั พิเกียน (Mulphigian Tubule) ซ่ึงเป็นทอํ เล็ก ๆ จานวนมากอยรํู ะหวําง
กระเพาะกบั ลาไส๎ ทาหนา๎ ท่ีดูดซึมของเสียจากเลือด และสงํ ตํอไปทางเดินอาหาร และขบั ออกนอกลาตัวทาง
ทวารหนักรวํ มกบั กากอาหาร
10.6 สตั วม์ กี ระดูกสนั หลงั ใช๎ไต 2 ข๎างพร๎อมด๎วยทํอไตและกระเพาะปสั สาวะเปน็ อวัยวะ
ขับถําย
10. การลาเลยี งสารในสัตว์
วิธีการรับสารและขจดั สารในรํางกายของสตั วก์ ระทาได๎ 2 วิธี คอื
1. การแพรํของสาร (diffusion) เปน็ การเคลื่อนทีข่ องสารจากบรเิ วณทีม่ ีความเข๎มขน๎ ของสาร
จากบริเวณทีม่ ีความเข๎มขน๎ ของสารมากไปสํูบรเิ วณทมี่ คี วามเขม๎ ข๎นน๎อย
2. การลาเลียงสาร (transportation or circulation) เป็นการนาสารทม่ี จี าเป็นตํอการ
ดาเนินชวี ติ ไปใหเ๎ ซลลใ์ ชป๎ ระโยชน์และนาสารท่เี ซลล์ไมํต๎องการออกจากราํ งกาย
การลาเลยี งสารในรํางกายของสตั วท์ ี่ไมํมีระบบหมุนเวียนเลือด
การลาเลียงสารในโพรทิสต์ (protis)อะมีบา (Ameba) และ พารามีเซียม (Paramecium) มีการ
แลกเปล่ยี นสารระหวํางเซลล์กับสิ่งแวดล๎อม โดยกระบวนการแพรํและการไหลเวียนของไซโทพลาสซึมภายใน
เซลล์ (cyclosis) ทาให๎สารอาหารเคลื่อนไหวไปโดยรอบๆเซลล์ เพื่อใหท๎ ุกสวํ นของเซลลไ์ ดร๎ บั สารอาหารได๎
ทวั่ ถึง สวํ นของเสียจะแพรํผาํ นเยื่อหมุ๎ เซลลอ์ อกจากสง่ิ แวดลอ๎ ม ถ๎าเป็นน้าจะถูกขบั ถํายโดย contractile
vacuole

24
การลาเลียงสารในฟองนา้ (sponge)ฟองน้าเปน็ สัตว์ที่ไมํมีเนื้อเยอ่ื แตํมีเซลล์เรยี งตัวกนั อยาํ งหลวมๆ มีเซลล์
ปลอกคอ (collar cell) ทาหน๎าท่ีจบั อาหารโดยใช๎เท๎าเทยี มโอบลอ๎ มอาหารแบบฟาโกไซโทซสิ (phagocytosis) มกี าร
ลาเลยี งอาหารโดยกระบวนการแพรํและกระบวนการแอกทีฟทรานสปอร์ต
การลาเลียงสารในไฮดรา (hydra) ไฮดรามีเนื้อเยื่อ 2 ชั้น คอื ชัน้ นอก (ectoderm) และช้นั ใน (endoderm)
มีชอํ งวํางกลางลาตัว (gascovascular cavity) ทาหน๎าทีเ่ ป็นทางเดินอาหาร และลาเลยี งสารตาํ งๆ มเี นอ้ื เย่ือชน้ั ในทา
หนา๎ ที่ยอํ ยอาหาร เมื่อยํอยแล๎วสารอาหารท่ีมีโมเลกุลขนาดเล็กกจ็ ะแพรผํ ํานออกจากเซลล์ไปสูชํ ํองวาํ งกลางลาตัว
และจะถูกขับออกไปนอกลาตัวทางชอํ งปาก การแลกเปลีย่ นก๏าซของไฮดราสามารถแลกเปลีย่ นกบั สงิ่ แวดล๎อม ได๎
โดยตรง เพราะเซลล์เกอื บทุกเซลล์สัมผสั กบั สิง่ แวดลอ๎ มได๎
การลาเลยี งสารในพลานาเรยี (planaria)พลานาเรียเมอ่ื กนิ อาหารเข๎าไป อาหารจะเขา๎ ทางปากแล๎วผํานไปยัง
ทางเดนิ อาหารทแ่ี ตกแขนงไปท่วั รํางกาย เซลล์จะสรา๎ งน้ายํอยมายํอย อาหาร อาหารทยี่ ํอยแลว๎ จะแพรเํ ขา๎ สเูํ ซลลท์ ่ผี ิว
ของทางเดนิ อาหารที่แทรกอยูํทว่ั ไป หรือใชก๎ ระบวนการ active transport ก็ได๎
การลาเลยี งสารในรํางกายของสตั วท์ ี่มีระบบหมนุ เวยี นเลอื ดระบบหมุนเวยี น เลือด(circulatory system)
แบงํ ออกเปน็ 2 ระบบ คือ

1. ระบบหมุนเวยี นเลือดแบบวงจรปดิ (closed circulatory system) หมายถึง ระบบเลือดทมี่ ี
เลือด ไหลเวยี นอยํภู ายในทํอของเสน๎ เลือดและหวั ใจตลอด โดยที่เลอื ดจะมีทิศทางการไหลออกจากหัวใจไปตาม เสน๎
เลอื ดและหัวใจตลอด โดยทีเ่ ลือดจะมที ศิ ทางการไหลออกจากหัวใจไปตามเสน๎ เลอื ดชนดิ ตํางๆ และไหลกลบั เข๎าสหูํ ัวใจ
อีกเป็นวงจรตํอเนื่องกันไป พบในสตั ว์พวกแอนนลี ิด (annelid) เปน็ พวกแรก และ พบในสตั ว์มีกระดูกสันหลงั
(vertebrate)ทุกชนดิ ประโยชน์ของระบบหมนุ เวยี นเลอื ดแบบวงจรปิด

1.1 ทาใหเ๎ ลอื ดสบู ฉีดไปสูํอวยั วะหรือเนือ้ เย่ือได๎ทว่ั ราํ งกาย
1.2 สามารถควบคุมปรมิ าณของเลือดทส่ี ูบฉดี ไปสูอํ วยั วะแตํละอวยั วะหรอื เน้ือเย่ือได๎ โดย
การปรับขนาด การขยายตัวหรอื หดตวั ของเส๎นเลือดตํางๆ
1.3 เลือดทไี่ หลกลับเข๎าสหูํ ัวใจไดอ๎ ยาํ งรวดเรว็ และสมา่ เสมอ
1.4 ปริมาตรของเลอื ดคงท่ีและ สามารถควบคุมความดันของเลือดได๎
2. ระบบหมุนเวียนเลือดแบบวงจรเปดิ (open circulatory system) หมายถึง ระบบเลือดทเ่ี ลอื ด
ไหลออกจากหัวใจแล๎วไมไํ ด๎ไหลเวยี นอยเูํ ฉพาะภายในเสน๎ เลือด แตํจะไหลผาํ นชอํ งวํางของลาตัว และที่วาํ งระหวาํ ง
อวยั วะตํางๆภายในราํ งกาย แลว๎ ไหลกลบั เขา๎ สเูํ ส๎นเลอื ดและเข๎าสูหํ วั ใจตํอไปเลือดและน้าเหลอื งจะปะปนกันและมี
สํวนประกอบเหมอื นกนั เรยี กวํา ฮโี มลิมฟ์ (hemolymph) และเรียกชํองวาํ งระหวาํ งเนื้อเยอ่ื ทเ่ี ปน็ ทางผาํ นของ
ฮีโมลิมฟว์ ํา ฮีโมซลิ (hemocoel) พบในสตั ว์ พวกอารโ์ ทรพอดและสัตวพ์ วกมอลลสั กบ์ างชนดิ การลาเลยี งสารในสัตว์
พวกแอนนีลดิ (annelid) ไส๎เดือนดินเป็นสัตวพ์ วกแรกท่ีมรี ะบบหมนุ เวยี นเลอื ดแบบวงจรปิด ซ่ึงประกอบดว๎ ยสํวน
ตาํ งๆดงั นี้
2.1 หัวใจเทียม (pseudoheart) เปน็ หวํ งเสน๎ เลอื ดท่ีพองออกและโดบรอบหลอดอาหาร
5 หวํ ง หวั ใจทง้ั 5 หํวงจะเช่อื มตํอกับเส๎นเลอื ดดา๎ นบนและดา๎ นลําง
2.2 เส๎นเลือด (blood vessel) แบํงตามหน๎าที่ไดเ๎ ปน็ 3 ชนิด คือ

2.2.1 เสน๎ เลือดดา๎ นบนของลาตัว (dorsal blood vessel) ทาหน๎าท่ีนาเลอื ดกลบั
เขา๎ สูํหัวใจ

25
2.2.2 เสน๎ เลือดดา๎ นลํางของลาตวั (ventral blood vessel) ทาหนา๎ ที่รบั เลอื ด
จากหัวใจไปเลย้ี ง สวํ นตํางๆของราํ งกาย
2.2.3เสน๎ เลือดฝอย (carpillary) มผี นงั บางมากกระจายอยํูทัว่ ไปของราํ งกาย ทา
หน๎าที่แลกเปลยี่ น สารท่ีอยูํภายในเลอื ดกับเซลล์
เลือด (blood) มสี แี ดง เพราะมีฮโี มโกลบนิ ทีม่ ีธาตุเหลก็ เป็นองคป์ ระกอบ
การลาเลยี งสารในแมลง แมลงมีระบบหมนุ เวียนเลือดแบบวงจรเปดิ ซ่งึ ประกอบด๎วยสํวนตํางๆดังน้ี
1. หัวใจ (heart) เปน็ สํวนของเสน๎ เลือด มีลักษณะโป่งออกเปน็ ตอนๆ มีรเู ล็กๆ หัวใจทา หนา๎ ที่สบู
ฉดี เลอื ดไปทางด๎านหัวไปสูํเนื้อเยือ่ ตํางๆ ซ่งึ มีลนิ้ คอยปิดเปิดอยํูด๎วย เรยี กรูนี้วํา ออสเทยี (oistia) ทาหนา๎ ทร่ี บั เลือด
จากสวํ นตาํ งๆในลาตวั ไหลเข๎าสํูหัวใจ และล้นิ ภายในออสเทียกน้ั มิให๎เลอื ดไหลออกจาก หัวใจ
2. เลอื ด (hemolymph) เลอื ดของแมลงไมํมีสหี รอื มสี ฟี ้าอํอนๆ เพราะไมมํ ีฮโี มโกลบิน มีแตํ ฮีโมไซ
ยานิน (hemocyanin) ที่มีทองแดง (Cu) เปน็ องคป์ ระกอบ
3. เสน๎ เลอื ด (blood vessel) มีอยูํเสน๎ เดียวเหนือทางเดินอาหาร ไมํมีเสน๎ เลือดฝอย ทาหน๎าที่รบั
เลือดออกจากราํ งกาย
4. ชอํ งวํางภายในลาตัว (hemoceol) ทาหนา๎ ทร่ี ับเลือดจากเส๎นเลือด เพอื่ ลาเลยี งสารไปสสํู ํวนตาํ งๆ
ของรํางกาย และเปน็ แหลํงแลกเปลีย่ นก๏าซ
*แมลงมที ํอลม (trachial system) ทาหน๎าที่ลาเลยี งกา๏ ซไปยังสํวนตาํ งๆของราํ งกาย*
*~* ลักษณะระบบหมนุ เวยี นเลือดของแมลงมขี ๎อดี คือ เลอื ดสามารถสมั ผสั กบั เน้ือเยื่อโดยตรง ทาให๎
แมลงสามารถอยํูไดใ๎ นสภาวะแหง๎ แลง๎ เพราะอวยั วะภายในยงั คงทางานได๎ตามปกติ เนอื่ งจากอวัยวะเหลาํ นั้นลอยอยํู
ในของเหลวภายในลาตัว
การลาเลียงสารในสัตว์พวกปลาปลามรี ะบบหมนุ เวยี นเลือดแบบวงจรปิด ซงึ่ ประกอบด๎วยสํวนตําง ๆ ดังนี้
1. หัวใจ (heart) มี 2 หอ๎ ง คือ
1.1 หัวใจห๎องบน (atrium) ทาหนา๎ ทีร่ ับเลือดทีม่ กี ๏าซออกซิเจนต่าจากรํางกาย แลว๎ เขา๎ สูํ
หวั ใจหอ๎ งลาํ ง
1.2 หวั ใจหอ๎ งลําง (ventricle) ทาหนา๎ ท่สี ูบฉดี เลือดท่ีมีกา๏ ซออกซิเจนตา่ ไปยงั เหงือก
2.เหงือก (gill) ทาหนา๎ ทแ่ี ละเปล่ยี นก๏าซออกซิเจนในน้ากับเลือด เลอื ดที่ผาํ นเหงือก จะมีกา๏ ซ
ออกซเิ จนสูง แลว๎ สํงเลอื ดท่ีมีก๏าซออกซิเจนสงู ไปเล้ียงรํางกาย
3. เส๎นเลือด (blood vessel) ทาหน๎าทน่ี าเลือดเขา๎ และออกจากเหงือก และแลกเปลย่ี นสารและ
กา๏ ซทางเสน๎ เลอื ดฝอย
การลาเลยี งสารในสัตวค์ ร่ึงบกคร่งึ น้า
สตั วค์ รึง่ บกคร่งึ น้ามรี ะบบหมุนเวียนเลือดแบบวงจรปิดที่มวี ิวฒั นาการเพิม่ มากขน้ึ ซงึ่ ประกอบด๎วย สํวนตํางๆดังนี้
1. หัวใจมี 3 ห๎อง คอื
1.1 หวั ใจห้องบน (right atrium) ทาหนา๎ ทรี่ ับเลือดท่ใี ชแ๎ ล๎วจากรํางกายซงึ่ มีออกซิเจนต่า
สํงไปยงั หวั ใจหอ๎ งลําง
1.2 หวั ใจห้องบนซา้ ย (left atrium) ทาหนา๎ ทรี่ ับเลือดที่มีออกซิเจนสูงจากปอดและผวิ หนัง
สงํ ไปยงั หัวใจหอ๎ งลาํ ง เพื่อไปเลย้ี งรํางกายตํอไป

26
1.3 หัวใจห๎องลําง (ventricle) มี 1หอ๎ ง ทาหน๎าทสี่ งํ เลือดทั้งทีม่ ีออกซเิ จนสงู และออกซเิ จน
ตา่ ดงั นั้นเลือดทั้ง 2 ชนดิ จึงปะปนกนั บ๎าง การทางานของหัวใจหอ๎ งลาํ งเป็นดังน้ี

1.3.1 รบั เลือดจากหวั ใจห๎องบนขวาทม่ี ีออกซเิ จนต่า แลว๎ สงํ เลือดท่ีมีออกซเิ จนตา่
ไปสํูผวิ หนัง และปอดเพ่ือและเปล่ยี นกา๏ ซ

1.3.2 รบั เลือดจากหวั ใจห๎องบนซ๎ายที่มีออกซเิ จนสูงแลว๎ สํงเลือดทีม่ ีออกซเิ จนสงู
ไปเล้ยี งรํางกาย

2. เลือด (blood) มสี ีแดง
3. เสน๎ เลือด (blood vessel) มี 3 ชนิด คอื

3.1 เสน๎ เลอื ดอาร์เทอรี (artery) ทาหนา๎ ทล่ี าเลียงสารไปเล้ียราํ งกาย
3.2 เสน๎ เลือดเวน (vein) ทาหนา๎ ทีร่ ับเลอื ดทร่ี ํางกายใชแ๎ ลว๎ กลบั เข๎าสูํหวั ใจ
3.3 เสน๎ เลือดฝอย (carpillary) ทาหนา๎ ท่ีแลกเปลีย่ นสารระหวํางเลอื ดกับเนอ้ื เยื่อ หรือ
เซลล์ของราํ งกาย
4. ปอด (lung) ทาหนา๎ ทแ่ี ลกเปล่ียนก๏าซ
5. ผวิ หนงั (skin) ทาหนา๎ ท่ีแลกเปลยี่ นก๏าซเชํนเดียวกับปอด
การลาเลยี งสารในสตั ว์เลอ้ื ยคลาน
สัตว์เลอื้ ยคลานมีระบบหมนุ เวยี นเลอื ดแบบวงจรปดิ ที่มีววิ ัฒนาการเพิ่มขนึ้ มาจากสตั วค์ รึง่ บกคร่งึ น้า
ซึ่งประกอบดว๎ ยสวํ นตาํ งๆดงั นี้
1. หัวใจ (heart) มี 3 ห๎อง หรอื 4 ห๎องไมํสมบูรณ์ (ยกเวน๎ จระเขม๎ ี 4 หอ๎ งสมบูรณ์) หอ๎ งบน
มี 2 ห๎อง และห๎องลาํ งมี 1 หอ๎ ง มผี นงั กนั ไมํสมบูรณ์
2. เส๎นเลอื ด (blood vessel)
3. เลือด (blood)
4. ปอด (lung) ทาหน๎าทแี่ ลกเปลี่ยนก๏าซตลอดชวี ิต
การหมุนเวียนเลอื ดของสัตวเ์ ลอื้ ยคลานคลา๎ ยคลงึ กับสตั วค์ รง่ึ บกครึง่ นา้ แตเํ ลอื ดท่มี ีออกซิเจน ต่าและ
เลอื ดท่มี ีออกซเิ จนสงู จะผาํ นหัวใจหอ๎ งลํางทมี่ ฝี าก้นั หอ๎ งแบงํ ไมํสมบูรณ์ จงึ ทาให๎ปะปนกัน
การลาเลยี งสารในสตั วพ์ วกนกและสตั ว์เลยี้ งลกู ด๎วยนา้ นม
สตั วพ์ วกนกและสตั วเ์ ล้ียงลูกดว๎ ยนมมหี วั ใจ 4 ห๎องสมบรู ณ์ คอื ห๎องบน 2 หอ๎ ง และ ห๎องลาํ ง 2ห๎อง
ซ่งึ นับวาํ มวี วิ ัฒนาการสงู สดุ มีประสทิ ธภิ าพในการทางานสูง เพราะสามารถแยกเลอื ดทีม่ ีออกซิเจนต่า และเลือดทม่ี ี
ออกซเิ จนสูงออกจากกันโดยเดด็ ขาด

27
ระบบร่างกายมนษุ ย์
โครงสรา๎ งการทางานของรํางกายมนษุ ย์

ในการศึกษาทางจติ วิทยา จาเป็นอยํางยง่ิ ทีจ่ ะทาความเขา๎ ใจเกี่ยวกบั พฤติกรรมตําง ๆ ของมนุษย์ ซงึ่ การท่ี
มนษุ ย์จะแสดงพฤติกรรมใดๆ ออกมานน้ั เป็นเพราะระบบการทางานของรํางกาย ไมํวาํ นักปรัชญาและนักวทิ ยาศาสตร์
ซงึ่ ได๎ทาการศึกษาค๎นคว๎ามาเป็นระยะเวลายาวนานตํางมคี วามคิดเห็นตรงกันวาํ ราํ งกายมนษุ ย์ สตั ว์ หรอื พชื ท้ังหลาย
จะมีโครงสรา๎ งที่ประกอบขนึ้ จากหนํวยที่เลก็ ทสี่ ุดท่ีไมสํ ามารถมองเห็นไดด๎ ๎วยตาเปลําจนกระทั่งถึงสํวนประกอบ
ท่ีใหญทํ ี่สดุ แตลํ ะสํวนจะมีการทางานที่สมั พนั ธ์กนั โดยไมํมีสํวนใดที่สามารถทางานอยํางอิสระยกเว๎นเม็ดเลือด
โดยประมาณได๎วํา 75 ถงึ 80 เปอร์เซน็ ตข์ องรํางกายผ๎ใู หญํประกอบด๎วยนา้ สํวนทเี่ หลือเปน็ สารประกอบทางเคมี
สารประกอบเหลาํ นีร้ วมตวั กนั เปน็ เซลล์ หลายรอ๎ ยชนิด ซง่ึ เปน็ หนํวยพน้ื ฐานที่เลก็ ท่สี ดุ ของราํ งกาย มนุษย์เป็น
สิ่งมชี วี ิต ทีม่ โี ครงสร๎างสลับซับซอ๎ นทส่ี ุดในบรรดาส่ิงมีชีวติ ทั้งหลายบนพ้ืนโลก โดยเฉล่ียแล๎วรํางกายมนษุ ย์ประกอบ
ด๎วยเซลล์ 80–100 ลา๎ นล๎านเซลล์แตํละชุดจะถูกกาหนดให๎มกี ารเจรญิ เตบิ โตและทาหน๎าที่เฉพาะ โดยเซลล์ชนดิ
เดียวกันจะรวมตวั เปน็ เนอื้ เย่อื (tissues) เนอ้ื เยอ่ื หลาย ๆ ประเภทเมื่อมาทางานรํวมกัน เรียกวําอวยั วะ (organ)
แตํละอวยั วะเมอ่ื ทางานรวํ มกันเรยี กวําระบบ (system) ดังนัน้ เมอื่ เซลลม์ ารวมกลมุํ เป็นเนอื้ เยอ่ื พเิ ศษ เชํน กลา๎ มเนื้อ
เส๎นประสาท กระดูก ฯลฯ เน้ือเย่อื เหลาํ นี้จะทางานรวํ มกนั เปน็ อวัยวะและในทส่ี ุดอวยั วะเหลํานี้จะถูกจัดสรรเป็น
ระบบตําง ๆ ของรํางกาย เชนํ ระบบกลา๎ มเน้ือ ระบบตอํ มตําง ๆ และระบบประสาท เปน็ ตน๎ ระบบตําง ๆ ในราํ งกาย
ระบบตําง ๆ ในรํางกายมีการทางานท่ีสัมพันธ์กนั เพ่อื ใหม๎ นุษย์สามารถดารงชีวิตได๎อยํางปกติ การทางานของระบบ
ภายในราํ งกาย อาจจาแนกออกได๎เปน็ 6 ระบบ ดงั นี้

1. ระบบยํอยอาหาร (Digestive System) ทาหนา๎ ท่ียํอยสลายอาหารทรี่ บั ประทานเขา๎ ไปให๎เป็นสารอาหาร
และดดู ซมึ เขา๎ สกูํ ระแสเลือดเพือ่ ไปเล้ยี งสวํ นตําง ๆ ของราํ งกาย

2. ระบบหมุนเวียนโลหิตและภมู คิ ๎ุมกัน (Circulatory System) ทาหนา๎ ท่นี าอาหารและออกซิเจนไปเลย้ี ง
เซลลต์ าํ ง ๆ ทัว่ ราํ งกาย และนาคาร์บอนไดออกไซด์กับของเสยี จากเซลล์มาขับทิ้ง นอกจากนี้ ยงั นาฮอรโ์ มนทีผ่ ลติ ได๎
จากตอํ มไร๎ทํอเพ่อื สงํ ไปยังอวัยวะตาํ ง ๆ ของราํ งกาย

3. ระบบหายใจ (Respiratory System) ทาหน๎าที่รับออกซิเจนจากภายนอกเขา๎ สรํู ํางกายและนา
คาร์บอนไดออกไซด์จากภายในออกมาขบั ทิ้งสภูํ ายนอกรํางกาย โดยอาศัยระบบไหลเวยี นโลหิตเป็นตัวกลางในการ
ลาเลยี งแก๏ส

4. ระบบกาจัดของเสีย ระบบผิวหนงั (Intergumentary System) ทาหน๎าท่หี ํอหุ๎มปกคลมุ ราํ งกาย
ประกอบดว๎ ยผิวหนัง (Skin) และอวัยวะที่เปลี่ยนแปลงมาจากผิวหนงั เชํน ขน ผม เลบ็ ตอํ มเหงื่อ ตอํ มน้ามนั
ระบบขบั ถาํ ย (Excretory System) ทาหนา๎ ท่ีขับถาํ ยของเสยี ทร่ี าํ งกายไมํต๎องการใหอ๎ อกจากรํางกายการกาจดั ของ
เสียในราํ งกายเกดิ ขึ้นได๎หลายทาง เชํน ทางไต ทางผิวหนงั ทางปอด ทางลาไส๎ใหญํ

5. ระบบประสาท (Nervous System) เป็นระบบท่ีทาหนา๎ ท่ีควบคุมการทางานของทุกระบบในรํางกาย ให๎
สมั พันธ์กนั โดยทางานรํวมกับระบบตํอมไร๎ทอํ นอกจากน้ียงั ทาหน๎าทีร่ ับและตอบสนองตํอส่ิงเร๎าภายนอก

6. ระบบสืบพนั ธ์ุ (Reproductive System) ทาหน๎าทีส่ บื ทอด ดารงและขยายเผําพนั ธุ์ ใหม๎ จี านวนมากข้ึน
เพ่ือไมํให๎ส่งิ มีชวี ติ สูญพนั ธ์ุ

28
1.ระบบย่อยอาหาร

อาหารประเภทตาํ งๆท่ีเราบริโภคโดยเฉพาะสารอาหารทใ่ี ห๎พลังงานแกํราํ งกาย คอื คารโ์ บไฮเดรตโปรตีนและ
ไขมนั ล๎วนแตมํ ีโมเลกลุ ขนาดใหญเํ กินกวําท่จี ะลาเลียงเขา๎ สํเู ซลลส์ วํ นตาํ งๆของราํ งกายได๎ ยกเว๎นวิตามนิ และเกลอื แรํ
ซึ่งมีอนุภาคขนาดเล็กจึงจาเป็นตอ๎ งมีอวัยวะและกลไกการทางานตาํ งๆที่จะทาใหโ๎ มเลกลุ ของสารอาหาร เหลํานั้นมี
ขนาดเลก็ ลงจนสามารถลาเลียงเขา๎ สเูํ ซลลไ์ ด๎ เรียกวาํ “การยอํ ย ”

การยอํ ยอาหาร หมายถึง การทาให๎สารอาหารทมี่ ีโมเลกลุ ขนาดใหญํกลายเปน็ สารอาหารทมี่ ีโมเลกุลเลก็ ลง
จนกระทัง่ แพรผํ ํานเยื่อหุม๎ เซลลไ์ ด๎ การยอํ ยอาหารในรํางกายมี 2 วธิ ี คอื 1. การยํอยเชงิ กล คือการบดเค้ยี วอาหารโดย
ฟัน เปน็ การเปลีย่ นแปลงขนาดโมเลกลุ ทาให๎สารอาหารมขี นาดเล็กลง 2. การยํอยเชิงเคมี คอื การเปล่ียนแปลงขนาด
โมเลกลุ ของสารอาหารโดยใชเ๎ อนไซม์ทเี่ ก่ยี วข๎องทาใหโ๎ มเลกุลของสารอาหารเกิดการเปล่ียนแปลงทางเคมีไดโ๎ มเลกลุ ที่
มขี นาดเลก็ ลง ดังภาพที่ 1.20

ภาพท่ี 1.20 ระบบยํอยอาหาร
1.1 อวัยวะท่ีมีสวํ นเก่ียวข๎องกับการยํอยอาหาร

1.1.1 ตบั มีหน๎ามส่ี รา๎ งน๎าดสี ํงไปเกบ็ ท่ถี งุ น๎าดี
1.1.2 ตบั อํอน มีหนา๎ ท่สี รา๎ งเอนไซม์สํงไปยํอยอาหารที่ลาไสเ๎ ล็ก
1.1.3 ลาไสเ๎ ล็ก สร๎างเอนไซม์มอลเทส ซเู ครส และแลค็ เทสยํอยอาหารทล่ี าไสเ๎ ล็ก
เอนไซม์ (Enzyme) เปน็ สารประกอบประเภทโปรตีนทีร่ ํางกายสร๎างขึน้ เพื่อทาหน๎าทเี่ รํงอตั ราการ
เกิดปฏกิ ิริยาเคมใี นรํางกาย เอนไซม์ทใี่ ชใ๎ นการยอํ ยสารอาหารเรียกวํา “ นา้ ยอํ ย ”เอนไซม์มีสมบตั ิท่ีสาคญั ดังนี้

1) เป็นสารประเภทโปรตนี ทส่ี รา๎ งขนึ้ จากเซลล์ของสิง่ มชี วี ิต
2) ชวํ ยเรํงปฏกิ ิริยาในการยํอยอาหารให๎เร็วข้ึนและเมื่อเรงํ ปฏิกริ ยิ าแลว๎ ยงั คงมีสภาพเดิม
สามารถใชเ๎ รํงปฏิกริ ยิ าโมเลกุลอนื่ ได๎อีก

29

3) มีความจาเพาะตํอสารท่เี กิดปฏกิ ริ ยิ าชนิดหนง่ึ ๆ

4) เอนไซมจ์ ะทางานได๎ดีเมอื่ อยใูํ นสภาวะแวดลอ๎ มท่เี หมาะสม

การทางานของเอนไซม์ จาแนกได๎ดงั น้ี

1. เอนไซม์ในน้าลาย ทางานได๎ดีในสภาวะเปน็ เบสเลก็ นอ๎ ยเปน็ กลางหรือกรดเล็กน๎อยจะ

ขนึ้ อยกูํ ับชนิดของนา้ ตาลและทอ่ี ุณหภูมปิ กติของรํางกายประมาณ 37 องศาเซลเซียส

2. เอนไซม์ในกระเพาะอาหาร ทางานไดด๎ ีในสภาวะเป็นกรดและท่ีอณุ หภูมิปกติของราํ งกาย

3. เอนไซม์ในลาไสเ๎ ล็ก ทางานไดด๎ ใี นสภาวะเป็นเบสและอุณหภูมปิ กติราํ งกาย

สารอาหารท่มี ีโมเลกุลขนาดใหญํจะถูกยอํ ยให๎มีขนาดโมเลกุลเลก็ ที่สุด ดงั นี้

คาร์โบไฮเดรต กลูโคส

โปรตนี กรดอะมิโน

ไขมนั กรดไขมันและกลีเซอรอล

1.2 อวยั วะทีเ่ ปน็ ทางเดินอาหาร ทาหน๎าท่ใี นการรับและสํงอาหารโดยเริ่มจาก ปาก คอหอย หลอดอาหาร
กระเพาะ ลาไส๎เลก็ ลาไสใ๎ หญํ ทวารหนัก ดงั ภาพท่ี 1.21

ภาพท่ี 1.21 อวัยวะทางเดนิ อาหาร

เม่ือรับประทานอาหารอาหารจะเคลื่อนที่ผ่านอวยั วะท่ีเก่ียวข้องกบั ทางเดนิ อาหารเพ่ือเกิดการยอ่ ย
ตามลาดบั ดงั ตอ่ ไปน้ี

1.2.1 ปาก ( mouth) มีการยํอยเชงิ กล โดยการบดเคยี้ วของฟนั และมีการยํอยทางเคมโี ดย
เอนไซม์อะไมเลสหรอื ไทยาลีน ซึ่งทางานไดด๎ ใี นสภาพทีเ่ ป็นเบสเล็กนอ๎ ย ยํอยแป้ง นา๎ ตาลมอลโตส (maltose)

30

ตอํ มนา้ ลายมี 3 คูํ ไดแ๎ กํ ตํอมนา้ ลายใตล๎ น้ิ 1 คูํ ตํอมน้าลายใต๎ขากรรไกรลําง 1 คํู ตํอมน้าลายใตก๎ กหู 1 คูํ ตํอม

นา้ ลายจะผลิตนา้ ลายไดว๎ ันละ 1 – 1.5 ลิตร

1.2.2 คอหอย (pharynx) เปน็ ทางผํานของอาหาร ซ่ึงไมํมีการยอํ ยใดๆ ท้ังสิน้

1.2.3 หลอดอาหาร(esophagus) มีลกั ษณะเปน็ กลา๎ มเนื้อเรียบมกี ารยํอยเชงิ กลโดยการบีบตัวของ

กล๎ามเนือ้ ทางเดนิ อาหาร เป็นชํวงๆ เรยี กวาํ “เพอริสตัสซสิ (peristalsis)” เพื่อให๎อาหารเคล่ือนทล่ี งสกูํ ระเพาะอาหาร

1.2.4 กระเพาะอาหาร(stomach) มกี ารยํอยเชิงกลโดยการบบี ตัวของกลา๎ มเนื้อทางเดนิ อาหารและ

มีการยอํ ยทางเคมีโดยเอนไซม์เพปซิน (pepsin) ซงึ่ จะทางานได๎ดใี นสภาพที่เป็นกรด โดยชั้นในสุดของกระเพาะจะมี

ตํอมสรา๎ งนา้ ยํอยซึง่ มเี อนไซม์เพปซินและกรดไฮโดรคลอริก เป็นสวํ นประกอบเอนไซมเ์ พปซินจะยอํ ยโปรตีนให๎เปน็

เพปไทด์ (peptide)ในกระเพาะอาหารน้ียงั มีเอนไซมอ์ ยํูอีกชนิดหน่ึงชื่อวาํ “ เรนนนิ '' ทาหนา๎ ท่ยี อํ ยโปรตนี ในนา้ นม

ในขณะที่ไมมํ ีอาหาร กระเพาะอาหารจะมีขนาด 50 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร แตเํ มอ่ื มีอาหารจะมีการขยายได๎อีก 10–40

เทํา สรปุ การยํอยท่ีกระเพาะอาหารจะมกี ารยํอยโปรตีนเพียงอยาํ งเดียวเทํานัน้

1.2.5 ลาไส๎เล็ก (small intestine) เปน็ บรเิ วณทมี่ ีการยอํ ยและการดูดซึมมากทสี่ ดุ โดยเอนไซมใ์ น

ลาไส๎เล็กจะทางานได๎ดีในสภาพท่เี ปน็ เบส ซงึ่ เอนไซมท์ ลี่ าไส๎เลก็ สร๎างข้ึน ไดแ๎ กํ

1) มอลเทส (maltase) เปน็ เอนไซม์ที่ยํอยน๎าตาลมอลโทสใหเ๎ ป็นกลโู คส

2) ซูเครส (sucrase) เป็นเอนไซม์ที่ยํอยนา๎ ตาลทรายหรือน๎าตาลซูโครส (sucrose) ให๎เป็น

กลโู คสกบั ฟรักโทส (fructose)

3) แลก็ เทส (lactase) เป็นเอนไซม์ทย่ี ํอยนา๎ ตาลแล็กโทส (lactose) ให๎เป็นกลโู คสกบั กา

แล็กโทส (galactose)

การยํอยอาหารที่ลาไส๎เลก็ ใช๎เอนไซม์จากตบั อํอน (pancreas) มาชวํ ยยํอย เชนํ

- ทรปิ ซนิ (trypsin) เปน็ เอนไซม์ทยี่ ํอยโปรตีนโปรตีนหรอื เพปไทด์ใหเ๎ ป็นกรดอะมโิ น

- อะไมเลส (amylase) เปน็ เอนไซมท์ ย่ี ํอยแป้งให๎เปน็ นา๎ ตาลมอลโทส

- ไลเปส (lipase) เป็นเอนไซม์ที่ยํอยไขมันให๎เปน็ กรดไขมนั และกลเี ซอรอล

น้าดี (bile) เปน็ สารทผี่ ลติ มาจากตบั (liver) แล๎วไปเก็บไวท๎ ถ่ี งุ นา้ ดี (gall bladder) น้าดไี มใํ ชํ

เอนไซม์เพราะไมใํ ชสํ ารประกอบประเภทโปรตนี น้าดีจะทาหน๎าท่ียอํ ยโมเลกุลของโปรตนี ใหเ๎ ล็กลงแล๎วน้ายํอยจากตับ

ออํ นจะยอํ ยตํอทาให๎ได๎อนุภาคทีเ่ ล็กที่สดุ ทส่ี ามารถแพรเํ ขา๎ สเํู ซลล์

ตาแหนงํ สารท่ยี อํ ย น้ายํอย สารท่ีได๎

ปาก แปง้ ไทยาลิน (อะไมเลส) เดกซต์ ริน

กระเพาะ โปรตนี เปปซิน กรดอะมิโน

ลาไส๎เล็ก แป้ง amylase สร๎างจาก มอลโทส

ไขมัน lipase ตบั ออํ น กรดไขมนั +กลเี ซอรอล

โปรตีน trypsin เปปไทด,์ กรดอะมโิ น

พอลเิ ปปไทด์ chymotrypasin เปปไทด,์ กรดอะมโิ น

เปปไทด์ caboxypeptidase กรดอะมโิ น

31

(ตอ่ ) สารที่ยํอย น้ายํอย สารที่ได๎
แป้ง มอลโทส
ตาแหนํง ตาลโมเลกลุ คํู นา้ ตาลโมเลกลุ เดี่ยว
เปปไทด์ กรดอะมิโน
amylase สร๎างจาก

Disaccharase ผนงั ลาไส๎

peptidase เลก็

อาหารเมื่อถูกยอํ ยเปน็ โมเลกุลเลก็ ทสี่ ดุ แลว๎ จะถกู ดูดซึมที่ลาไส๎เล็ก โดยโครงสร๎างท่เี รียกวํา “วิลลสั ( villus)”
ซึ่งมีลกั ษณะคลา๎ ยน้วิ มอื ยนื่ ออกมาจากผนงั ลาไส๎เล็ก ทาหนา๎ ที่เพิม่ พื้นท่ีผวิ ในการดูดซึมอาหาร

1.2.6 ลาไสใ๎ หญํ (large intestine ) ทล่ี าไสใ๎ หญํไมํมีการยํอย แตทํ าหนา๎ ทเ่ี ก็บกากอาหารและดดู ซมึ
นา้ ออกจากกากอาหาร ดงั นั้น ถา๎ ไมํถาํ ยอุจจาระเป็นเวลาหลายวนั ตดิ ตํอกันจะทาให๎เกิดอาการทอ๎ งผูก ถา๎ เปน็ บํอยๆ
จะทาให๎เกดิ โรครดิ สีดวงทวาร

2.ระบบหมนุ เวียนเลอื ดและภมู ิคมุ้ กนั
2.1 เลือด (Blood) ประกอบด๎วย 2 สํวน คือ สํวนท่ีเป็นของเหลว 55 เปอรเ์ ซ็นต์ ซึง่ เรียกวํา “น้าเลือดหรือ

พลาสมา (plasma)”และสวํ นท่เี ป็นของแข็งมี 45 เปอรเ์ ซ็นต์ ซง่ึ ได๎แกํ เซลลเ์ มด็ เลือดและเกลด็ เลือด
2.1.1 น้าเลือดหรือพลาสมา ประกอบด๎วยนา้ ประมาณ 91 เปอรเ์ ซน็ ต์ ทาหนา๎ ทล่ี าเลยี งเอนไซม์

ฮอร์โมน แกส๏ แรํธาตุ วิตามินและสารอาหารประเภทตํางๆทผ่ี ํานการยอํ ยอาหารมาแลว๎ ไปให๎เซลลแ์ ละรบั ของเสียจาก
เซลล์ เชํน ยเู รยี แกส๏ คาร์บอนไดออกไซด์ น้า สํงไปกาจดั ออกนอกรํางกาย

2.1.2 เซลล์เม็ดเลอื ด ประกอบดว๎ ย
1) เซลล์เมด็ เลอื ดแดง (red blood cell) มลี ักษณะคํอนข๎างกลมตรงกลางจะเว๎าเข๎าหากัน

(คลา๎ ยขนมโดนัท) เนอื่ งจากไมมํ นี ิวเคลยี ส องค์ประกอบสํวนใหญํ เป็นสารประเภทโปรตีนท่ีเรยี กวํา “ฮโี มโกลบนิ ”
ซึ่งมสี มบตั ิในการรวมตวั กบั แกส๏ ตาํ งๆ ไดด๎ ี เชนํ แกส๏ ออกซิเจน แก๏สคารบ์ อนไดออกไซด์ หนา๎ ท่ี แลกเปล่ียนแกส๏ โดย
จะลาเลยี งก๏สออกซิเจน ไปยงั สวํ นตํางๆ ของรํางกาย และลาเลยี งแกส๏ คารบ์ อนไดออกไซด์จากสํวนตาํ งๆ ของราํ งกาย
กลับไปทปี่ อด แหลงํ สร๎างเมด็ เลือดแดง คือ ไขกระดกู ผ๎ชู ายจะมีเซลล์เมด็ เลือดแดงมากกวําผู๎หญิง เซลล์เม็ดเลอื ดแดง
มีอายุประมาณ 110-120 วัน หลงั จากนัน้ จะถูกนาไปทาลายที่ตับและม๎าม

2) เซลลเ์ ม็ดเลือดขาว (white blood cell) มีลกั ษณะคํอนข๎างกลม ไมํมสี ีและมนี วิ เคลียส
เม็ดเลือดขาวในราํ งกายมอี ยํูด๎วยกันหลายชนดิ หนา๎ ท่ี ทาลายเชื้อโรคหรือสารแปลกปลอมท่ีเขา๎ มาสูํราํ งกาย แหลํงท่ี
สร๎างเมด็ เลอื ดขาว คือ มา๎ ม ไขกระดูก และตอํ มน๎าเหลือง มีอายุประมาณ 7-14 วนั

2.1.3 เกลด็ เลอื ดหรือแผนํ เลือด (blood pletelet) ไมํใชเํ ซลล์แตเํ ป็นชน้ิ สํวนของเซลล์ซง่ึ มรี ูปราํ ง
กลมรีและแบนเกล็ดเลือดมีอายปุ ระมาณ 4วัน หนา๎ ที่ ชวํ ยใหเ๎ ลือดแข็งตัวเมือ่ มกี ารไหลของเลือดจากหลอดเลอื ดออก
สํภู ายนอก

2.2 หัวใจ (Heart) ทาหน๎าที่ สบู ฉีดเลือดไปยังสวํ นตํางๆ ของราํ งกาย โดยทาใหเ๎ กิดความดนั เลอื ดในหลอด
เลือดแดงเพ่ือให๎เลือดเคลอ่ื นทีไ่ ปยังอวยั วะสวํ นตํางๆ ของราํ งกายไดท๎ ว่ั ถงึ ดังภาพที่ 1.22

32
ภาพที่ 1.22 ระบบการทางานของหวั ใจ

33
2.3 วงจรการไหลเวียนเลือด
วงจรการไหลเวยี นเลือด เรม่ิ จากหัวใจห๎องบนซ๎ายรบั เลอื ดท่ีมีปริมาณออกซเิ จนสงู จากปอดแลว๎ บีบตวั ดนั ผําน
ลนิ้ หวั ใจลงสหูํ วั ใจห๎องลาํ งซ๎ายแลว๎ บบี ตัวดันเลือดไปยังสํวนตํางๆของราํ งกายและเปล่ียนเปน็ เลือดทมี่ ี
คารบ์ อนไดออกไซด์สงู หรือเลือดดาไหลผํานหลอดเลือดดาหวั ใจห๎องบนขวาแลว๎ บบี ตัวดันผํานลน้ิ หัวใจลงสหํู อ๎ งลาํ ง
ขวา แล๎วกลับเขา๎ สูํปอดเพื่อแลกเปล่ียนแกส๏ คาร์บอนไดออกไซด์ใหเ๎ ป็นแก๏สออกซเิ จน เปน็ วัฏจกั รการหมนุ เวียนเลอื ด
ในรํางกายเชํนน้ีตลอดไป ดังภาพท่ี 1.23

ภาพที่ 1.23 วัฏจักรการหมุนเวยี นเลอื ดในรํางกาย
2.4 หลอดเลือด ทาหนา๎ ท่ลี าเลยี งเลือดจากหวั ใจไปยงั อวยั วะสํวนตํางๆ ท่ัวราํ งกาย และเป็นเสน๎ ทางให๎เลอื ด
จากอวัยวะตาํ งๆ ทั่วราํ งกายกลบั เข๎าสูหํ ัวใจ หลอดเลอื ดในรํางกายมี 3 ชนดิ

2.4.1 หลอดเลือดแดง (artery) เป็นหลอดเลือดที่นาเลอื ดดีจากหัวใจไปสเูํ ซลลต์ าํ งๆ ของราํ งกาย
หลอดเลอื ดแดงมผี นงั หนาแข็งแรง และไมมํ ีล้ินกัน้ ภายใน เลอื ดท่อี ยํูในหลอดเลือดแดงเป็นเลอื ดทีม่ ีปริมาณแกส๏
ออกซเิ จนสูงหรอื เรยี กวาํ “ เลอื ดแดง ”ยกเวน๎ หลอดเลือดแดงท่ีนาเลอื ดออกจากหัวใจไปยงั ปอดภายในเป็นเลือดท่ีมี
ปรมิ าณแกส๏ คาร์บอนไดออกไซด์มากหรือเรยี กวํา “ เลือดดา ”

2.4.2 หลอดเลอื ดดา (vein) เปน็ หลอดเลอื ดท่ีนาเลือดดาจากสํวนตาํ งๆ ของรํางกายเข๎าสูหํ วั ใจ
หลอดเลือดมผี นงั บางกวําหลอดเลือดแดง มีล้นิ กนั้ ภายในเพื่อป้องกนั เลือดไหลย๎อนกลับ เลือดทไ่ี หลอยํูภายในหลอด
เลอื ดจะเปน็ เลือดท่ีมีปรมิ าณแกส๏ ออกซิเจนต่า ยกเว๎นหลอดเลือดดาท่ีนาเลือดจากปอดเขา๎ สูหํ ัวใจ จะเปน็ เลือดแดง

2.4.3 หลอดเลอื ดฝอย (capillary) เป็นหลอดเลือดท่ีเช่ือมตอํ ระหวํางหลอดเลอื ดแดงและหลอด
เลือดดาสานเป็นรํางแหแทรกอยตํู ามเนื้อเย่ือตาํ งๆ ของราํ งกาย มีขนาดเล็กและละเอยี ดเป็นฝอยและมผี นังบางมาก
เป็นแหลํงทีม่ กี ารแลกเปลี่ยนแก๏สและสารตํางๆ ระหวาํ งเลอื ดกับเซลล์

2.5 ความดันเลอื ด ( blood pressure) หมายถงึ ความดันในหลอดเลือดแดงเป็นสวํ นใหญํเกิดจากบีบตวั
ของหัวใจทดี่ นั เลือดให๎ไหลไปตามหลอดเลือดความดันของหลอดเลอื ดแดงที่อยํูใกล๎หวั ใจจะมีความดนั สงู กวาํ หลอด
เลือดแดงทอี่ ยูํไกลหัวใจ สวํ นในหลอดเลือดดาจะมีความดนั ตา่ กวําหลอดเลือดแดงเสมอความดนั เลือดมหี นํวยวดั
เป็นมิลลเิ มตรปรอท (mmHg) เปน็ ตวั เลข 2 คําคอื

34
2.5.1 คําความดันเลอื ดขณะหัวใจบบี ตัว และคาํ ความดนั เลือดขณะหวั ใจคลายตัว เชนํ 120/80
มลิ ลิเมตรปรอท
2.5.2 คาํ ตวั เลข 120 แสดงคําความดันเลือดขณะหวั ใจบีบตัวให๎เลือดออกจากหวั ใจ เรียกวาํ ความ
ดันระยะหัวใจบีบตัว (Systolic Pressure)
2.5.3 สวํ นตัวเลข 80 แสดงความดนั เลอื ดขณะหัวใจคลายตวั เพ่อื รับเลือดเขา๎ สหํู วั ใจ เรยี กวํา ความ
ดนั ระยะหวั ใจคลายตวั (Diastolic Pressure)
เครอ่ื งมอื วัดความดันเลอื ดเรียกวาํ “ มาตรความดันเลือด จะใชค๎ ํกู บั สเตตโตสโคป (stetoscope)''
โดยจะวดั ความดันทหี่ ลอดเลอื ดแดง ปกติความดันเลือดสูงสดุ ขณะหัวใจบบี ตัวให๎เลือดออกจากหวั ใจมีคาํ 100 + อายุ
และความดนั เลือดขณะหัวใจรับเลือดไมํควรเกนิ 90 มิลลิเมตรปรอท ถ๎าเกินจะเป็นโรคความดันเลือดสงู ซึ่งมีสาเหตุ
หลายประการ เชํน หลอดเลอื ดตีบตัน คอเลสเตอรอลในเลือดสงู โกรธงาํ ยหรอื เครยี ดอยํูเป็นประจา พบมากใน
ผสู๎ งู อายหุ รือผ๎ทู ี่มีจิตใจอยูํในสภาวะเครยี ด นอกจากน้ียงั เกดิ จากอารมณ์โกรธทาให๎ราํ งกายผลติ สารชนดิ หนงึ่ ออกมา
ซ่ึงสารนจ้ี ะมผี ลตํอการบบี ตวั ของหัวใจโดยตรง
2.6 ชพี จร หมายถงึ การหดตัวและการคลายตวั ของหลอดเลอื ดแดง ซงึ่ ตรงกับจังหวะการเต๎นของหวั ใจคน
ปกตหิ ัวใจเต๎นเฉลย่ี ประมาณ 72 ครง้ั ตํอนาที การเตน๎ ของชีพจรแตลํ ะคนจะแตกตาํ งกนั ปกติอัตราการเต๎นของชีพจร
ในเพศชายจะสูงกวาํ เพศหญงิ ปัจจัยทม่ี ผี ลตอํ ความดนั เลอื ด มีดงั นี้
2.6.1 อายุ ผ๎สู งู อายุมีความดันเลือดสงู กวาํ เด็ก
2.6.2 เพศ เพศชายมคี วามดนั เลือดสูงกวาํ เพศหญิง ยกเว๎นเพศหญิงท่ีใกล๎หมดประจาเดือนจะมี
ความดนั เลือด คอํ นขา๎ งสูง
2.6.3 ขนาดของรํางกาย คนที่มรี าํ งกายขนาดใหญํมกั มีความดันเลือดสูงกวาํ คนท่มี รี ํางกายขนาดเลก็
2.6.4 อารมณ์ผ๎ูท่ีมีอารมณ์เครียด วติ กกังวล โกรธหรอื ตกใจงาํ ย ความดันเลอื ดสงู กวาํ คนทีอ่ ารมณ์
ปกติ
2.6.5 คนทางานหนกั และการออกกาลงั กาย ทาใหม๎ คี วามดันเลือดสูง
2.7 ระบบน้าเหลือง สารตาํ งๆในเซลล์จะถูกลาเลยี งกลบั เข๎าสหํู ลอดเลอื ดด๎วยระบบนา้ เหลืองโดยสมั พันธก์ ับ
การไหลของเลือดในหลอดเลือดฝอย ระบบนา้ เหลอื งมีสวํ นประกอบ ดงั น้ี
2.7.1 อวยั วะน้าเหลือง เปน็ ศูนย์กลางผลติ เซลลต์ ํอตา๎ นส่งิ แปลกปลอม ได๎แกํ ตํอมนา้ เหลือง ตอํ ม
ทอนซลิ มา๎ ม และตํอมไทมสั มหี นา๎ ทีผ่ ลติ สารตํอต๎านเช้ือโรค และส่ิงแปลกปลอมที่เข๎าสรูํ ํางกาย
2.7.2 ทอํ น้าเหลือง (lymph vessel) มีหนา๎ ที่นาน้าเหลืองเข๎าสํหู ลอดเลือดดาในระบบหมนุ เวยี น
ของเลือด
2.7.3 นา้ เหลอื ง (lymph) มีลกั ษณะเป็นของเหลวใสอาบอยูํรอบๆ เซลล์ สามารถซึมผํานเขา๎ ออก
ผนังหลอดเลือดฝอยได๎ มีหน๎าท่เี ปน็ ตวั กลางแลกเปล่ยี นสารระหวํางหลอดเลอื ดฝอยกับเซลลไ์ ด๎
2.8 ระบบภมู คิ ุ้มกัน ราํ งกายของคนเราท่ีมีสภาพภูมิคุม๎ กันสิ่งแปลกปลอมทอี่ าจกํอให๎เกิดโรคได๎ราํ งกายซึ่งมี
กลไกกาจัดสง่ิ แปลกปลอมตามธรรมชาติ ดังน้ี
2.8.1 เหง่ือเป็นสารทรี่ ํางกายขบั จากตํอมเหง่ือออกมาท่ีบริเวณผิวหนงั ทว่ั ราํ งกายสามารถป้องกนั
การเจรญิ เติบโต ของแบคทเี รีย และปอ้ งกนั ไมใํ หเ๎ ช้อื โรคเข๎าสรํู าํ งกายทางผิวหนงั

35
2.8.2 นา้ ตาและน้าลาย ชํวยทาลายเช้อื แบคทเี รยี บางชนดิ ได๎
2.8.3 ขนจมกู และน้าเมือกในจมูก ชวํ ยป้องกันฝ่นุ ละอองและเชื้อโรคที่เข๎าสํูรํางกายทางลมหายใจ
2.8.4 เซลล์เม็ดเลือดขาวท่ีอยํูในเซลล์ราํ งกายและทํอนา้ เหลือง สรา๎ งสารตํอตา๎ นเช้ือโรคท่ีเรยี กวํา “
แอนติบอดี (Antibody)” เพ่ือทาลายเชอ้ื โรคที่เขา๎ สํรู ํางกาย
ระบบภมู คิ ๎มุ กันโรคทีร่ ํางกายสรา๎ งขนึ้ เพื่อตํอตา๎ นเฉพาะโรค ที่เขา๎ สรํู าํ งกายนั้นสร๎างได๎ 2 ลกั ษณะ ดังนี้

1) ภมู คิ ๎มุ กันที่รํางกายสรา๎ งขึ้นเอง เปน็ วิธกี ารกระต๎นุ ให๎ราํ งกายสรา๎ งภูมคิ ุ๎มกันจากสง่ิ
แปลกปลอมหรือเช้อื โรค เชนํ การฉีดวคั ซีนคม๎ุ กันโรคอหิวาตกโรค เป็นการกระตน๎ุ ให๎ราํ งกายสร๎างแอนตบิ อดี เพื่อ
ทาลายเช้ืออหิวาตกโรค ทีจ่ ะเขา๎ สรํู ํางกาย เป็นต๎น

2) ภมู คิ ุ๎มกนั ที่รับมา เปน็ วธิ ีการให๎แอนตบิ อดีแกรํ ํางกายโดยตรง เพอื่ ให๎เกดิ ภมู ิค๎ุมกันทนั ที
เชนํ การฉดี เซรมุํ แก๎พิษงู ใชฉ๎ ดี เม่อื ถกู งูกดั จะเกดิ ภมู คิ ุ๎มกนั ทันที
3.ระบบหายใจ การหายใจ (respiration) เป็นการนาอากาศเข๎าและออกจากราํ งกาย สํงผลให๎แก๏สออกซเิ จนทา
ปฏกิ ริ ิยากบั สารอาหารได๎พลังงาน น้า และแก๏สคาร์บอนไดออกไซต์ กระบวนการหายใจเกดิ ขึ้นกับทุกเซลลต์ ลอดเวลา
การหายใจจาเป็นต๎องอาศัยโครงสรา๎ ง 2 ชนดิ คือ กลา๎ มเนื้อกะบงั ลม และกระดูกซีโ่ ครง ซึ่งมกี ลไกการทางานของ
ระบบหายใจ ดังน้ี ดังภาพที่ 1.24

ภาพที่ 1.24 ตาแหนงํ ทีต่ งั้ ของระบบหายใจ

3.1 กลไกการทางานของระบบหายใจ
3.1.1 การหายใจเขา๎ (Inspiration) กะบังลมจะเลื่อนต่าลง กระดูกซโ่ี ครงจะเลื่อนสงู ขึน้ ทาให๎

ปริมาตรของชอํ งอกเพิ่มขน้ึ ความดันอากาศในบรเิ วณรอบ ๆ ปอดลดตา่ ลงกวําอากาศภายนอก อากาศภายนอกจงึ
เคล่อื นเข๎าสจูํ มูก หลอดลม และไปยังถุงลมปอด

36
3.1.2 การหายใจออก (Expiration) กะบงั ลมจะเลอ่ื นสงู กระดูกซโ่ี ครงจะเล่ือนต่าลง ทาให๎ปรมิ าตร
ของชอํ งอกลดน๎อยลง ความดันอากาศในบรเิ วณรอบ ๆ ปอดสูงกวาํ อากาศภายนอก อากาศภายในถุงลมปอดจึง
เคลอื่ นท่ีจากถงุ ลมปอดไปสหูํ ลอดลมและออกทางจมกู
ส่ิงที่กาหนดอัตราการหายใจเข๎าและออก คือ ปริมาณกา๏ ซคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด

1) ถา๎ ปริมาณก๏าซคาร์บอนไดออกไซด์ในเลอื ดในเลอื ดต่าจะทาใหก๎ ารหายใจชา๎ ลง เชํน การ
นอนหลับ

2) ถ๎าปรมิ าณกา๏ ซคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดในเลือดสูงจะทาให๎การหายใจเร็วขึ้น เชํน
การออกกาลังกาย

3.2 การหมนุ เวียนของแกส๊ เป็นการแลกเปลี่ยนก๏าซคาร์บอนไดออกไซด์และก๏าซออกซเิ จน เกิดขนึ้ ท่ี
บริเวณถงุ ลมปอด ด๎วยการแพรํของก๏าซออกซเิ จนไปสูเํ ซลล์ตาํ งๆ ท่ัวราํ งกาย และกา๏ ซออกซเิ จนทาปฏกิ ิริยากับ
สารอาหารในเซลลข์ องรํางกายทาใหไ๎ ด๎พลังงาน นา้ และก๏าซคาร์บอนไดออกไซด์ ดังสมการ

เอนไซม์

ก๏าซคารบ์ อนไดออกไซด์ที่เกดิ จากปฏิกิรยิ าเคมีระหวํางก๏าซออกซเิ จนกับอาหารจะแพรอํ อกจากเซลลเ์ ขา๎ สูํ
หลอดเลือดฝอยและลาเลยี งไปยงั ปอด ก๏าซคาร์บอนไดออกไซด์จะแพรํเขา๎ สํูหลอดลมเล็กๆ ของปอดขับออกจาก
ราํ งกายพร๎อมกบั ลมหายใจออก

3.3 การไอ การจาม การหาวและการสะอึก อาการท่เี กย่ี วข๎องกบั การหายใจมีดงั นี้
3.1.1 การจาม เกดิ จากการหายใจเอาอากาศที่ไมํสะอาดเข๎าไปในราํ งกาย รํางกายจึงพยายามขบั ส่งิ

แปลกปลอมเหลําน้ันออกมานอกราํ งกาย โดยการหายใจเข๎าลึกแล๎วหายใจออกทนั ที
3.2.2 การหาว เกดิ จากการท่ีมีปรมิ าณกา๏ ซคาร์บอนไดออกไซด์สะสมอยูํในเลือดมากเกินไป จึงตอ๎ ง

ขบั ออกจากรํางกาย โดยการหายใจเข๎ายาวและลึก เพื่อรับแกส๏ ออกซิเจนเข๎าปอดและแลกเปลีย่ นก๏าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ออกจากเลือด

3.2.3 การสะอึก เกิดจากกะบังลมหดตัวเป็นจังหวะๆ ขณะหดตัวอากาศจะถูกดนั ผํานลงสํปู อดทันที
ทาให๎สายเสยี งสน่ั เกดิ เสียงขึน้

3.2.4 ไอ เปน็ การหายใจอยํางรุนแรงเพ่ือปอ้ งกนั ไมํให๎สิ่งแปลกปลอมหลุดเข๎าไปในกลํองเสยี งและ
หลอดลม รํางกายจะมีการหายใจเขา๎ ยาวและหายใจออกอยํางแรง

4. ระบบกาจดั ของเสยี
ของเสยี หมายถึง สารท่ีเกิดจากกระบวนการเมแทบอริซึม (metabolism) ภายในราํ งกายของสิ่งมีชวี ติ ที่ ไมํ

มีประโยชนต์ อํ ราํ งกายเชํน น้า แกส๏ คารบ์ อนไดออกไซด์ ยเู รีย เป็นต๎น นอกจากนี้สารทมี่ ีประโยชน์ ป์ ริมาณมากเกินไป
ราํ งกายก็จะกาจัดออก

เมแทบอริซมึ (metabolism) หมายถงึ การบวนการหมนุ เวียนเปลยี่ นแปลงทางชวี เคมีที่เกดิ ขนึ้ ภายในราํ งกาย
ของสิ่งมชี วี ิต

การกาจัดของเสยี ในรํางกายเกดิ ขึน้ ไดห๎ ลายทาง เชนํ ทางไต ทางผวิ หนัง ทางปอด ทางลาไสใ๎ หญํ เปน็ ต๎น

37
4.1 การกาจัดของเสยี ทางไต ไต (Kidney) ทาหน๎าทกี่ าจัดของเสยี ในรปู ของนา้ ปัสสาวะ มี 1 คูํ รูปราํ ง
คลา๎ ยเมล็ดถว่ั ดา อยใูํ นชอํ งท๎องสองข๎างของกระดูกสันหลังระดบั เอว ถา๎ ผาํ ไตตามยาวจะพบวําไตประกอบด๎วยเนอื้ เยื่อ
2 ชน้ั คือเปลือกไตชั้นนอกกับเปลือกไตชนั้ ในมขี นาดยาวประมาณ 10 เซนตเิ มตร กวา๎ ง 6 เซนติเมตร หนา 3
เซนติเมตร บริเวณตรงกลางของไตมสี ํวนเวา๎ เปน็ กรวยไต มีหลอดไตตํอไปยังกระเพาะปสั สาวะ ไตแตํละขา๎ งประกอบ
ด๎วยหนํวยไต (nephron) นับลา๎ นหนวํ ยเป็นทํอท่ขี ดไปมาโดยมีปลายทอํ ขา๎ งหนึ่งตนั เรยี กปลายทอํ ทตี่ นั น้วี าํ
“โบวแ์ มนส์แคปซลู (Bowman s capsule)” ซงึ่ มลี กั ษณะเป็นแองํ คล๎ายถ๎วยภายในแองํ จะมีกลุํมเลือดฝอยพนั กนั เป็น
กระจกุ เรยี กวํา “โกลเมอรลู ัส (glomerulus)” ซึง่ ทาหน๎าที่กรองของเสยี ออกจากเลือดท่ีไหลผํานไต ที่บรเิ วณทํอของ
หนํวยไตจะมีการดดู ซึมสารท่เี ป็นประโยชน์ตํอราํ งกาย เชํน แรํธาตุ นา้ ตาลกลโู คส กรดอะมิโนรวมทัง้ น้ากลบั คืนสํู
หลอดเลือดฝอยและเขา๎ สูหํ ลอดเลือดดา สํวนของเสียอื่นๆ ทเ่ี หลือคือ น้าปสั สาวะ จะถกู สํงมาตามหลอดไตเขา๎ สูํ
กระเพาะปสั สาวะ ซึ่งมคี วามจปุ ระมาณ 500 ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร แตกํ ระเพาะปสั สาวะสามารถที่จะหดตัวขับนา้
ปสั สาวะออกมาได๎ เมอ่ื มีปัสสาวะมาค่ังอยํปู ระมาณ 250 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร ซ่งึ ในวันหนึ่งๆ รํางกายจะขับน้า
ปัสสาวะออกมาประมาณ 1–1.5 ลิตร ดงั ภาพที่ 1.25

ภาพที่ 1.25 สํวนประกอบของไตท่ีผําตามยาว
น้าปัสสาวะประกอบด๎วยสารตํางๆ ดังน้ี คอื น้า 95% โซดียม 0.35% โพแทสเซยี ม 0.15% คลอรนี 0.6%
ฟอสเฟต 0.15% แอมโมเนยี 0.04% ยเู รยี 2.0% กรดยรู กิ 0.05% และครีเอทินิน 0.75% น้าปสั สาวะจะประกอบไป
ดว๎ ยน้าและยูเรยี เป็นสํวนใหญํ สวํ นแรํธาตุมีอยํูเล็กน๎อย ถ๎ามีการตกตะกอนของแรํธาตุไปอุดตนั ทางเดนิ ทํอปสั สาวะ
จะทาใหป๎ ัสสาวะลาบาก เรียกลักษณะอาการอยํางน้วี ํา “โรคนว่ิ ” เมือ่ ไตผิดปกตจิ ะทาให๎สารบางชนดิ ปนออกมากบั
น้าปัสสาวะ เชนํ เมด็ เลอื ดแดง กรดอะมโิ น น้าตาลกลูโคส เป็นต๎น ปจั จุบันแพทย์มีการใช๎ไตเทียมหรืออาจจะใช๎การ
ปลูกไตให๎กบั ผป๎ู ่วยท่ไี ตไมสํ ามารถทางานได๎ ไตเทียม เปน็ เครือ่ งมือท่ีอยภํู ายนอกรํางกาย สวํ นการปลูกไตเปน็ การนา
ไตของผู๎อน่ื มาใสํให๎กบั ผปู๎ ว่ ย
4.2 การกาจัดของเสยี ทางผิวหนัง เหงอื่ (sweat) ประกอบดว๎ ยนา๎ เปน็ สํวนใหญํ และมสี ารอ่นื ๆ บา๎ งชนิด
ปนอยดํู ๎วย เชนํ เกลือโซเดยี มคลอไรด์ ยเู รีย เปน็ ตน๎ ดังภาพท่ี 1.25

38

ภาพท่ี 1.25 การกาจดั ของเสียทางผวิ หนงั

เหงือ่ จะถกู ขบั ออกจากราํ งกายทางผิวหนงั โดยผาํ นทางตํอมเหงอ่ื ซึ่งมอี ยํูท่วั รํางกายใตผ๎ ิวหนงั ตํอมเหงื่อของคนเราแบงํ
ได๎เป็น 2 ชนิด คอื

4.2.1 ตอํ มเหง่ือขนาดเล็ก มอี ยํูท่ผี วิ หนงั ทัว่ ทกุ แหํงของราํ งกาย ยกเว๎นท่ีริมฝีปากและทอ่ี วยั วะ
สืบพันธบุ์ างสํวน ตอํ มเหง่ือเหลํานีต้ ิดตอํ กับทํอขบั ถํายซงึ่ เปิดออกทผ่ี ิวหนังช้นั นอกสดุ ตอํ มเหงื่อขนาดเลก็ น้สี รา๎ งเหงื่อ
แลว๎ ขบั ถาํ ยออกมาตลอดเวลา แตํเนือ่ งจากมีการระเหยไปตลอดเวลาเชํนกัน ดงั นั้น จงึ มกั สังเกตไมํคํอยได๎ แตเํ มือ่
อุณหภมู ิภายนอกรํางกายสูงข้ึนหรือขณะออกกาลงั กาย ปริมาณเหง่ือทขี่ ับถํายออกมาจะเพ่ิมขนึ้ จนสังเกตเห็นได๎ ท่ี
อณุ หภูมิ 32 องศาเซลเซยี ส จะมกี ารขบั เหงื่อออกมาเห็นได๎ชดั เจน เหงอื่ จากตํอมเหง่ือขนาดเล็กเหลาํ น้ีประกอบด๎วย
นา้ ร๎อยละ 99 สารอ่นื ๆ ร๎อยละ 1 ซงึ่ ไดแ๎ กํ เกลอื โซเดยี มคลอไรดแ์ ละสารอินทรียพ์ วกยเู รีย นอกนัน้ เป็นสารอ่ืนอีก
เล็กน๎อยเชํน แอมโมเนยี กรดอะมโิ น นา้ ตาล กรดแลกติก

4.2.2 ตอํ มเหงื่อขนาดใหญํ ไมไํ ด๎มีอยํูทว่ั ราํ งกาย พบไดเ๎ ฉพาะบางแหงํ ได๎แกํ รักแร๎ รอบหัวนม รอบ
สะดือ ชํองหูสํวนนอก จมูก อวยั วะสบื พนั ธ์ุบางสวํ น ตํอมเหลาํ นม้ี ีทอํ ขับถาํ ยใหญกํ วําชนิดแรก และจะเปิดทร่ี ูขนใต๎
ผวิ หนงั ปกตจิ ะไมํเปิดโดยตรง ท่ีผิวหนังชน้ั นอกสุด ตอํ มชนิดนีจ้ ะทางานตอบสนองตํอการกระต๎นุ ทางจติ ใจ สารท่ี
ขบั ถํายจากตอํ มชนดิ น้มี กั มกี ลิน่ ซง่ึ กค็ ือกล่นิ ตวั นน่ั เอง โครงสรา๎ งภายในตํอมเหงอ่ื จะมีทํอขดอยเํู ป็นกลํมุ และมีหลอด
เลอื ดฝอยมาหลํอเลี้ยงโดยรอบหลอดเลือดฝอยเหลํานนจี้ ะลาเลยี งของเสียมายงั ตํอมเหงื่อเม่ือของเสยี มาถงึ บรเิ วณตํอ
เหงือ่ กจ็ ะแพรอํ อกจากหลอดเลอื ดฝอยเข๎าสูทํ อํ ในตอํ มเหงื่อ จากนั้นของเสียซ่ึงก็คอื เหงอ่ื จะถูกลาเลียงไปตามทํอ
จนถงึ ผวิ หนังชั้นบนสดุ ซง่ึ มปี ากทํอเปดิ อยํู หรอื ทเ่ี รียกวํา รูเหง่อื ผิวหนงั นอกจากจะทาหน๎าที่กาจัดของเสยี ในรูปของ
เหงอ่ื แลว๎ ยังทาหนา๎ ทีช่ วํ ยระบายความร๎อนออกจากรํางกายดว๎ ยโดยความร๎อน ทข่ี ับออกจากราํ งกายทางผิวหนังมี
ประมาณร๎อยละ 87.5 ของความรอ๎ นท้ังหมด

4.3 การกาจดั ของเสยี ทางลาไส้ใหญ่ หลงั จากการยอํ ยอาหารเสร็จส้ินลง อาหารสวํ นท่เี หลือและสํวนที่
รํางกายไมํสามารถยํอยไดจ๎ ะถูกกาจดั ออกจากราํ งกายทางลาไสใ๎ หญํ(ทวารหนกั ) ในรูปรวมท่เี รียกวาํ “อจุ จาระ”

39
ถ๎าอุจจาระตกคา๎ งอยูํในลาไส๎ใหญํหลายวนั ผนงั ลาไส๎ใหญจํ ะดดู นา้ กลับเข๎าไปในเสน๎ เลอื ด ทาให๎อุจจาระแข็งเกดิ ความ
ยากในการขับถําย เรยี กวาํ “ทอ๎ งผกู ” ทม่ี ีอาการท๎องผูกจะรสู๎ ึกแนํนท๎อง อึดอดั บางรายอาจมีอาการปวดท๎องหรือ
ปวดหลงั ดว๎ ย อาการตํางๆ เหลาํ น้ีจะหายไปเมอ่ื ถํายอุจจาระออกจากรํางกาย ผูท๎ ่มี ีอาการทอ๎ งผูกนานๆ อาจเปน็
สาเหตขุ องโรครดิ สีดวงทวารได๎สาเหตุเกดิ จาก การรบั ประทานอาหารท่มี กี ากใยอาหารน๎อยเกนิ ไป กินอาหารรสจัด
ถาํ ยไมํเป็นเวลา เครยี ด สูบบุหรี่จดั ดมื่ น้าชาหรอื กาแฟมากเกนิ ไป ใยอาหาร ได๎แกํ พืชผกั ตาํ งๆ ใยอาหารนอกจากจะ
ไมทํ าให๎ทอ๎ งผกู แล๎ว ยงั ชวํ ยลดสารพิษตาํ งๆ ทาให๎สารพษิ ผํานลาไสใ๎ หญไํ ปอยาํ งรวดเรว็ ป้องกันโรคมะเรง็ ลาไสใ๎ หญํ
ในลาไสใ๎ หญํมีแบคทเี รียอาศัยอยํจู านวนมาก มที ้งั ที่เป็นประโยชน์ ( ชํวยสงั เคราะหว์ ติ ามิน B 12 ) และโทษ (เช้ือโรค
ตํางตาํ งๆ)

4.4 การกาจดั ของเสยี ทางปอด ของเสียท่ถี ูกกาจัดออกนอกราํ งกายทางปอด ไดแ๎ กํ นา้ และแก๏ส
คาร์บอนไดออกไซด์ ซึง่ เกิดข้ึนจากกระบวนการหายใจของเซลลต์ ํางๆ ในรํางกาย ข้นั ตอนในการกาจดั ของเสียออก
จากรํางกายทางปอด มดี ังน้ี

4.4.1 น้าและแกส๏ คารบ์ อนไดออกไซด์ทีเ่ กิดขน้ึ แพรํออกจากเซลล์เข๎าสํูหลอดเลือด โดยจะละลายปน
อยใํู นเลือด

4.4.2 เลอื ดทม่ี ีของเสียละลายปนอยํูจะถกู ลาเลียงสํงไปยังปอด โดยการลาเลยี งผํานหัวใจเพอื่ สํง
ตอํ ไปแลกเปลยี่ นแก๏สท่ปี อด

4.2.3 เลือดทมี่ ขี องเสียละลายปนอยํเู ม่ือไปถึงปอด ของเสียตาํ งๆท่ีสะสมอยํใู นเลอื ดจะแพรผํ าํ นผนัง
ของหลอดเลอื ดเข๎าสํูถงุ ลมของปอดแล๎วลาเลียงไปตามหลอดลม เพอ่ื กาจดั ออกจากรํางกาย ทางจมกู พร๎อมกับลม
หายใจออก
5. ระบบประสาท (Nervous System) คอื ระบบการตอบสนองตอํ สิ่งเรา๎ ของสตั ว์ ทาให๎สตั ว์สามารถตอบสนองตํอส่งิ
ตํางๆ รอบตวั อยํางรวดเรว็ ชํวยรวบรวมขอ๎ มลู เพ่อื ให๎สามารถตอบสนองได๎ สตั ว์ช้นั ต่าบางชนดิ เชํน ฟองนา้ ไมํมีระบบ
ประสาท สัตว์ไมมํ กี ระดูกสนั หลงั บางชนิดเริ่มมีระบบประสาทสตั วช์ ั้นสูงขน้ึ มาจโี ครงสรา๎ งของระบบประสาทซบั ซ๎อน
ย่งิ ขึน้ ระบบประสาทของมนุษย์แบํงออกเป็น 2 สํวน คือ ระบบประสาทสวํ นกลางและระบบประสาทรอบนอก ดงั
ภาพท่ี 7.26

ภาพท่ี 7.26 ระบบประสาทของรํางกาย

40
5.1 ระบบประสาทส่วนกลาง (The Central Nervous System หรอื Somatic Nervous System) เป็น
ศูนย์กลางควบคมุ การทางานของราํ งกาย ซงึ่ ทางานพรอ๎ มกนั ทั้งในด๎านกลไกและทางเคมภี ายใต๎อานาจจติ ใจ ซง่ึ
ประกอบดว๎ ยสมองและไขสันหลังโดยเสน๎ ประสาทหลายลา๎ นเสน๎ จากท่วั ราํ งกายจะสงํ ข๎อมลู ในรูปกระแสประสาทออก
จากบริเวณศูนย์กลางมีอวยั วะทเี่ กยี่ วข๎องดังนี้

5.1.1 สมอง(Brain) เปน็ สวํ นทีใ่ หญกํ วําสํวนอื่นๆ ของระบบประสาทสวํ นกลางทาหน๎าที่ควบคุมการ
ทากจิ กรรมท้งั หมดของราํ งกายเปน็ อวัยวะชนดิ เดียวที่แสดงความสามารถด๎านสตปิ ัญญา การทากิจกรรมหรือการ
แสดงออกตาํ งๆสมองของสัตว์มกี ระดูกสนั หลงั ท่สี าคัญแบงํ ออกเป็น3 สํวน ดงั นี้ ภาพที่ 1.27

ภาพท่ี 1.27 ภาพตดั ขวางของสมอง
1) เซรบี รมั เฮมิสเฟียร์ (Cerebrum Hemisphrer) คือ สมองสวํ นหน๎า ทาหน๎าที่ควบคุม
พฤติกรรรมทซี่ บั ซอ๎ นเกี่ยวกับ ความร๎ูสกึ และอารมณค์ วบคุมความคดิ ความจา และความเฉลียวฉลาด เชื่อมโยง
ความร๎สู กึ ตํางๆเชํน การไดย๎ ิน การมองเหน็ การรบั กลนิ่ การรับรส การรับสมั ผสั เป็นต๎น
2) เมดัลลาออบลองกาตา (Medulla Oblongata) คอื สวํ นท่อี ยูตํ ดิ กบั ไขสนั หลัง ควบคุม
การทางานของระบบประสาทอัตโนมตั ิ เชํน การหายใจการเต๎นของหัวใจ การไอ การจาม การกะพรบิ ตา ความดัน
เลอื ด เป็นตน๎
3) เซรเี บลลมั (Cerebellum) คือ สมองสํวนทา๎ ย เป็นสํวนท่ีควบคุมการเคล่ือนไหวของ
กลา๎ มเนอ้ื และการทรงตวั ชํวยใหเ๎ คลือ่ นไหวไดอ๎ ยํางแมํนยา เชํน การเดิน การวิง่ การขีร่ ถจกั รยาน เปน็ ตน๎
5.1.2 ไขสันหลัง (Spinal Cord) เป็นเน้ือเยือ่ ประสาทท่ที อดยาวจากสมองไปภายในโพรงกระดูก
สันหลัง กระแสประสาทจากสํวนตาํ งๆของรํางกายจะผาํ นไขสันหลัง มที ง้ั กระแสประสาทเขา๎ และกระแสประสาทออก
จากสมองและกระแสประสาทที่ตดิ ตํอกบั ไขสันหลงั โดยตรง
5.1.3 เซลลป์ ระสาท (Neuron) เปน็ หนํวยท่เี ลก็ ที่สุดของระบบประสาท เซลล์ประสาทมีเย่ือห๎ุม
เซลล์ ไซโทพลาสซมึ และนิวเคลียสเหมอื นเซลล์อื่นๆ แตมํ ีรปู ราํ งลกั ษณะแตกตํางออกไป เซลล์ ประสาทประกอบดว๎ ย
ตัวเซลล์ และเส๎นใยประสาทที่มี 2 แบบ คอื เดนไดรต์ (Dendrite) ทาหน๎าทน่ี ากระแสประสาทเข๎าสูํตัวเซลลแ์ ละ
แอกซอน (Axon) ทาหน๎าทีน่ ากระแสประสาทออกจากตวั เซลลไ์ ปยังเซลล์ประสาทอนื่ ๆ เซลลป์ ระสาทจาแนกตาม

41
หน๎าท่ี การทางานได๎ 3 ชนดิ คอื

1) เซลลป์ ระสาทรบั ความรู๎สกึ รับความร๎ูสกึ จากอวัยวะสมั ผัส เชํน หู ตา จมกู ผิวหนัง สงํ
กระแสประสาทผํานเซลล์ประสาทประสานงาน

2) เซลล์ประสาทประสานงาน เปน็ ตวั เช่อื มโยงกระแสประสาทระหวํางเซลลร์ ับความรู๎สึก
กบั สมอง ไขสันหลงั และเซลล์ประสาทสัง่ การ พบในสมองและไขสันหลังเทาํ นนั้

3) เซลล์ประสาทสงั่ การ รับคาส่งั จากสมองหรือไขสันหลัง เพ่อื ควบคมุ การทางานของ
อวยั วะตํางๆ

การทางานของระบบประสาทสว่ นกลาง ส่งิ เรา๎ หรือการกระตุ๎นจัดเปน็ ข๎อมูลหรือเส๎นประสาท
สํวนกลางเรยี กวาํ “กระแสประสาท” เป็นสัญญาณไฟฟ้าที่นาไปสเํู ซลล์ประสาททางด๎านเดนไดรต์ และเดนิ ทางออก
อยํางรวดเรว็ ทางด๎านแอกซอน แอกซอนสํวนใหญํมแี ผํนไขมนั หมุ๎ ไวเ๎ ป็นชวํ งๆ แผนํ ไขมันนท้ี าหน๎าท่ีเปน็ ฉนวนและทา
ให๎กระแสประสาทเดินทางได๎เรว็ ขน้ึ ถ๎าแผนํ ไขมันนฉี้ กี ขาดอาจทาให๎กระแสประสาทช๎าลงทาให๎สญู เสยี ความสามารถ
ในการใช๎กลา๎ มเน้อื เนอ่ื งจากการรับคาส่งั จากระบบประสาทสํวนกลางได๎ไมดํ ี

5.2 ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral Nervous System) ทาหนา๎ ทร่ี บั และนาความรูส๎ ึกเขา๎ สํูระบบ
ประสาทสวํ นกลางได๎แกํ สมองและไขสนั หลังจากนัน้ นากระแสประสาทสัง่ การจากระบบประสาทสํวนกลางไปยัง
หนวํ ยปฎบิ ัติงาน ซึง่ ประกอบดว๎ ยหนวํ ยรบั ความรส๎ู ึกและอวัยวะรบั สมั ผัส รวมทัง้ เซลลป์ ระสาทและเสน๎ ประสาททอ่ี ยํู
นอกระบบประสาทสํวนกลาง ระบบประสาทรอบนอกจาแนกตามลักษณะการทางานได๎ 2 แบบ ดงั น้ี

5.2.1 ระบบประสาทภายใตอ๎ านาจจติ ใจ เป็นระบบควบคุมการทางานของกล๎ามเน้ือที่บังคบั ได๎
รวมท้งั การตอบสนองตอํ ส่ิงเร๎าภายนอก

5.2.2 ระบบประสาทนอกอานาจจิตใจ เปน็ ระบบประสาทท่ที างานโดยอัตโนมัติ มศี ูนยก์ ลางควบคมุ
อยูํในสมองและไขสนั หลงั ได๎แกํ การเกิดรีเฟลกซ์แอกชัน (Reflex Action) และเมื่อมสี ่ิงเร๎ามากระตน๎ุ ท่ีอวัยวะรบั
สัมผัสเชนํ ผวิ หนัง กระแสประสาทจะสงํ ไปยงั ไขสันหลงั และไขสันหลังจะสัง่ การตอบสนองไปยังกล๎ามเน้ือ โดยไมํผาํ น
ไปท่ีสมอง เม่ือมเี ปลวไฟมาสัมผัสท่ีปลายนว้ิ กระแสประสาท จะสํงไปยงั ไขสนั หลังไมผํ ํานไปทส่ี มอง ไขสนั หลังทา
หน๎าท่สี ง่ั การให๎กล๎ามเน้ือท่แี ขนเกดิ การหดตวั เพอ่ื ดึงมอื ออกจากเปลวไฟทนั ที ดงั ภาพที่ 1.28

ภาพที่ 1.28 การเกิดรเี ฟลก็ ซ์แอกช่ัน

42
5.3 พฤติกรรมของมนุษย์ที่ตอบสนองตอ่ ส่ิงเรา้ เปน็ ปฏิกิริยาอาการทแี่ สดงออกเพอ่ื การโต๎ตอบตอํ สง่ิ เรา๎
ทั้งภายในและภายนอกราํ งกาย เชนํ ส่งิ เรา๎ ภายในราํ งกาย เชํน ฮอร์โมน เอนไซม์ ความหิว ความต๎องการทางเพศ
เปน็ ตน๎ สิ่งเรา๎ ภายนอกราํ งกาย เชนํ แสง เสียง อณุ หภมู ิ อาหาร นา้ การสัมผัส สารเคมี เปน็ ต๎น กริ ิยาอาการที่
แสดงออกเพ่ือตอบสนองตํอสิง่ เรา๎ ภายนอกอาศัยการทางานทป่ี ระสานกันระหวํางระบบประสาท ระบบกล๎ามเน้ือ
ระบบตอํ มไร๎ทํอและระบบตอํ มมที ํอ ดงั ตัวอยํางตอํ ไปน้ี

5.3.1 การตอบสนองเม่ือมแี สงเป็นสิง่ เรา๎ เม่ือไดร๎ ับแสงสวํางจา๎ มนุษยจ์ ะมพี ฤติกรรมการหรต่ี าเพ่ือ
ลดปรมิ าณแสงที่ตาได๎รบั

5.3.2 การตอบสนองเม่ืออุณหภูมิเป็นสง่ิ เร๎า ในวันทีม่ ีอากาศรอ๎ นจะมีเหง่ือมาก เหง่ือจะชํวยระบาย
ความรอ๎ นออกจากรํางกาย เพอื่ ปรับอุณหภูมภิ ายในรํางกายไมํให๎สูงเกนิ ไป เมอื่ มีอากาศเย็นคนเราจะเกดิ อาการหด
เกร็งกลา๎ มเน้ือ หรอื เรยี กวํา “ขนลกุ ”

5.3.3 เมื่ออาหารหรือน้าเขา๎ ไปในหลอดลมเกิดพฤตกิ รรมการไอหรือจาม เพื่อขบั ออกจากหลอดลม
5.3.4 การเกิดพฤติกรรมแบบรีเฟลก็ ซ์ เป็นพฤติกรรมการตอบสนองหรือตอบโต๎ทนั ทเี พ่ือความ
ปลอดภยั จากอันตราย เชํน เมือ่ ฝนุ่ เข๎าตามีพฤติกรรมการกระพรบิ ตา เมอื่ สัมผสั วัตถุร๎อนจะชักมือจากวตั ถุร๎อนทนั ที
เมื่อเหยียบหนามจะรบี ยกเทา๎ ให๎พ๎นหนามทันที

6. ระบบสืบพนั ธ์ เป็นกระบวนการผลติ สง่ิ มชี วี ิตท่จี ะแพรํลูกหลานและดารงเผาํ พนั ธุข์ องตนไว๎ โดยตํอมใต๎สมองซึ่งอยํู
ภายใต๎การควบคุมของสมองสํวนไฮโพทาลามสั โดยจะหลง่ั ฮอรโ์ มนกระต๎นุ ตํอมเพศชายและหญิงให๎ผลติ ฮอร์โมนเพศ
ทาใหร๎ าํ งกายเปลย่ี นแปลงไปสคํู วามเปน็ หนมํุ สาวพร๎อมทจี่ ะสืบพนั ธ์ุได๎ ตอํ มเพศในชาย คอื อณั ฑะ ตอํ มเพศในหญงิ
คอื รังไขํ

6.1 ระบบสบื พันธุ์เพศชาย ดังภาพท่ี 1.29

ภาพที่ 1.29 ด๎านขา๎ งระบบสืบพนั ธ์ุ
เพศชาย

อวัยวะท่ีสาคัญในระบบสืบพันธเุ์ พศชาย ประกอบด๎วย
6.1.1 อณั ฑะ (Testis) เป็นตํอมรูปไขํ มี 2 อัน ทาหน๎าที่สร๎างตวั อสุจิ (Sperm) ซ่ึงเป็นเซลล์สืบพันธุ์

เพศชาย และสร๎างฮอรโ์ มนเพศชายเพอ่ื ควบคมุ ลักษณะตาํ งๆของเพศชาย เชนํ การมหี นวดเครา เสียงหา๎ ว เปน็ ต๎น
ภายในอณั ฑะจะประกอบดว๎ ย หลอดสร๎างตวั อสุจิ (Seminiferous Tubule) มีลักษณะเป็นหลอดเลก็ ๆ ขดไปขดมา

43
อยํภู ายใน ทาหนา๎ ทสี่ รา๎ งตวั อสุจิ หลอดสร๎างตัวอสุจิ มขี ๎างละประมาณ 800 หลอด แตํละหลอดมีขนาดเทําเสน๎ ด๎าย
ขนาดหยาบ และยาวทงั้ หมดประมาณ 800 เมตร

6.1.2 ถุงห๎ุมอัณฑะ (Scrotum) ทาหนา๎ ทหี่ อํ หม๎ุ ลูกอัณฑะ ควบคมุ อุณหภมู ิให๎พอเหมาะในการสรา๎ ง
ตวั อสจุ ิ ซงึ่ ตัวอสุจจิ ะเจรญิ ได๎ดีในอณุ หภูมติ ่ากวาํ อุณหภมู ปิ กติของรํางกายประมาณ 3-5 องศาเซลเซียส

6.1.3 หลอดเกบ็ ตวั อสุจิ (Epididymis) อยูดํ ๎านบนของอณั ฑะ มีลักษณะเปน็ ทํอเลก็ ๆ ยาวประมาณ
6 เมตร ขดทบไปมา ทาหน๎าที่เก็บตวั อสุจจิ นตวั อสุจเิ ตบิ โตและแข็งแรงพร๎อมที่จะปฏสิ นธิ

6.1.4 หลอดนาตวั อสจุ ิ (Vas Deferens) อยตูํ อํ จากหลอดเกบ็ ตวั อสจุ ิ ทาหน๎าทล่ี าเลียงตัวอสจุ ิไป
เก็บไวท๎ ่ีตํอมสรา๎ งนา้ เล้ยี งอสจุ ิ

6.1.5 ตํอมสร๎างน๎าเลยี้ งอสจุ ิ (Seminal Vesicle) ทาหน๎าท่ีสร๎างอาหารเพื่อใช๎เลี้ยงตวั อสุจิ เชนํ
น้าตาลฟรกั โทส วติ ามินซี โปรตนี โกลบลู นิ เป็นต๎น และสร๎างของเหลวมาผสมกับตัวอสจุ ิเพ่ือใหเ๎ กิดสภาพทเ่ี หมาะสม
สาหรับตัวอสจุ ิ

6.1.6 ตอํ มลกู หมาก (Prostate Gland) อยูํตอนต๎นของทอํ ปัสสาวะ ทาหนา๎ ท่หี ล่ังสารที่มฤี ทธเิ์ ป็น
เบสออํ นๆ เข๎าไปในทํอปัสสาวะเพื่อทาลายฤทธ์กิ รดในทอํ ปสั สาวะ ทาให๎เกดิ สภาพท่ีเหมาะสมกบั ตัวอสจุ ิ

6.1.7 ตอํ มคาวเปอร์ (Cowper Gland) อยใูํ ต๎ตํอมลูกหมากลงไปเป็นกระเปาะเล็กๆ ทาหนา๎ ทห่ี ลั่ง
สารไปหลอํ ลนื่ ทํอปัสสาวะในขณะที่เกดิ การกระตน๎ุ ทางเพศ

โดยทั่วไปเพศชายจะเริ่มสร๎างตวั อสจุ เิ มอ่ื เร่ิมเข๎าสวูํ ัยรํุน คือ อายปุ ระมาณ 12-13 ปี และจะสร๎างไปจนตลอด
ชีวิต การหลง่ั น้าอสุจิ แตลํ ะครง้ั จะมขี องเหลวประมาณ 3-4 ลูกบาศก์เซนติเมตร มตี ัวอสจุ ิเฉล่ียประมาณ 350-500
ล๎านตวั ปริมาณน้าอสจุ ิและตัวอสจุ ิแตกตาํ งกันได๎ตามความแขง็ แรงสมบรู ณข์ องราํ งกาย เชื้อชาติ และสภาพแวดล๎อม
ผู๎ที่มอี สจุ ิตา่ กวาํ 30 ล๎านตวั ตอํ ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร หรือมีตัวอสจุ ทิ ีม่ รี ปู รํางผิดปกติมากกวํารอ๎ ยละ 25 จะมลี ูกได๎ยาก
หรอื เปน็ หมนั นา้ อสจุ จิ ะถูกขับออกทางทอํ ปสั สาวะ และออกจากรํางกายตรงปลายสดุ ของอวัยวะเพศชาย ตวั อสุจจิ ะ
เคล่อื นที่ได๎ประมาณ 1-3 มิลลิเมตรตํอนาที ตวั อสจุ เิ มอื่ ออกสํูภายนอกจะมชี วี ติ อยํูไดเ๎ พียง 2-3 ช่วั โมง แตถํ า๎ อยํูใน
มดลูกของหญงิ จะอยูํได๎นาน ประมาณ 24- 48 ชว่ั โมง ตวั อสุจปิ ระกอบด๎วยสวํ นสาคัญ 3 สํวน คอื สวํ นหวั เปน็ สวํ น
ท่ีมีนิวเคลียสอยํู สวํ นตวั มลี ักษณะเป็นทรงกระบอกยาว และสวํ นหาง เป็นสวํ นที่ใชใ๎ นการเคลื่อนที่ นา้ อสุจิจะมีคํา pH
ประมาณ 7.35-7.50 มสี ภาวะคํอนขา๎ งเป็นเบส ในนา้ อสุจินอกจากจะมีตัวอสุจแิ ลว๎ ยงั มีสํวนผสมของสารอ่ืนๆ ดว๎ ย

6.2 ระบบสบื พนั ธเ์ุ พศหญิง ดงั ภาพท่ี 1.30

ภาพท่ี 1.30 ดา๎ นขา๎ งระบบสืบพนั ธุ์
เพศหญงิ

44
อวัยวะท่ีสาคัญของระบบสืบพันธ์ุเพศหญิง ประกอบดว๎ ย

6.2.1 รังไขํ (Ovary) มรี ูปรํางคลา๎ ยเม็ดมะมวํ งหิมพานต์ ยาวประมาณ 2-36 เซนติเมตร หนา 1
เซนติเมตร มีน้าหนักประมาณ 2-3 กรัม และมี 2 อนั อยูํบริเวณปกี มดลกู แตลํ ะขา๎ งทาหน๎าท่ี ดงั น้ี

1) ผลิตไขํ (Ovum) ซ่ึงเปน็ เซลลส์ ืบพันธ์ุเพศหญิง โดยปกติไขจํ ะสุกเดือนละ 1 ใบ จากรัง
ไขํแตํละข๎างสลับกนั ทุกเดือน และออกจากรงั ไขทํ ุกรอบเดือนเรยี กวาํ การตกไขํ ตลอดชํวงชีวิตของเพศหญงิ ปกตจิ ะมี
การผลติ ไขํประมาณ 400 ใบ คอื เริม่ ตัง้ แตอํ ายุ 12 ปี ถงึ 50 ปี จึงหยดุ ผลติ เซลล์ไขํจะมีอายอุ ยํูได๎นานประมาร 24
ช่วั โมง

2) สร๎างฮอรโ์ มนเพศหญงิ ซง่ึ มอี ยหํู ลายชนิด ท่ีสาคญั ไดแ๎ กํ
- อสี โทรเจน (Estrogen) เป็นฮอรโ์ มนท่ีทาหนา๎ ท่ีควบคมุ เก่ียวกับมดลกู

ชํองคลอด ตํอมน้านม และควบคมุ การเกดิ ลกั ษณะตํางๆ ของเพศหญงิ เชํน เสยี งแหลมเล็ก ตะโพกผาย หนา๎ อก
และอวัยวะเพศขยายใหญํขึน้ เป็นต๎น

- โพรเจสเทอโรน (Progesterone) เปน็ ฮอร์โมนท่ที างานรํวมกบั อสี โทรเจนใน
การควบคุมเกยี่ วกบั เกยี่ วกับการเจริญของมดลกู การเปล่ียนแปลงเยือ่ บมุ ดลูกเพ่อื เตรยี มรบั ไขํท่ีผสมแล๎ว

6.2.2 ทอํ นาไขํ (Oviduct) หรอื ปีกมดลูก (Fallopian Tube) เป็นทางเชือ่ มตํอระหวาํ งรังไขทํ ั้งสอง
ข๎างกับมดลกู ภายในกลวง มเี ส๎นผํานศูนยก์ ลางประมาณ 2 มลิ ลเิ มตร มขี นาดปกตเิ ทาํ กับเข็มถักไหมพรมยาว
ประมาณ 6-7 เซนตเิ มตร หนา 1 เซนติเมตร ทาหน๎าทีเ่ ป็นทางผํานของไขทํ ี่ออกจากรังไขเํ ขา๎ สูมํ ดลูก โดยมีปลายขา๎ ง
หนงึ่ เปดิ อยํใู กลก๎ ับรงั ไขํ เรยี กวํา ปากแตร (Funnel) บุดว๎ ยเซลลท์ ีม่ ขี น สั้นๆ ทาหนา๎ ทพี่ ัดโบกไขํทต่ี กมาจากรังไขํให๎
เข๎าไปในทอํ นาไขํ ทอํ นาไขเํ ป็นบรเิ วณทอี่ สจุ ิจะเข๎าปฏสิ นธกิ บั ไขํ

6.2.3 มดลกู (Uterus) มีรูปรํางคลา๎ ยผลชมพู หรอื รูปราํ งคล๎ายสามเหลย่ี มหัวกลบั ลง กว๎างประมาณ
4 เซนตเิ มตร ยาวประมาณ 6-8 เซนติเมตร หนาประมาณ 2 เซนตเิ มตร อยํใู นบริเวณอุ๎งกระดูกเชงิ กราน ระหวาํ ง
กระเพาะปัสสาวะกบั ทวารหนัก ภายในเป็นโพรง ทาหน๎าที่เป็นทีฝ่ งั ตัวของไขํท่ไี ดร๎ บั การผสมแลว๎ และเปน็ ท่ี
เจริญเติบโตของทารกในครรภ์

6.2.4 ชอํ งคลอด (Vagina) อยํตู อํ จากมดลูกลงมา ทาหนา๎ ทเ่ี ป็นทางผํานของตัวอสุจิเข๎าสูํมดลูก เป็น
ทางออกของทารกเม่อื ครบกาหนดคลอด และยังเป็นชอํ งให๎ประจาเดือนออกมาด๎วย ประจาเดอื น (Menstruation)
คือเน้ือเยื่อผนงั มดลกู ด๎านในและหลอดเลอื ดทสี่ ลายตัวไหลออกมาทางชํองคลอด ประจาเดอื นจะเกิดขึน้ เม่อื เซลล์ไมํได๎
รบั การผสมกับอสจุ เิ พศหญิงจะมปี ระจาเดอื นต้ังแตํอายปุ ระมาณ 12 ปีขนึ้ ไป ซึ่งจะมรี อบของการมีประจาเดือนทกุ
21-35 วนั เฉลยี่ ประมาณ 28 วนั จนอายปุ ระมาณ 50 ปี จึงจะหมดประจาเดือน ผู๎หญิงจะมชี ํวงระยะเวลาการมี
ประจาเดอื นประมาณ 3-6 วนั ซ่งึ จะเสียเลอื ดทางประจาเดือนแตลํ ะเดอื นประมาณ 60-90 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร ดงั น้ัน
ผู๎หญงิ จึงควรรบั ประทานอาหารทีม่ ธี าตเุ หล็กและโปรตนี เพ่อื สรา๎ งเลือดชดเชยสํวนทีเ่ สียไป การทีผ่ ๎ูหญงิ บางคนมี
ประจาเดือนมาไมํปกติ อาจเนื่องมาจากอารมณ์และความวิตกกังวลทาให๎การหลง่ั ฮอรโ์ มนของสมองผิดปกติ ซงึ่ จะมี
ผลตอํ การหลง่ั ฮอรโ์ มนของตํอมใตส๎ มองที่ทาหน๎าทกี่ ระตน๎ุ ให๎ไขํสุก คือ ฮอร์โมน FSH (Follicle Stimulating
Hormone) และฮอรโ์ มน LH (Luteinizing Hormone) เซลลไ์ ขํมีขนาดใหญกํ วําเซลล์อสุจปิ ระมาณ 50,000-90,000
เทํา ขนาดของเซลล์ไขํประมาณ 0.2 มิลลเิ มตร เราสามารถมองเหน็ เซลล์ไขํได๎ดว๎ ยตาเปลํา ดังภาพท่ี 1.31

45

ภาพที่ 1.31 วงจรการมีประจาเดือน

6.3 ความผิดปกติของการต้งั ครรภ์ ตามปกติราํ งกายของคนเรามีการตั้งครรภแ์ ละคลอดทารกคราวละ 1 คน
แตบํ างกรณรี าํ งกายของคนเราอาจมีโอกาสตั้งครรภแ์ ละคลอดทารกครงั้ ละมากกวาํ 1 คน เรยี กวํา “ฝาแฝด” ซ่งึ ถอื
เปน็ ความผิดปกติของการตัง้ ครรภ์แบบหน่ึง ฝาแฝดมี 2 ประเภท คอื

6.3.1 แฝดรํวมไขํ คอื ฝาแฝดทีเ่ กดิ จากไขํ 1 ฟองผสมกับตัวอสุจิ 1 เซลล์ แตํไขทํ ี่ไดร๎ ับการผสมแล๎ว
ขณะที่กาลงั เจริญเป็นเอ็มบริโอ ในระยะแรกๆ เกิดแบํงออกเป็น 2 สํวน และแยกขาดออกจากกันแล๎วเจริญเติบโตเปน็
ทารกและคลอดในเวลาใกล๎เคียงกัน ฝาแฝดประเภทน้จี ะมรี ูปรํางลักษณะเหมือนกัน มเี พศเดยี วกนั มอี ปุ นิสัยใจคอ
ความสามารถคลา๎ ยกันเมือ่ ได๎รับการเลยี้ งดใู นสภาพแวดล๎อมเดยี วกัน ในบางครง้ั ฝาแฝดรํวมไขซํ ึง่ เกดิ จากเอ็มบริโอ
ท่ีแบํงออกเปน็ 2 สํวน แตไํ มแํ ยกออกจากกนั โดยเด็ดขาด ทาใหท๎ ารกที่คลอดออกมามีอวยั วะบางสวํ นติดกัน เชนํ
แฝดสยาม (Siamese twin) คแูํ รกทีช่ ่ืออิน-จัน มสี ํวนอกติดกันและมตี ับเป็นเน้ือเดียวกันหรือแฝดลารด์ าน-ลาร์เลห์
มสี ํวนหวั ติดกัน เป็นต๎น

6.3.2 แฝดตาํ งไขํ คือแฝดทเ่ี กิดจากไขํคนละฟองผสมกบั ตัวอสจุ ิคนละเซลล์ ได๎เอ็มบรโิ อมากกวํา 1
เอ็มบรโิ อ สาเหตุที่เกิด จากมไี ขํสกุ พร๎อมกนั มากกวํา 1 ฟองจากรังไขขํ ๎างหนง่ึ หรือท้ังสองขา๎ ง ขณะท่ีเอม็ บริโอเจริญอยํู
ในมดลกู รกจะแยกจากกันและทารกจะคลอดออกมาในเวลาใกลเ๎ คยี งกัน แฝดประเภทนี้อาจมีเพศเดยี วกนั หรือตําง
เพศกไ็ ด๎ และมีลกั ษณะทางพันธุกรรมตาํ งกนั ความผิดปกติในการต้งั ครรภ์นอกจากทาให๎เกิดฝาแฝดแล๎วยังอาจทาให๎
เกิดผลอื่นๆ เชํน การแท๎ง การคลอดกํอนกาหนด การท๎องนอกมดลูก เปน็ ต๎น

การแท๎ง หมายถึง การท่ีทารกคลอดกํอนอายคุ รรภจ์ ะครบ 28 สปั ดาห์ หรือมีนา้ หนักน๎อยกวํา
1,000 กรัม

การคลอดกํอนกาหนด หมายถงึ การท่ที ารกคลอดในชวํ งอายุ 28-37 สัปดาห์
การทอ๎ งนอกมดลูก หมายถงึ การทไ่ี ขไํ ด๎รบั การปฏิสนธิแล๎วไปฝงั ตัวทบี่ รเิ วณอ่ืนที่ไมใํ ชํมดลกู เชํน
บริเวณชํองท๎องหรือปีกมดลูกซงึ่ อาจเป็นอันตรายถึงแกชํ ีวติ ได๎

46
6.4 ความพิการแต่กาเนิด สาเหตขุ องความผิดปกติแตํกาเนดิ มีหลายประการ ดงั น้ี

6.4.1 การติดเชอ้ื ขณะตัง้ ครรภ์ เชนํ เช้อื แบคทีเรยี ท่ีทาใหเ๎ กดิ โรคซฟิ ลิ ิส โคโนเรีย เช้อื ไวรสั ทาใหเ๎ กิด
โรคหัดเยอรมนั โรคเอดส์ ซึ่งเชือ้ โรคเหลาํ นีจ้ ะแพรํเข๎าสเํู อม็ บรโิ อทาใหท๎ ารกที่คลอดออกมาพิการได๎

6.4.2 ยาหรอื สารเคมีบางชนดิ ซ่ึงเป็นอันตรายตํอทารกในครรภ์ ดงั นัน้ หญงิ ที่กาลงั ต้ังครรภจ์ ึงไมํควร
ซ้ือยารับประทานเอง ไมํควรสดู ดมหรือรับประทานยาหรือสารท่ีเป็นอันตรายตํอสขุ ภาพของตนและทารก

6.4.3 ความผดิ ปกตขิ องหนวํ ยพันธุกรรมหรอื ยีน หนวํ ยพันธุกรรมหรอื ยนี หมายถึงหนวํ ยท่ีควบคมุ
การแสดงออกของลกั ษณะตํางๆ ของสิ่งมชี วี ติ เชนํ สีผวิ สีผม สตี า ความสงู สติปัญญา เปน็ ต๎น หนวํ ยพันธุกรรมหรอื
ยีนสามารถถาํ ยทอดจากพอํ แมํไปยังลูกหลานไดย๎ ีนท่ผี ดิ ปกติ เชนํ โรคปัญญาอํอนบางชนิด โรคเลอื ดผดิ ปกติ
(ทาลัสซเี มีย) ซึ่งในคนปกติอาจมยี ีนเหลํานี้แฝงอยํูและสามารถถาํ ยทอดไปสํูลกู หลานได๎ ยนี ท่ผี ดิ ปกติเหลําน้ี สํวนมาก
เปน็ ยนี ดอ๎ ยและอาจแสดงลกั ษณะด๎อยเหลําน้ีออกมาให๎เห็นในรนุํ ลูกหรอื รํุนหลาน หนํวยพนั ธุกรรมหรือยนี ของแตลํ ะ
ลักษณะจะมอี ยูเํ ป็นคๆํู บนโครโมโซมซ่ึงอยใํู น นิวเคลยี สของเซลลแ์ ตํละเซลล์ ยีนของแตํลกั ษณะที่อยเํู ป็นคๆํู นน้ั
หนวํ ยหนงึ่ จะได๎มาจากพอํ และอีกหนํวยหนึง่ ไดม๎ าจากแมํ โครโมโซมของมนุษย์มี 23 คหูํ รือ 46 อนั เปน็ โครโมโซม
รํางกาย 22 คูํหรอื 44 อัน และเปน็ โครโมโซมเพศ 1 คํูหรือ 2 อนั แตํละคูบํ นโครโมโซมจะมียนี อยเูํ ป็นคูํๆดังน้ันแตลํ ะ
หนํวยของยีนในแตแํ ละคํูจะแยกกันอยบูํ นโครโมโซมแตํละอันซึ่งเปน็ คํูกัน หนํวยพันธุกรรมหรือยีนมี 2 ประเภท คอื

1) ยีนเดํน คือ ยีนทสี่ ามารถแสดงลกั ษณะน้ันๆ ออกมาได๎ แม๎จะมียนี นน้ั เพยี งยนี เดียว เชนํ
ยีนโรคเลือดผิดปกติ (ทาลัสซีเมีย) อยํูคูํกับยนี ปกติ ยีนปกติเป็นยีนเดํน ดงั นั้นลกั ษณะเลือดจึงเป็นปกติไมเํ ปน็ โรค
ทาลสั ซเี มยี

2) ยนี ด๎อย คอื ยนี ทส่ี ามารถแสดงลกั ษณะนัน้ ๆ ออกมาได๎กต็ อํ เมื่อยนี ด๎อยน้ันต๎องมียนี อยูํ
ด๎วยกนั เชํน ยีนโรคเลือดผิดปกติ (ทาลัสซีเมยี ) ซ่งึ เปน็ ยีนด๎อย ถา๎ ยนี นี้มี 2 ยีนจะแสดงอาการของโรคทาลสั ซีเมยี
ออกมาทันที หนํวยพันธกุ รรมแสดงลกั ษณะจะอยเูํ ป็นคๆํู ตามแบบท่ีเขยี นเป็นรปู วงกลม มจี ุดสีดาและจุดสีขาวอยูํ
ภายในดังน้ี

ข๎อ กาหนดให๎ เปน็ ยนี ผิวปกติ เป็นยีนผวิ เผอื ก
1.
ยนี ผวิ ปกติเป็นยนี เดนํ ยนี ผวิ เผอื กเปน็ ยีนด๎อย

หมายถึงยีนผิวปกติพนั ธุ์แท๎ คือคนที่มผี วิ ปกติ ไมมํ ีผิวเผือกแอบแฝงอยํู

2. หมายถงึ ยนี ผวิ เผอื กพนั ธแุ์ ท๎ คือคนท่ีผวิ เผอื กอยํางแทจ๎ ริง

3. หมายถึงยีนผวิ ปกติพันทาง คือคนท่ีมผี วิ ปกติ แตํมีผวิ เผอื กแฝงอยํู

4. หมายถึงยีนผิวปกติพันทาง คือคนที่มผี วิ ปกติ แตมํ ีผิวเผอื กแฝงอยูํ

ถ๎าเขียนอกั ษร A เป็นยีนผวิ ปกติ และ a เป็นยีนผวิ เผอื ก แทนรปู ในข๎อ 1 ถงึ ขอ๎ 4 ดว๎ ยอักษรดงั น้ี เรยี งตาม
ลาดับ AA, aa, Aa, aA ชายและหญิงทเ่ี ป็นพนั ทางมียนี ผวิ เผอื กแฝงอยใํู นผวิ ปกติ (Aa) หรอื (aA) ถ๎าแตํงงานกันจะมี
โอกาสเกิดลูกผวิ ปกติ 75 เปอรเ์ ซน็ ต์และผวิ เผอื ก 25 เปอรเ์ ซน็ ต์ ถา๎ เขียนแผนภาพแสดงวิธคี ดิ ไดด๎ งั นี้
รุํนพอํ แมทํ มี่ ยี นี คูกํ ัน ผิวปกตพิ ันทาง ( ชาย )Aa x ผวิ ปกติพันทางหญิง ( หญิง )Aa

47
จะเห็นได๎วาํ รนํุ ลกู ผิวปกติ 3 ใน 4 หรือ 75 เปอรเ์ ซน็ ต์ และผิวเผอื ก 1 ใน 4 หรือ 25 เปอรเ์ ซ็นต์

48
บทปฏบิ ัตกิ ารที่ 1 การเจรญิ เตบิ โตของพืชและสัตว์
1. สาระสาคญั
การเจรญิ เตบิ โตหมายถึง การเพิ่มจานวนของเซลล์ การขยายขนาดของเซลล์ มกี ารเปลี่ยนแปลงลักษณะ
โครงสรา๎ ง จากโครงสร๎างหนึง่ ไปเป็นอีกโครงสรา๎ งหนงึ่ เชนํ การเจรญิ จากลาต๎นหรือใบไปเปน็ ดอก ดอกเกดิ เป็นผล
เปน็ ต๎น
1.1 การเจริญเตบิ โตของพชื
การเจรญิ เติบโตของพืชแบงํ เปน็ 3 ระยะ คือ ระยะการเจริญเติบโตทางก่ิง ใบ (Vegetative phase)
ระยะการเจริญเตบิ โตทางด๎านสืบพนั ธ์ (Reproductive phase) การออกดอกและติดผล และระยะการแกชํ ราหรอื
การเสอื่ มสภาพ (Senescence) สํวนตาํ ง ๆของพชื ดงั รูปท่ี 1.1

ภาพที่ 1.1 ระยะตาํ ง ๆ ของการเจรญิ เติบโตของพืช
ท่ีมา: http://www.myfirstbrain.com

การเจริญเตบิ โตของพืชเรม่ิ มาจากเมลด็ คัพพะ (Embryo) และแหลงํ เก็บอาหาร (Food reservoir)ในพืชใบ
เลี้ยงเด่ยี วเรียกวาํ เอน็ โดสเปริ ม์ (Endosperm) สาหรบั ในพชื ใบเลี้ยงคูํ เรียกวาํ ใบเลี้ยง (Storage leaf)ดงั ตวั อยําง
ภาพท่ี 1.2 คัพภะของไม๎ดอกบางชนิดสรา๎ งใบเล้ียง 2 ใบ เราเรียกพืชพวกน้ีวํา พชื ใบเลยี้ งคูํ เชนํ แตงกวา ยางพารา
มะขาม เป็นตน๎ สวํ นพชื ท่ีมใี บเล้ียงเพยี งใบเดียว เรียกวํา พืชใบเลย้ี งเด่ียว เชนํ หญ๎า ขา๎ ว ปาล์มน้ามนั มะพรา๎ ว

การเจรญิ เติบโตและดารงชวี ติ ของพืช ตอ๎ งการปัจจัยทางดา๎ นสงิ่ แวดล๎อมทเ่ี หมาะสม ทม่ี ีผลตอํ การ
เจริญเตบิ โตไดแ๎ กํ

1. ดนิ เปน็ ปจั จยั สาคญั อนั ดบั แรก ดินทีเ่ หมาะสมตํอการเจริญเติบโตของพืช ตอ๎ งเปน็ ดินที่อ๎ุมน้าได๎ดี รํวนซยุ
มีอนิ ทรยี ส์ ารมาก แตํเมอ่ื ใชด๎ นิ ปลกู ไปนาน ๆ ดนิ จะเสือ่ มสภาพ เชํน หมดแรธํ าตุ จาเปน็ ตอ๎ งมีการปรับปรุงดนิ ใหอ๎ ดุ ม
สมบูรณ์ ไดแ๎ กํ การไถพรวน การใสํปุ๋ย การปลกู พืชหมนุ เวียน

2. น้า มีความสาคัญตํอการเจริญเตบิ โตของพืชมาก น้าชํวยละลายแรํธาตุ เพื่อให๎รากดูดธาตุอาหารไปเลี้ยง
สวํ นตําง ๆ ของลาต๎นได๎ และยังชวํ ยใหด๎ ินมคี วามชมํุ ชน้ื และการทางานของกระบวนการตําง ๆ ในพืชเป็นไปอยาํ งปกติ

3. ธาตอุ าหาร หรือปุย๋ เป็นสงิ่ ท่ีชํวยใหพ๎ ืชเจรญิ เตบิ โตดยี ิ่งข้ึนธาตุอาหารท่ีจาเปน็ ตํอการเจริญเติบโตของพืช
มี 16 ธาตุแตํธาตุท่ีพืชตอ๎ งการมากในดินมักมีไมํเพียงพอ คือ ธาตไุ นโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ธาตอุ าหาร
เหลาํ นี้ จะตอ๎ งอยูใํ นรูปสารละลายที่พชื นาไปใช๎ได๎ และต๎องมปี ริมาณทพ่ี อเหมาะ จงึ จะทาใหก๎ ารเจริญเตบิ โตของพืช
เปน็ ไปดว๎ ยดี แตถํ ๎ามีไมํเพยี งพอ ต๎องเพิ่มธาตุอาหารใหพ๎ ืชในรปู ของปุ๋ย

49
4. อากาศ ในอากาสมีแก๏สหลายชนดิ แตแํ ก๏สที่พืชต๎องการมาก คือ แก๏สคารบ์ อนไดออกไซด์ และแกส๏
ออกซเิ จนซ่งึ ใชใ๎ นการสังเคราะห์ดว๎ ยแสงเพื่อสร๎างอาหารและหายใจ แกส๏ ท้ังสองชนดิ น้มี ีอยใูํ นดินด๎วย การปลูกพชื เรา
จงึ ควรทาให๎ดินโปรงํ รวํ นซุย อยูเํ สมอ เพือ่ ใหอ๎ าหารทอี่ ยูํในชอํ งวํางระหวาํ งเม็ดดนิ มกี ารถํายเทได๎
5. แสงสวาํ ง หรือแสงแดด พืชตอ๎ งการแสงแดดมาใชใ๎ นการสร๎างอาหาร ถา๎ ขาดแสงแดดพชื จะแคระแกรน ใบ
จะมีสเี หลอื ง หรือขาวซีด และตายในทส่ี ดุ พชื แตลํ ะชนิดต๎องการแสงไมํเทาํ กนั พืชบางชนดิ ต๎องการแสงแดดจัด แตํ
พืชบางชนิดตอ๎ งการแสงแดดนอ๎ ย
6. อุณหภูมิ มสี วํ นชํวยในการงอกและเจรญิ เตบิ โตของพชื เชนํ กนั จะเหน็ ไดว๎ าํ พชื บางชนิดชอบขน้ึ ในที่มี
อากาศหนาวเยน็ แตํพืชบางชนิดกช็ อบขน้ึ ในทม่ี ีอากาศร๎อน

ภาพท่ี 1.2 ลกั ษณะของเมลด็ พืช และการเจรญิ เตบิ โตของพืชใบเล้ยี งเดีย่ วและใบเลีย้ งคูํ
ท่ีมา : www.biology-society.blogspot.com


Click to View FlipBook Version