The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการเรียนหน่วยที่ 3 การเจริญเติบโตและพันธุกรรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อารี พิทยาวงศ์ฤกษ์, 2019-06-04 04:01:12

เอกสารประกอบการเรียนหน่วยที่ 3 การเจริญเติบโตและพันธุกรรม

เอกสารประกอบการเรียนหน่วยที่ 3 การเจริญเติบโตและพันธุกรรม

วชิ า วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อคุณภาพชวี ติ

หน่วยที่ 3 การเจริญเ2ต62ิบ3 โตและพนั ธุกรรม

อารี พทิ ยาวงศ์ฤกษ์
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยฉี ะเชิงเทรา



หนว่ ยท่ี 3 การเจริญเตบิ โตและพนั ธุกรรม
จดุ ประสงค์

1. อธบิ ายการเจริญเติบโตและพฒั นาการของมนุษย์ได้
2. อธิบายปจั จยั ท่ีมีผลต่อการพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของมนุษย์ในด้านตา่ ง ๆ ได้

การเจริญเตบิ โตและพันธุกรรม
2.1การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของมนุษยใ์ นวยั ตา่ งๆ
2.1.1 วยั ทารก
1) พฒั นาการดา้ นรา่ งกาย
ในระยะแรกคลอดทารกจะมีน้าหนักตวั ลดลง แต่เมื่อปรับตวั ได้ดขี ึ้นน้าหนักจะเพ่ิมขึ้นอยา่ ง

รวดเรว็ ในระยะแรกเกิดถึง 6 เดือน หลังจาก 6 เดือนไปแล้วอตั ราการเพ่ิมของน้าหนักจะลดลง ความสูงจะ
เพ่มิ ขน้ึ เรื่อยๆ การเคล่ือนไหวของทารกในระยะแรกคลอด ทารกจะไมส่ ามารถควบคมุ การเคลอื่ นไหวของ
กลา้ มเนอื้ ได้ การเคลื่อนไหวเป็นไปในลักษณะปฏกิ ิริยาสะทอ้ น เชน่ การดูด การกางน้วิ เทา้ เม่ือถูกลบู เทา้ เบาๆ
การผวาเมื่อไดย้ ินเสียงดงั ๆ เป็นต้น ปฏิกิริยาสะท้อนน้ีจะหายไปเมื่อทารกอายุประมาณ 6 เดือน เน่อื งจาก
กลา้ มเนอื้ ส่วนตา่ งๆ เริม่ พฒั นาสมบรู ณ์แข็งแรงขึ้น โดยการพัฒนาของกล้ามเนอ้ื จะเร่ิมจากศรี ษะ ลา้ ตวั แขนขา
และนวิ้ ตามลา้ ดับ สัดสว่ นและขนาดร่างกายส่วนต่างๆของทารก ในระยะแรกเกดิ จะเป็นลักษณะศรี ษะโต กวา่
ล้าตวั เม่อื อายุได้ 1 ปี ศีรษะกบั ล้าตวั จะมีขนาดเทา่ กนั จนกระท่ังอายุ 5 ปี ลา้ ตัวจงึ จะโตกวา่ ศีรษะ การท้างาน
ของอวัยวะตา่ งๆ จะเริม่ พัฒนาข้นึ เร่ือยๆ หลังจากการคลอดออกมา เชน่ การท้างานของต่อมเหง่ือ เพ่ือช่วย
ปรบั อุณหภูมขิ องรา่ งกาย ประสาทสมั ผัสต่างๆ ไดแ้ ก่ การรู้รส การได้กล่นิ การได้ยนิ และการเห็น จะพฒั นาขึ้น
จนช่วยให้เด็กแยกแยะส่ิงตา่ งๆ ได้ดีขนึ้ เปน็ ลา้ ดับ ระบบย่อยอาหารพัฒนาดขี ึน้ โดยทารกจะเริม่ กินอาหารทม่ี ี
ความข้น และ แข็งข้นึ เร่อื ยๆ จนสามารถกินอาหารได้เหมือนผูใ้ หญ่

2) พัฒนาการทางอารมณ์
ในระยะแรกคลอดทารกจะมีอาการต่ืนเต้น ไม่แจม่ ใสและชื่นบานสลับกนั ไป ซึง่ แยกได้
ลา้ บาก ต่อมาอารมณ์จะค่อยๆ พฒั นาขึน้ ตามวุฒิภาวะและการเรยี นรู้อาการทแ่ี สดงออกทางอารมณข์ องทารก
วยั น้ี ท้าใหเ้ ห็นได้วา่ ทารกวัยนอ้ี ารมณโ์ กรธ กลวั อิจฉารษิ ยา อยากรู้อยากเห็น ดีใจ และรัก เช่น การส่งเสยี ง
ร้องเม่ือไม่พอใจ การถอยหนีหรือการร้องเมื่อเหน็ คนแปลกหน้า การเรยี กร้องความสนใจเม่อื ผใู้ หญใ่ ห้ความ
สนใจนอ้ งทเ่ี กิดใหม่หรือคนอื่นๆ มากกว่าตนเอง การรอื้ ค้นสงิ่ ของตา่ งๆการหัวเราะโอบกอดพ่อแมห่ รอื คนที่
คุ้นเคยเปน็ ตน้
3) พัฒนาการทางสังคม
หลังจากทท่ี ารกคลอดได้ 2-3 สัปดาห์ จะเรม่ิ มีปฏิกริ ยิ าตอบสนองต่อเสียงทีค่ ุน้ หู เชน่ เสียง
ของแม่หรือคนเลี้ยง พออายุได้ 6 เดือน ทารกจะเร่ิมแยกคนท่คี ้นุ เคยกับคนทีแ่ ปลกหน้าได้ การไดร้ บั การเล้ียงดู
ท่ีอบอนุ่ คอ่ ยเปน็ ค่อยไปและไดร้ บั ความสนกุ สนานไปดว้ ยจะท้าให้มปี ฏกิ ริ ิยาที่ดีกบั คนแปลกหนา้
4) พฒั นาการทางสติปัญญา
พฒั นาการทางสติปัญญาของทารกมีความสมั พันธก์ ับคุณภาพของประสาทสมั ผสั กบั การรับรแู้ ละการ
เคลอ่ื นไหว เพราะกลไกเหล่านที้ า้ ใหท้ ารกสามารถรับรู้รู้และตอบสนองต่อส่งิ เรา้ ต่างๆ ได้เป็นอยา่ งดี เชน่ ความ

สมบรู ณข์ องอวยั วะที่เก่ียวข้องกบั การไดย้ ิน ท้าใหท้ ารกสามารถเปล่งเสยี งได้ถูกตอ้ งและนา้ ไปสูก่ ารพฒั นาการ
ทางการพูด การจดจา้ และรู้ความหมายของคา้ ต่างๆ ได้มากยงิ่ ขึ้น

2
วยั ทารกเป็นวัยทเ่ี จริญเตบิ โตจนเห็นการเปลย่ี นแปลงได้อย่างชดั เจน ทงั้ ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม
และสติปญั ญา ทารกจะสามารถปรับตัวเขา้ กบั บุคคลและสภาพแวดลอ้ มรอบๆ ได้อยา่ งรวดเร็วแตท่ ารกยงั
ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ จงึ ต้องการการดแู ลเอาใจใส่ด้วยความรัก ความนุ่มนวล อ่อนโยนจากผ้เู ล้ยี งดทู ารกท่ี
ได้รบั ความรักความอบอ่นุ เพียงพอ จะเรยี นร้สู งิ่ แวดล้อมได้อย่างรวดเรว็ มที ศั นคตทิ ่ีดตี ่อบคุ คลทัว่ ๆไป ซ่ึงเปน็
รากฐานทสี่ ้าคัญของการมบี ุคลิกภาพที่ดใี นช่วงวัยตอ่ ๆ ไป
2.1.2 วัยเดก็

1) วัยเด็กตอนตน้ หรอื วัยก่อนเข้าเรียน
1.1 พัฒนาการทางร่างกาย วยั นีอ้ ัตราการเจรญิ เติบโตลดลงอยา่ งเห็นได้ชัด

สัดสว่ นของร่างกายจะเปล่ยี นจากลกั ษณะของทารกอย่างเหน็ ไดช้ ดั ส่วนแขนและขาจะยาวออกไป ศรี ษะจะได้
ขนาดกบั ล้าตวั ไหล่กวา้ ง มอื และเท้าใหญ่ข้นึ โครงกระดูกแขง็ ขน้ึ กลา้ มเนื้อเติบโตและแขง็ แรงขึน้ ในตอน
ปลายในการเคลื่อนไหวสว่ นต่างๆของร่างกายได้ดีขน้ึ เช่น รู้จักกินขา้ ว แต่งตวั ใส่รองเท้าและอาบน้า หวผี มได้
เอง ในระยะ 3-4 ปี จะเริ่มเดินได้อย่างมนั่ คง ตอ่ จากน้นั กจ็ ะสนใจการวงิ่ กระโดด ห้อยโหน ในระยะน้จี งึ
สามารถหัดถีบจักรยานสามล้อ กระโดดเชือกและการฝึกการร้าได้แล้วเป็นต้น

1.2 พฒั นาการทางอารมณ์ เดก็ วยั นีม้ กั จะเป็นคนเจา้ อารมณ์ หงุดหงิดโมโหง่าย
โมโหร้ายอย่างไม่มเี หตผุ ล มกั ขดั ขืนและด้อื ร้นั ต่อพ่อแมอ่ ยู่เสมอ เม่ือเดก็ ได้คบคา้ สมาคมกบั เพ่ือนๆ อาการ
ดังกลา่ วจะค่อยๆ หายไป นอกจากน้นั ยังข้ึนอยู่กบั อารมณ์เล้ียงดูของพ่อแม่เปน็ สา้ คัญอีกดว้ ย เด็กวยั น้ีมักแสดง
อาการโกรธดว้ ยการร้องไห้ ทุบตสี ง่ิ กีดขวาง ท้ิงตวั ลงนอน ถ้ารู้สกึ ตวั ก็จะว่ิงหนี หลบซ่อนตวั เดก็ บางคนที่มีนอ้ ง
ใหมอ่ าจอจิ ฉาน้องกจ็ ะแสดงออกคลา้ ยๆ กบั เวลาเดก็ โกรธหรืออาจมีพฤตกิ รรมถอยกลบั ไปเหมือนตอนยงั เลก็
อยู่ เช่น ปัสสาวะรดทีน่ อน เป็นต้น ลักษณะเด่นอีกอยา่ งของเด็กวยั นี้ คือ เด็กมักจะต้ังค้าถามเก่ยี วกบั ส่ิงตา่ งๆ
และมคี ้าถามตอ่ เนื่องไปเรื่อยๆ ซ่งึ เป็นลกั ษณะทแ่ี สดงให้เห็นถึงความฉลาดของเด็กวยั นี้ นอกจากนี้เดก็ ได้รับ
การตอบสนองความตอ้ งการอย่างสม่า้ เสมอจะเปน็ เด็กอารมณด์ ี รา่ เรงิ แจ่มใส หวั เราะและยิ้มง่าย และมักแสดง
ความรักอย่างเปดิ เผยดว้ ยการโอบกอด

1.3 พัฒนาการด้านสงั คม เด็กวัยนเ้ี ริม่ รู้จกั คบเพื่อนและเลน่ กับเพ่ือนได้ดีขึ้น เด็ก
เริ่มรูจ้ ักกากรปรับตวั ให้เข้ากับเพอ่ื นๆ ซ่ึงจะแสดงออกโดยการใหค้ วามรว่ มมือ การยอมรับฟัง การแสดงความ
เป็นผู้นา้ เดก็ จะเร่มิ รู้จักการแข่งขันเมื่ออายปุ ระมาณ 4-5 ปี เป็นต้นไป โดยเฉพาะการแขง่ ขันระหว่างกล่มุ เด็ก
ที่มพี ี่น้องหลายคนมักจะทะเลาะเบาะแว้งกัน สาเหตุมักมาจาการแย่งของเล่นและลักษณะดงั กล่าวจะค่อยๆ
หายไปเมื่อเด็กเติบโตขึน้ ความกลา้ แสดงออกทางการคบเพ่ือนหรอื การพดู จาของเดก็ ขน้ึ อยูก่ ับการเล้ยี งดทู าง
ครอบครัวมาก นัน่ คือ ถ้าภายในครอบครัวมคี วามสัมพนั ธท์ ี่ดตี ่อกนั เด็กมักจะรู้สกึ กลา้ และมีความมนั่ คงในการ
เขา้ สงั คมนอกบ้าน เปน็ ตน้ นอกจากน้ัน เด็กวัยน้ยี ังชอบรวมกลุ่มกับเพศเดยี วกนั และมักเปลีย่ นเพื่อนเล่นไป
เร่ือยๆ

1.4 พฒั นาการทางสติปญั ญา ในวัยนี้เด็กจะรคู้ ้าศัพท์ใหม่ๆ เพมิ่ ขึน้ มากและเขา้ ใจ
ความหมายของค้าเหล่าน้นั ได้ดี เดก็ จะแสดงความฉลาดของตนเองออกมาโดยการพูดโต้ตอบกับผูใ้ กลช้ ดิ ซึ่ง
เรือ่ งท่ีพูดก็มกั จะเปน็ เรื่องของตนเองและคนทเ่ี ขา้ ไปเก่ียวข้องกบั ตน เด็กวยั น้จี ะมคี วามจ้าดีและในช่วงปลายวัย
ถา้ ไดร้ ับการฝกึ หัดให้อา่ นและเขยี นหนงั สือ เดก็ กส็ ามารถจะทา้ ได้ดีด้วย

2) วัยเข้าเรยี น
2.1 พฒั นาการทางรา่ งกาย ในชว่ งวัยนี้อัตราการเจรญิ เติบโตจะลดน้อยลงเล็กน้อย

แต่ยงั เปน็ ไปอยา่ งสม่้าเสมอ ร่างกายของเด็กจะขยายออกทางสว่ นสูงมากกว่าส่วนกวา้ ง ล้าตัวแบน แขนยาว
ออก อวัยวะย่อยอาหารและระบบหมุนเวยี นของเลอื ดเจรญิ เกอื บเต็มท่ี แต่หัวใจยังเจรญิ ช้ากวา่ อวยั วะเหลา่ นน้ั
มฟี ันแท้ขึน้ แทนฟนั นา้ นมเพิ่มข้นึ เร่อื ยๆ

3

ฟันหนา้ มักขึน้ ก่อนฟันกรามโผลพ่ ้นเหงอื กขนึ้ มาเพ่ือเปน็ ตัวกันให้ฟนั หน้าซ่ีอ่ืนๆ ข้นึ ถกู ต้องตามต้าแหนง่ ของมนั
สมองมนี ้าหนักสงู สุด มีกระดูกขอ้ มือ 6-7 ชิน้ ยงั ไมเ่ จรญิ เต็มท่ี ลกั ษณะของตายังไมเ่ จริญสงู สดุ สายตายงั เป็น
สายตายาวอยู่ การเคล่ือนไหวประสานกันไมด่ ีเต็มท่ี เพราะพัฒนาการของกล้ามเนื้อไม่เท่ากนั กล้ามเน้ือตาของ
เดก็ หญงิ มักจะพัฒนาไดเ้ รว็ กว่าเด็กชาย เด็กวัยนี้มีพลังมากจงึ ไม่อยู่นงิ่ ชอบท้ากจิ กรรมและชอบท้าอยา่ ง
รวดเรว็ ไม่คอ่ ยมีความระมดั ระวังมากนัก ท้าให้ประสบอุบัติเหตุบอ่ ยๆ ต่อมาเมื่อเด็กอายุอยใู่ นช่วง 9-10 ปี
การเจรญิ เติบโตจะมฟี ันเขี้ยวท่ี 1 และเขย้ี วท่ี 2 ขน้ึ เม่ือเด็กมีอายุ 10 ปีข้นึ ไป การเจริญเติบโตจะเปน็ ไปอยา่ ง
รวดเรว็ ท้ังสว่ นสูงและน้าหนกั เด็กหญงิ จะโตกวา่ เด็กชาย ทั้งดา้ นรา่ งกาย
และวฒุ ิภาวะ ประมาณ 1-2 ปี โดยพบวา่ เด็กหญงิ จะปรากฏลกั ษณะเพศขน้ั ทส่ี องขึน้ เร่ือยๆ ได้แก่ ตะโพกผาย
ออก ทรวงอกเจรญิ เตบิ โตและเปลย่ี นแปลงไป จงึ มกั ท้าอะไรงมุ่ ง่าม เกง้ กา้ ง นอกจากน้ีเด็กหญิงจะเรม่ิ มี
ประจา้ เดือนระหวา่ งอายปุ ระมาณ 11-12 ปี ส่วนเด็กชายไหลก่ ว้างข้ึน มอื และเท้าใหญ่ข้ึน เร่มิ มกี ารหลงั่ อสจุ ิ
ระหว่างอายุ 12-16 ปี ซ่ึงเป็นการแสดงว่าวุฒภิ าวะทางเพศเรม่ิ เจรญิ เตม็ ท่ี

2.2 พัฒนาการทางอารมณ์ เดก็ วยั นจ้ี ะมีการเปลีย่ นแปลงทางอารมณม์ าก เพราะ
เดก็ จะปรับตัวจากสภาพแวดลอ้ มเดิมที่บา้ นไปสสู่ ภาพแวดล้อมใหม่ที่โรงเรยี น อารมณ์กลวั จะเปลี่ยนไปจากการ
กลวั สิ่งทีไ่ มม่ ีตัวตน สัตว์ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ มากลัวสงิ่ ทเี่ กิดขน้ึ ไดจ้ รงิ เชน่ กลวั ความอดอยาก กลัวไม่
มเี พื่อน กลัวเรียนไม่ดี เปน็ ต้น นอกจากนี้ เด็กวัยนี้ยังต้องการเป็นทีห่ น่งึ หรอื เป็นคนแรก ต้องการแสดงตนให้
เปน็ ท่ชี ่ืนชมของหมคู่ ณะ เด็กวยั น้จี ะมีสา้ นึกวา่ การอยู่ร่วมกับคนอ่ืนเดือดร้อนและรจู้ ักเห็นอกเห็นใจคนอืน่
ในชว่ งปลายของวัยนี้ คือช่วงอายปุ ระมาณ 10-12 ปี เดก็ จะเปลยี่ นวิธแี สดงอารมณ์โกรธจากการต่อสเู้ ปน็ การ
โตต้ อบด้วยค้าพูด สิ่งท่ีเด็กวยั นีก้ ลวั มากที่สดุ คอื กลัวการไม่เป็นท่ยี อมรบั ของกลุ่ม ไม่ต้องการเด่นหรอื ด้อยกว่า
คนอ่นื เด็กจะมีการเปล่ียนแปลงทางความรูส้ ึกเร็วและง่าย จนบางครั้งท้าใหร้ ูส้ กึ ขัดแยง้ ทางอารมณข์ ึน้ ในระยะ
การเปลย่ี นแปลง ความกลัวจะค่อยเปลย่ี นเปน็ ความกังวลในเรื่องรปู รา่ งของตน อยากเป็นคนแข็งแรงและ
สวยงาม กังวลว่าจะเกิดอนั ตรายกบั ตนเองและครอบครวั เป็นตน้

2.3 พฒั นาการด้านสังคม เมื่อเด็กเร่มิ ต้นไปโรงเรียน อาจมปี ญั หาในการคบเพ่อื น
บ้าง ทงั้ นขี้ น้ึ อยูก่ บั ประสบการณข์ องเด็ก แต่เมือ่ ได้อยูร่ ่วมและเลน่ กีฬากบั เพื่อนๆ เด็กจะค่อยๆ ยอมรบั ฟังและ
ยอมท้าตามความคดิ ของคนอ่ืน เดก็ ชายจะชอบกิจกรรมท่ีได้เคล่อื นไหวทั้งตัว ส่วนเด็กหญิงจะชอบกิจกรรมทไ่ี ม่
คอ่ ยใช้ก้าลงั ในระยะตอนปลายของวัยนี้ เด็กจะให้ความส้าคัญกับกลุม่ มาก จะรู้จกั เปน็ เจ้าของและซื่อสตั ย์ต่อ
กลมุ่ เลอื กคบเพื่อนที่มีอารมณค์ ล้ายคลึงกันและต้องการเพ่ือนท่ไี ว้ใจได้ ชอบเลน่ กบั เพื่อนเป็นหม่มู ากกวา่ เล่น
กับวตั ถุ เด็กชายชอบเลน่ กีฬาท่ใี ชก้ ล้ามเนื้อและกฬี าท่มี ีกฎเกณฑ์ เด็กหญงิ ชอบเลน่ อยกู่ ับเพ่อื นสนทิ 2-3 คน
และเนือ่ งจากเด็กหญิงมีการเจรญิ เติบโตเรว็ กวา่ เด็กชาย จงึ เร่มิ สนใจเพื่อนต่างเพศเรว็ กวา่ รจู้ ักแต่งตัวมากข้นึ
และสนใจเรือ่ งราวของเดก็ ชาย

2.4 พัฒนาการทางสติปัญญา ในระหว่างวยั 7 ปี พัฒนาการทางภาษาของเดก็
เจรญิ เรว็ ขน้ึ รวดเรว็ รคู้ ้าศัพทเ์ พมิ่ มากขึ้น ใช้ภาษาพดู แสดงความคดิ ความรู้สกึ ได้อย่างดี ความร้สู กึ ทางด้าน
จริยธรรมเรม่ิ พฒั นาการในระยะน้ี มีความรับผิดชอบไดบ้ ้างแลว้ เริ่มสนใจสง่ิ ถกู ส่งิ ผดิ สนใจเรือ่ งราวตา่ งๆ
แตย่ งั มมี ีความเขา้ ใจลึกซ้งึ ถงึ ความจริงอาจหยบิ ส่งิ ของของผูอ้ น่ื มาโดยไม่ได้ตั้งใจจะขโมยมาก็ได้ เม่อื พน้ ระยะน้ี
เด็กจะมีประสบการณ์ใหม่เพิ่มขึน้ เนื่องจากมสี ิ่งยัว่ ยุใหม้ กี จิ กรรมทางสมองหลายประการ เช่น
ภาพยนตร์ วทิ ยุ โทรทศั น์ และภาพการ์ตนู เป็นต้น ซ่ึงกลายเป็นส่วนส้าคญั ของเด็กวัย 8 ปี เมือ่ อายุยา่ ง
เข้าปที ่ี เด็กจะชอบการอา่ นมาก โดยเฉพาะเรื่องเกย่ี วกับสัตว์ เรอ่ื งเด็ก เรอื่ งการผจญภัยและตลกขบขนั วัย
น้ีเข้าใจเรอ่ื งเวลาดีขน้ึ สามารถเข้าใจความสัมพนั ธ์ ระหว่างเวลากับกจิ วตั รประจา้ วันได้ เช่น รู้เวลากนิ
อาหาร รู้เวลาโรงเรยี นเขา้ รู้เวลานอน แต่มีความรบั ผดิ ชอบทจี่ ะนอนเองหรือตนื่ เอง เข้าใจการประหยัด
เช่น เก็บเงินคา่

4

ขนมทตี่ นเองอยากได้ ความสนใจของเด็กจะเปลี่ยนแปลงไปตามวัยไดเ้ ชน่ เดียวกับความสามารถดา้ นอืน่ ๆ เด็ก
วัยน้ีจะสนใจสิ่งแปลกๆใหมๆ่ ทม่ี สี สี ันสะดุดตา สนใจสัตวเ์ ลี้ยง ภาพระบายสี ในชว่ งปลายของเด็กวยั นี้เดก็ จะ
เปลี่ยนความสนใจเป็นเรอ่ื งเก่ียวกับการผจญภยั วิทยาศาสตร์ เรอ่ื งที่เกดิ ขึ้นจรงิ และเรือ่ งของเด็กวัย
เดยี วกัน พัฒนาการทางสตปิ ัญญาทีเ่ ห็นได้ชดั คอื จนิ ตนาการสงู ขนึ้ เพราะได้รบั รากฐานจากการอา่ น มี
ความคดิ ริเร่ิมสรา้ งสรรค์ คดิ ทีจ่ ะท้าและประดิษฐ์สง่ิ ต่างๆ ท้ังทีเ่ ป็นงานอดิเรกและกจิ กรรมในชน้ั เรยี น

สิง่ ส้าคัญอีกประการหนงึ่ คือเด็กวัยนี้จะก้าวเข้าสกู่ ารเป็นผ้ใู หญ่ในอนาคต ดงั นัน้ นอกจาก
บรรยากาศที่ดีในครอบครวั แลว้ โรงเรียนก็มีความส้าคัญไมน่ อ้ ยไปกว่ากนั ถา้ เด็กเริม่ เขา้ โรงเรียนดว้ ยทา่ ทหี รือ
ทัศนคติทีด่ ี รักโรงเรยี น รักครู เดก็ ก็จะรักการเรียนและมกั จะเรยี นหนงั สือได้ดี พ่อแม่จึงควรสรา้ งทัศนคติที่
ดตี อ่ โรงเรียนและครใู หแ้ ก่เด็กต้งั แต่ก่อนพาลูกไปเข้าโรงเรยี นและครกู ็ควรเขา้ ใจความรู้สึกของเดก็ แต่ละคนและ
จดั บรรยากาศในโรงเรียนใหเ้ ด็กเกดิ ความรสู้ กึ อบอุ่น มคี วามปลอดภยั มากที่สดุ

2.1.3 วัยรนุ่
1) พฒั นาการดา้ นร่างกาย วยั รุน่ จะมอี ัตราการเจรญิ เติบโตของร่างกายอย่างรวดเร็วมาก
อวยั วะเพศทง้ั ภายนอกและภายในเจริญเติบโตเกือบเต็มทแ่ี ลว้ มีการเจริญเตบิ โตและพฒั นาเขา้ สู่วฒุ ภิ าวะทาง
เพศคือมีความพร้อมทีจ่ ะเป็นพ่อเปน็ แมค่ นไดแ้ ล้ว ทั้งนี้ เพราะตอ่ มไร้ท่อต่างๆ ผลิตฮอรโ์ มนซ่ึงทา้ ใหร้ า่ งกาย

เจริญเตบิ โต โดยเฉพาะส่วนสูงจะเหน็ การเปลีย่ นแปลงได้อย่างชัดเจน ในตอนตน้ ๆเดก็ หญิงจะมีพัฒนาการเรว็
กว่าเดก็ ชายและจะเท่ากนั เม่ืออายุยา่ งเขา้ ช่วงปลายๆ ลักษณะทางเพศภายนอกปรากฏใหเ้ หน็ ชัดเจนข้ึน คอื ใน
เพศหญงิ จะมเี ต้านมขยายใหญ่ เอวคอดลง สะโพกผาย มีขนทอี่ วยั วะเพศ มีประจ้าเดือนคร้ังแรก ในเพศชาย
เสียงห้าวขน้ึ ไหล่ขยายกว้าง มีกล้ามเน้ือเป็นมดั ๆ ปรากฏใหเ้ หน็ อณั ฑะสามารถผลิตอสุจิได้แล้ว

2) พฒั นาการทางอารมณ์ วัยรุน่ เป็นชว่ งท่มี อี ารมณ์รุนแรงและแปรเปลี่ยนไดง้ า่ ย เช่น ในขณะ
ทม่ี อี ารมณร์ ่าเริงอยู่ จๆู่ ก็อาจซึมเศร้าหรือหงุดหงิด โกรธง่ายเมอ่ื ถูกขัดใจ และมักแสดงอาการกา้ วรา้ ว โดยปกติ
วัยนี้เป็นวยั ทร่ี ่าเริงและจะท้ากจิ กรรมตา่ งๆท่ีตนเองสนใจด้วยความสขุ ถ้าเมื่อใดไมม่ ีอิสระท่ีจะท้าอะไรได้
ตามใจก็มกั เกิดความรสู้ ึกเบื่อหน่าย เด็กวยั รุ่น จะมีความคิดเป็นของตนเอง และรู้สกึ วา่ ตนเองโตเปน็ ผใู้ หญ่แลว้
จงึ อยากทา้ อะไรตามความต้องการของตนเอง ท้าใหม้ กั เกิดความขดั แย้งกบั ผู้อ่นื ไดบ้ ่อยๆ

3) พัฒนาการทางสงั คม ในชว่ งวยั รนุ่ นี้ เดก็ มักจะชอบแยกตวั อยู่ตามลา้ พังเมอื่ อย่ใู น
ครอบครวั เพราะต้องการความอสิ ระส่วนสงั คมภายนอกเด็กจะมเี พ่ือนทง้ั สองเพศและกล่มุ เพอ่ื นจะเลก็ ลง การ
คบเพ่ือนของวยั รุ่นจะมีเหตุผลมากข้นึ ชอบทา้ ตัวเลียนแบบบุคคลอื่นที่ตนเองชนื่ ชอบ เชน่ การแตง่ กายตาม
อยา่ งดาราหรือนักร้องท่ตี นชอบ บางคร้งั ชอบท้าตัวแปลกๆ เพอื่ เรียกร้องความสนใจ เมื่อเขา้ สชู ว่ งปลายของวยั
จะเรมิ่ ต้องการความตัวของตัวเองมากขนึ้ อิทธิพลของกลุ่มเพอื่ นจะน้อยลง รู้จักควบคมุ ดพฤติกรรมของตนเอง
และเรม่ิ มีพฤติกรรมทแี่ สดงให้ผู้อืน่ เหน็ วา่ ตนเองเป็นผ้ใู หญ่มากขึ้น เช่น ดื่มเหลา้ เท่ยี วกลางคนื คบเพอ่ื นต่าง
เพศ เปน็ ตน้

4) พฒั นาการทางสตปิ ัญญา วัยรุ่นเปน็ วยั ท่ีมคี วามคิดเป็นนามธรรมมากขึ้น รู้จกั สังเกตและ
ปรบั ปรงุ ขอ้ บกพร่องของตนเอง ต้องการท้าอะไรด้วยตนเองเพื่อหาประสบการณ์ สนใจเรยี นรู้ส่งิ ใหม่ๆ กล้าท่จี ะ
ลองถกู ลองผดิ จึงท้าให้มีการพัฒนาทางด้านสติปญั ญากว้างมากขึน้ เพราะเด็กไดล้ งมือท้าเอง ได้พบกบั ปัญหา
และวิธกี ารแก้ปัญหาดว้ ยตนเอง และถา้ ทา้ ส้าเร็จเด็กก็จะรู้สึกภาคภูมใิ จ วยั น้ีเด็กจะมีเหตุผลมากขนึ้ สามารถ
แสดงความคิดเห็นหรือแสดงความรู้สึกของตนเองให้ผู้อ่นื เข้าใจ รู้จกั สงั เกตความคิดและความรูส้ กึ ของผ้อู น่ื ทมี่ ี
ต่อตนเอง

5

2.1.4 วัยผใู้ หญ่
วยั ผู้ใหญ่ คือ ชว่ งอายุ ๒๐ – ๖๐ ในช่วงต้นของวยั จะมีพัฒนาการทางด้านรา่ งกายอยา่ งเตม็ ทแี่ ต่
ในชว่ งท้ายของวัย หรือทเ่ี รียกว่า วัยทอง ร่างกาย จะเริม่ เสื่อมสภาพลง ในวยั ผูใ้ หญ่ จะมีกระบวนการคดิ ที่
ซับซ้อนมากข้ึน เร่ิมรูจ้ กั คิดไตร่ตรองมากขึ้น คนในวัยนี้มีบทบาทหนา้ ท่ีของพ่อแม่ ท้าให้มีความรับผดิ ชอบมาก
ข้ึนและเมื่อถึงชว่ งทา้ ยของวัย อาจกังวลกับความ
ไมเ่ ทีย่ งแท้ของชวี ิตได้ จนทา้ ใหเ้ กดิ ความแปรปรวนทางอารมณ์

1) วัยผู้ใหญ่ตอนตน้
1.1 พัฒนาการทางร่างกาย บคุ คลในวัยผู้ใหญต่ อนตน้ มีการพัฒนาทางร่างกายอยา่ ง

เต็มท่ที ง้ั เพศหญงิ และเพศชาย ร่างกายสมบรู ณ์ มีการพัฒนาความสงู มาจากวัยรุ่นและจะมีความสูงทสี่ ดุ ในวัย
ผู้ใหญต่ อนตน้ น้ี รวมท้ังกล้ามเน้ือและเนื้อเยื่อไขมนั มีการพัฒนาอย่างเต็มที่เชน่ กนั เมื่อเพศชายอายุประมาณ

20 ปี ไหลจ่ ะกวา้ ง มกี ารเพิม่ ขนาดของต้นแขนและมีความแขง็ แรงของกล้ามเน้ือมากขึน้ ในเพศหญงิ เต้านม
และสะโพกมีการเจรญิ เตม็ ท่ี ในวัยน้รี า่ งกายจะ
มีพลัง คล่องแคลว่ วอ่ งไว การรับร้ตู ่าง ๆ จะมคี วามสมบรู ณ์เตม็ ท่ี เช่น สายตา การไดย้ ิน ความสามารถในการ
ดมกลิ่น การ
ล้ิมรส จนกระทง่ั เข้าสูว่ ยั กลางคนความสามารถต่าง ๆ เหลา่ น้ีจะลดลง

1.2 พัฒนาการด้านอารมณ์ วยั ผู้ใหญ่จะมีการควบคุมอารมณ์ได้ดีขึ้น มีความมน่ั คง
ทางจิตใจดีกวา่ วยั รุ่น คา้ นงึ ถงึ ความรสู้ ึกของผ้อู นื่ รู้สกึ ยอมรับผอู้ น่ื ได้ดีขนึ้ มพี ฒั นาการด้านอารมณ์รัก
(Love) ได้ในหลายรปู แบบ เช่น รกั แรกพบ (Infatuation) หรอื รกั แบบโรแมนตกิ (Romantic love) ในวยั
ผู้ใหญต่ อนต้นน้ีจะมคี วามร้สู กึ แตกตา่ งจากในวยั รุ่น โดยจะมคี วามร้สู ึกทจี่ ะปรารถนาใชช้ วี ิตคู่ดว้ ยกัน
(Sternberg, 1985 cited in Papalia and Olds, 1995) มกี ารใช้กลไกทางจติ ชนดิ ฝันกลางวนั
(Fantacy) การเก็บกด (Impulsiveness) น้อยลง แตจ่ ะใชก้ ารตอบสนองดว้ ยเหตผุ ลทัง้ กับตนเองและผู้อ่ืนมาก
ขนึ้ (ทิพยภ์ า เชษฐ์เชาวลิต, 2541)

1.3 พฒั นาการด้านสงั คม ทฤษฎีพฒั นาบุคลกิ ภาพของอริ ิคสัน วัยผใู้ หญ่ตอนต้นอยู่
ในขั้นพฒั นาการข้ันท่ี 6 คือความใกลช้ ดิ สนทิ สนมหรอื การแยกตวั (intimacy and solidarity vs.
isolation) สังคมของบุคคลวัยนคี้ อื เพื่อนรัก คู่ครอง บคุ คลจะพฒั นาความรกั ความผูกพนั แสวงหามิตรภาพท่ี
สนทิ สนม หากสามารถสร้างมิตรภาพได้ม่นั คง จะเปน็ ผู้ใหญ่ท่ีมคี วามสมั พนั ธ์กันอย่างไว้เนอื้ เช่ือใจและนับถือซงึ่
กนั และกนั ตรงขา้ มกับผ้ใู หญ่ท่ไี มส่ ามารถสร้างความสนทิ สนมจริงจงั กบั ผ้หู นึ่งผ้ใู ดไดจ้ ะมีความรู้สึกอ้างวา้ ง
เดียวดาย (isolation) หรอื เปน็ คนทหี่ ลงรักเฉพาะตนเอง (narcissism)
วยั นีจ้ ะใหค้ วามสา้ คัญกับกลุม่ เพอ่ื นรว่ มวยั ลดลง จา้ นวนสมาชกิ ในกลุ่มเพอ่ื นจะลดลง แต่สัมพันธภาพในเพอื่ นท่ี
ใกล้ชดิ หรือเพ่ือนรักยงั คงอย่แู ละจะมีความผกู พนั กันมากกว่าความผกู พนั ในลกั ษณะของคู่รกั และพบว่ามักเป็น
ในเพื่อนเพศเดยี วกนั (Papalia and Olds, 1995) การสัมพันธก์ บั บคุ คลในครอบครัวจะเพ่ิมขน้ึ เนื่องจากเป็น
วัยทเี่ ริม่ ใช้ชวี ติ ครอบครัวกับคู่ของตนเอง และเกดิ การปรับตัวกับบทบาทใหม่

1.4 พฒั นาการทางสติปัญญา พัฒนาการทางความคิดตามแนวคิดของเพยี เจท์
(Piaget’ s theory) (Papalia and Olds, 1995) กลา่ วว่าวัยผู้ใหญ่มีพัฒนาการทางความคิดสติปญั ญาอยู่ใน
ระดับ Formal operations ซ่ึงเปน็ ขั้นสงู ทีส่ ดุ ของพัฒนาการ มคี วามสามารถทางสตปิ ัญญาสมบรู ณ์ท่ีสดุ คอื
คุณภาพของความคิดจะเปน็ ระบบ มคี วามสัมพนั ธ์กันและมีความคิดรปู แบบนามธรรม (Abstract logic) ผู้ใหญ่
จะมีความคิดเปิดกวา้ ง ยดื หยุ่นมากข้ึน และรจู้ กั จดจ้าประสบการณท์ ี่ไดเ้ รียนรู้ ทา้ ให้สามารถปรบั ตวั เขา้ กับ
สถานการณ์ต่างๆ ได้ดี และได้มผี ู้สา้ รวจศกึ ษาหลายคนท่ีเห็นว่าความคดิ ของผู้ใหญ่ นอกจากจะเปน็ ความคิดใน
การแก้ไขปัญหาดังที่เพยี เจท์กลา่ วไวแ้ ลว้ ยงั มลี กั ษณะของความคิดสรา้ งสรรคแ์ ละคน้ หาปัญหา

6

ด้วย (พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์, 2530อา้ งถึงในทิพย์ภา เชษฐ์เชาวลติ , 2541) จึงมผี ูว้ จิ ารณ์อย่างมากวา่ อาจจะ
อยู่ในระดับ postformal thought มากกวา่ ท้าให้มผี ู้เช่ือว่าแนวคิดของเพียเจท์ไมน่ ่าจะเปน็ ท่ียอมรบั อกี ตอ่ ไป
(ศรีเรอื น แกว้ กังวาล, 2538 )

การปรับตัวกับบทบาทใหม่
1. ชีวิตการท้างาน เม่ือเข้าส่วู ยั ผู้ใหญ่ตอนตน้ บุคคลสว่ นใหญ่จะอยู่ในชว่ งของ

การศกึ ษาระดับอดุ มศึกษา หรือใกล้ทจ่ี ะส้าเร็จการศกึ ษา จะมกี ารวางแผนในการเลือกอาชพี ประกอบอาชีพที่
ตนมคี วามรกั ความพึงพอใจในงาน และการได้พิจารณาแล้ววา่ มคี วามเหมาะสมกบั ตนเอง ย่อมท้าให้ชวี ติ การ
ท้างานมีความสขุ มคี วามพร้อมทีจ่ ะปรบั ตวั กบั เพื่อนร่วมงาน และพร้อมที่จะเผชญิ ปัญหาและการแกไ้ ขปญั หา
ตอ่ ไป

2. ชีวติ คู่ ในวยั รุ่นอาจเริม่ ตน้ การมีสมั พนั ธภาพกับเพื่อนตา่ งเพศจนพัฒนามาเปน็
ความรกั ในวัยผู้ใหญ่ หรอื บางคนเร่มิ ตน้ มีความสนใจเรอ่ื งความรกั อยา่ งจริงจัง สร้างสมั พันธภาพกับคนต่างเพศ
รูปแบบถาวรในวัยผ้ใู หญต่ อนต้น โดยมลี ักษณะคดิ ทีอ่ ยากจะใช้ชีวิตร่วมกัน อยากที่จะสร้างครอบครัวใหม่ เมื่อ
บคุ คลสองคนตกลงใจใชช้ ีวติ ร่วมกันจงึ ต้องมกี ารปรับตัวกับบทบาทใหม่ที่เกดิ ขน้ึ ได้แก่ บทบาทของการเป็น
สามีหรอื ภรรยา มคี วามรบั ผิดชอบในบทบาทใหมท่ ี่ตนไดร้ ับ โดยการเปน็ สามีท่ดี ี ภรรยาที่ดี มีความรกั ความเอา
ใจใสซ่ ึ่งกนั และกนั มีความอดทน ร่วมกันประคบั ประคองชีวิตคู่ รวมท้ังให้การดูแลครอบครัวเดิมของแตล่ ะคน
ในระยะแรกของการใช้ชวี ติ คู่อาจตอ้ งมกี ารปรบั ตัวอยา่ งมากจนกระท่ังปรบั ตวั ได้ดี ชวี ิตคู่กจ็ ะมีความสุขและจะ
ส่งเสรมิ ให้ชีวติ ในด้านอนื่ มีความสขุ ดว้ ย

3. บทบาทการเปน็ บิดามารดา ผู้ใหญ่ตอนต้นมีความปรารถนาท่จี ะเป็นผู้มี
ความสามารถในการปกปอู ง ดูแลผทู้ ่ีอ่อนแอกวา่ เมื่อมชี วี ิตคูจ่ งึ มคี วามต้องการทจี่ ะมบี ุตรเพ่ือท้าหนา้ ทดี่ ังกลา่ ว
ประกอบความต้องการท่ีจะมีทายาท เมื่อมีบตุ รชวี ิตครอบครวั จะตอ้ งมีการปรบั เปลีย่ นบทบาทอีกคร้ังโดยการ
เพมิ่ เติมบทบาทของการเปน็ บิดามารดาโดยเฉพาะในผหู้ ญิงที่เมือ่ แตง่ งานแลว้ แยกครอบครัวออกจากครอบครวั
เดมิ ของตน หรอื การเปน็ ครอบครัวเดีย่ วภายหลังการแตง่ งาน การทา้ งานนอกบ้านกับการเพ่ิมหน้าท่ีของการ
เปน็ มารดาอาจทา้ ให้ประสบกับความยากล้าบากในการปรับตัวในระยะแรก สามจี ึงจา้ เป็นตอ้ งมีบทบาทในการ
เปน็ ผูช้ ว่ ยมารดาในการเล้ียงดูบุตร การมีบุตรน้ที า้ ให้ทั้งสามีและภรรยาไดม้ ีการเรยี นร้ถู ึงความรกั อีกชนดิ หนง่ึ
คือความรกั ที่มีแต่การให้โดยไม่หวงั ส่งิ ใดตอบแทน

4. ชีวิตโสด ในสงั คมปจั จุบันพบวา่ มคี นจ้านวนไม่น้อยมีความสขุ กับชีวิตโสดซงึ่ อาจมี
สาเหตุมาจากการอุทศิ เวลาให้กบั งาน มีความภาคภมู ใิ จในตนเองอย่างมาก ไม่ต้องการท่ีจะมชี วี ติ คู่ หรอื มี
ทศั นคติทไ่ี ม่ดตี อ่ การมชี ีวิตคู่ คนโสดต้องมีการปรับตวั เชน่ กันเนือ่ งจากกลุม่ เพอ่ื นสนิทต้งั แตใ่ นวัยรุน่ เพ่ือน
รว่ มงานมกั มีครอบครวั คนโสดจงึ ต้องหาเพ่ือนใหม่ที่เปน็ โสดเช่นเดยี วกนั ตอ้ งมีการปรบั ตัวกับเพื่อนใหม่ หรือ
เลีย้ งสัตว์เลยี้ งเพ่อื เป็นเพอื่ นและตอบสนองความต้องการที่จะปกปูอง ดแู ลผทู้ ่ีอ่อนแอกวา่ นัน่ เอง

ปญั หาท่ีพบในวัยผู้ใหญต่ อนต้น
ปัญหาที่พบในวัยนี้คอื ปัญหาสุขภาพ เนือ่ งมาจากลักษณะการด้ารงชีวิต (The Lifestyle) เช่น
การสบู บหุ ร่ี การดม่ื เหล้า การรับประทานอาหารไขมนั สูง ไมม่ กี ากใยอาหาร วธิ ีการจัดการกับความเครียดท่ไี ม่
เหมาะสมและการตัดสนิ ปญั หาด้วยการใชอ้ าวธุ สิ่งเหล่านบี้ ่นั ทอนสขุ ภาพเป็นอยา่ งมาก และนา้ ไปสโู่ รคท่เี กดิ

จากพฤตกิ รรมสุขภาพ เช่น โรคถงุ ลมโปุงพอง โรคกล้ามเน้ือหัวใจขาดเลอื ด โรคมะเร็ง รวมทั้งการเสียชีวิตจาก
อบุ ตั เิ หตุ การใช้อาวุธปนื เปน็ ต้น (Papalia and Olds, 1995) ประกอบกบั ในวยั นีม้ ีการปรบั บทบาทใหม่อยา่ ง
มาก ปญั หาท่เี กิดขึ้นจงึ เปน็ ปัญหาท่ีเกดิ จากการไมส่ ามารถปรับ

7

เขา้ ส่บู ทบาทใหม่ เช่น มีปญั หาในการทา้ งาน มปี ญั หากบั เพ่ือนรว่ มงาน - การเปล่ียนงาน การผิดหวังในความ
รกั การสน้ิ สุดการหมน้ั - การสมรส ความผดิ หวังจากการแท้งบตุ ร ความผดิ หวงั เกีย่ วกับเพศของบตุ ร เป็นต้น

2.1.5 วยั กลางคน
วัยกลางคน (Middle age หรอื Middle adulthood) คือช่วงอายุ 40 – 60 ปี เปน็ ชว่ ง
ระยะเวลาที่ยาวนาน ในการก้าหนดบคุ คลเข้าสู่วยั กลางคนนน้ั มกั จะพจิ ารณาสถานการณ์ท่ีเกิดขน้ึ ในชว่ งอายุ
เหลา่ น้ีมากกวา่ จะพิจารณาจากอายุปกติจริง ๆ (ทิพย์ภา เชษฐเ์ ชาวลติ , 2541)
1) พัฒนาการทางรา่ งกาย ในวยั กลางคนนี้ ทั้งเพศชายและเพศหญิงรา่ งกายจะเริ่มมคี วาม
เสื่อมถอยในเกอื บทกุ ระบบของรา่ งกาย ผวิ หนงั จะเริ่มเหีย่ วย่น หยาบ ไมเ่ ต่งตึง ผมเร่ิมร่วงและมีสขี าว นา้ หนัก
ตัวเพม่ิ ขนึ้ จากการสะสมไขมนั ใตผ้ วิ หนังมากขน้ึ ระบบสมั ผัส ได้แก่ ความสามารถในการมองเห็นเปล่ยี นแปลง
ส่วนใหญส่ ายตาจะยาวขึ้น บางคนจะมีอาการหูตงึ เน่ืองจากความเสอ่ื มของเซลล์ การลมิ้ รสและการไดก้ ลิ่น
เปลย่ี นแปลงไป อวยั วะภายในรา่ งกาย เชน่ ผนังเสน้ เลือด หวั ใจ ปอด ไต และสมอง มีความเสอื่ มลงเชน่ กนั (
ศรีเรือน แก้วกงั วาล, 2538 ; 2541)
2) พฒั นาการทางอารมณ์ ในบุคคลท่ปี ระสบกับความส้าเร็จในชีวติ การท้างานจะมีอารมณ์
ม่นั คง รูจ้ กั การ
ให้อภยั ไมเ่ หน็ แก่ประโยชนส์ ว่ นตน มคี วามพึงพอใจในชีวิตที่ผา่ นมา ลักษณะบุคลิกภาพคอ่ นข้างคงที่ บางคน
จะมีอารมณ์เศรา้ จากการที่บตุ รเริ่มมคี รอบครวั ใหม่ การสูญเสียบุคคลอันเป็นท่ีรัก เช่น บิดา มารดา หรอื คู่
สมรส หรือผิดหวงั จากบตุ ร เป็นต้น
3) พฒั นาการทางสังคม ทฤษฎพี ฒั นาบุคลกิ ภาพของอิริคสนั วัยกลางคนอยู่ในขั้นพัฒนาการ
ขั้นท่ี 7 คือ
การบ้ารุงสง่ เสริมผู้อื่นหรือการพะวงเฉพาะตน (generativity vs. self absorption) บุคคลที่มีพฒั นาการอย่าง
สมบรู ณ์ใน
วัยนี้ จะแบง่ ปัน เผือ่ แผ่ เอ้ืออาทรต่อบุคคลอื่นๆ โดยเฉพาะกับบคุ คลทเ่ี ยาว์วยั กวา่ สร้างสรรค์ผลงานใหม่
ก่อให้เกิดความปลาบปล้ืมใจ เหน็ คุณคา่ ของตนเองสงั คมของบคุ คลในวัยกลางคนส่วนใหญค่ อื ทท่ี า้ งานและบา้ น
กลุ่มเพื่อนทส่ี ้าคัญ ได้แก่ เพ่ือนรว่ มงาน หรือเพื่อนบา้ นใกล้เคยี ง ความสัมพันธใ์ นครอบครัวเป็นในลักษณะเฝูาดู
ความสา้ เร็จในการศึกษา และความก้าวหนา้ ในหน้าท่ีการท้างานของบตุ ร ในบุคคลท่ีเปน็ โสดกล่มุ เพื่อนทส่ี ้าคัญ
คอื เพอ่ื นสนิทที่ผูกพันตั้งแต่ในวยั รุ่นหรือ
วัยผใู้ หญต่ อนตน้ ระยะปลายของวัยน้ี ส่วนใหญ่เขา้ สู่วัยใกล้เกษียณอายกุ ารท้างาน บางคนสามารถปรบั ตวั ได้ดี
บางคน

ไม่สามารถปรับตวั ได้ รสู้ ึกทอ้ แท้ ร้สู ึกตัวเองด้อยคุณคา่ อาจมีอาการซมึ เศรา้ (Lefrangois, 1996)
4) พฒั นาการทางสตปิ ัญญา ในระยะวัยกลางคนนจ้ี ะมีพัฒนาการทางสติปัญญาใกล้เคียงกับ

ในวยั ผใู้ หญ่ตอนตน้ มีความคิดเป็นเหตุผล รูจ้ กั คิดแบบประสานขอ้ ขัดแย้งและความแตกต่าง จะสามารถรับรสู้ งิ่
ทเ่ี ปน็ ขอ้ ขัดแย้งตา่ ง ๆ
ได้อย่างรวดเร็ว มคี วามอดทนและมคี วามสามารถในการจดั การกบั ข้อขัดแย้งนนั้ ๆ ดังนน้ั จงึ มีความเข้าใจเร่ือง
การเมือง
เล่นการเมอื ง รจู้ ักจดั การกับระบบระเบียบของสงั คมและรูจ้ ักจัดการกบั เรื่องความสัมพันธร์ ะหว่างบคุ คลอยา่ งมี
วฒุ ิภาวะ
(ศรีเรือน แก้วกังวาล, 2538 )

การปรับตวั กับการเปลย่ี นแปลง
1) วกิ ฤติชวี ิตครอบครัวปัญหาการหย่ารา้ ง เมื่อเกิดวิกฤติชีวิตครอบครวั และไมส่ ามารถ
แกป้ ญั หาไดม้ ัก
จะมีการหยา่ ร้างตามมา การหยา่ รา้ งเป็นภาวะเครยี ดระดับสูงมาก และเปน็ เร่ืองของความสญู เสยี อยา่ งรนุ แรง
ถึงขั้นเปน็
ภาวะวิกฤตทางอารมณ์ (ฉวีวรรณ สตั ยธรรม, 2532) ในครอบครวั ที่ไมม่ บี ตุ รปัญหาจากการหยา่ รา้ งอาจไม่
เกดิ ขน้ึ เลยหรือเกดิ ขนึ้ น้อยมากอาจเปน็ ปัญหาเก่ยี วกบั การเงนิ การหย่ารา้ งของครอบครัวทมี่ บี ตุ รมักจะพบ
ปญั หาผทู้ ีจ่ ะดูแลบตุ รตอ่ ไป

8
บตุ รอาจเป็นทต่ี ้องการของท้ังบดิ ามารดา กรณีนจ้ี ะมีการตกลงกันไมไ่ ด้เนือ่ งจากความต้องการทจ่ี ะเลยี้ งดูบุตร
ของท้ังบิดามารดา บตุ รที่บดิ าและมารดาไมต่ ้องการจะมปี ญั หาตกลงกันไม่ไดเ้ ชน่ กนั สา้ หรบั บตุ รท่เี ป็นที่
ตอ้ งการของฝุายใดฝุายหนึ่งจะสามารถตกลงกนั ได้ อย่างไรก็ตามปญั หาที่เกิดขนึ้ คือความร้สู กึ ของเด็กทีบ่ ิดา
มารดาแยกจากกัน การมีครอบครัวใหมท่ ี่ขาดบิดาหรือมารดา และอาจเปน็ ครอบครวั ใหม่ทม่ี บี ุคคลอน่ื ท้าหน้าท่ี
บทบาทแทนบดิ าหรอื มารดาของตน จะสง่ ผลกระทบต่อจติ ใจของเด็กอย่างมาก

2) วยั หมดประจ้าเดือน ( Menopause )ผหู้ ญิงในวยั หมดประจ้าเดอื นจะมีการเปล่ยี นแปลง
ทางด้านรา่ งกายอนั เนือ่ งมาจากการเปลย่ี นแปลงของระดบั ของฮอรโ์ มนในร่างกาย อาการที่พบได้บอ่ ยคือ
ผวิ หนงั บรเิ วณล้าตัวและใบหน้าแดง ปวดศรี ษะ เน่ืองมาจากเสน้ เลอื ดที่ผวิ หนังขยายตวั อ่อนเพลีย เจบ็ ตามข้อ
ต่าง ๆ หวั ใจเตน้ แรง เป็นต้น และ
อาจมีสาเหตุจากความวติ กกงั วลเรื่องกลัวสามีจะทอดทิ้ง ไม่มคี วามสขุ ทางเพศ จึงพบว่ามีการเปล่ียนแปลงทาง
อารมณร์ ว่ มดว้ ย ที่พบไดบ้ ่อยคอื โรคเศรา้ ในวยั ต่อ (involutional melancholia) (ทพิ ย์ภา เชษฐ์เชาวลติ
, 2541) มีอาการเจ้าอารมณ์ อารมณเ์ ปลย่ี นแปลงงา่ ย หงดุ หงิด ตนื่ เต้น ตกใจง่าย

3) วัยเปลีย่ นชวี ิตในเพศชาย (Male menopause)เพศชาย เมื่ออายปุ ระมาณ 45 - 50 ปี จะ
มีอาการเชน่ เดียวกับผหู้ ญิง เชน่ รสู้ ึกหงดุ หงิด โกรธงา่ ย ฉุนเฉยี ว คดิ เล็กคิดน้อย เน่ืองจากฮอรโ์ มนเทสโทสเตอ
โรนลดจ้านวนลง
ทา้ ให้สมรรถภาพทางเพศของชายค่อย ๆ ลดลงดว้ ย สง่ ผลใหม้ คี วามกลวั วา่ ตนเองก้าลังจะหมดสมรรถภาพทาง
เพศ กลัวความสามารถทางเพศจะลดลง เกิดเป็นความกงั วลเก่ียวกบั ตนเอง เช่น อ้วน หน้าทอ้ งใหญ่ ผมบางลง
เหนื่อยงา่ ย หมดแรงเรว็ ปวดเมือ่ ยกลา้ มเนื้อ เปน็ ตน้ (สชุ า จันทนเ์ อม, 2536) บางรายจะสามารถปรบั ตัวและ
ยอมรบั กับการเปลย่ี นแปลงได้
ในบางรายจะแสวงหายาตา่ ง ๆ เช่น ไวอะกรา้ เพื่อให้เพ่ิมความม่ันใจใหก้ บั ตนเอง

4) การเตรียมตัวเป็นผู้สงู อายุ
เม่อื เข้าสู่ในระยะปลายของวัยกลางคน ใกล้เกษียณอายุการท้างาน บคุ คลจะเร่มิ เข้าสู่วยั ผู้สูงอายุ ใน
บางคนแม้
อายุตามปีปฏทิ ินจะเข้าสูว่ ยั ผสู้ ูงอายุแล้ว แต่ด้วยการดูแลร่างกายทด่ี ีมาต้ังแต่ในวยั รนุ่ วยั ผใู้ หญ่ตอนต้น และวัย
กลางคน
จะท้าให้การเปล่ียนแปลงด้านความเส่ือมของร่างกายปรากฏใหเ้ หน็ นอ้ ยมาก หรือล่าชา้ ออกไปอีกหลายปี ด้าน
จติ ใจกเ็ ชน่ กัน บางคนยงั ดูกระฉบั กระเฉง สดช่ืนอยู่เสมอ ดังน้นั จงึ ควรมีการเตรยี มตวั ท้งั ทางดา้ นรา่ งกายและ
จิตใจเพื่อเข้าสู่วยั ผสู้ งู อายุ
อยา่ งมีคณุ ภาพตอ่ ไป
การเตรียมตัวเป็นผสู้ ูงอายุ ควรปฏิบัตติ นดงั น้ี
1) สุขภาพกาย
1.1 การออกกา้ ลังกาย การออกก้าลงั กายอยา่ งเหมาะสมกับภาวะสขุ ภาพ และเหมาะสมกบั ภาวะการ
มโี รคประจ้าตวั เชน่ โยคะ การวงิ่ เหยาะ ฯลฯ การออกก้าลังกายเป็นประจ้าอยู่เสมอจะท้าใหก้ ล้ามเนื้อมีการ
ทา้ งานยืดหยุ่นตัวอยู่เสมอ กล้ามเน้อื หวั ใจแขง็ แรงข้นึ ถ้าไม่ไดอ้ อกก้าลังกายท้าให้กล้ามเน้อื ลบี เกิดการอ่อน
แรงของกลา้ มเนื้อ
1.2 การพักผอ่ น การพักผ่อนอย่างเต็มท่แี ละมคี ุณภาพคือ การนอนหลับอย่างเพียงพอ เหมาะสมกบั
ความตอ้ งการของร่างกายเฝูาระวังปัญหาสขุ ภาพหรือเอาใจใส่สังเกตอาการผิดปกติของโรคประจ้าตวั ปฏบิ ัติ
ตามค้าแนะนา้ ของแพทย์
2) สุขภาพจติ
มคี วามเขา้ ใจและมกี ารเตรียมจิตใจเพื่อยอมรับความเปลี่ยนแปลงทีจ่ ะเกิดขึน้ ในชวี ติ มกี ารเตรียมเร่อื ง
การเงิน คา่ ใช้จา่ ยต่าง ๆ เรอื่ งทอ่ี ยู่อาศยั และการใชช้ วี ิตต่อไปในวัยผู้สูงอายุ รูจ้ ักการท้าจิตใจให้เปน็ สุข ปล่อย
วางในเร่อื งที่ตนเอง
ไมส่ ามารถจดั การได้อีกต่อไป เชน่ การด้าเนินชวี ติ ของบุตรหลาน เขา้ ร่วมกิจกรรมของการเตรียมพร้อมในการ
เข้าสูว่ ัยผสู้ งู อายุตา่ ง ๆ เช่น เขา้ ฟงั บรรยายพิเศษเร่ือง การเตรียมตัวเข้าสวู่ ัยเกษยี ณอายุ เข้าร่วมโครงการวัย
ทอง เปน็ ตน้

9
2.1.6 วยั สูงอายุ
1) การเปล่ียนแปลงทางด้านร่างกาย เซลล์ตา่ งๆเรมิ่ ตายและมีเซลลใ์ หมเ่ กดิ ทดแทนไดน้ ้อย

และเชือ่ งช้า รา่ งกายสึกหรอ บคุ ลิกภาพเสยี เชน่ หลังโกง ผมหงอก ฟนั หลุดร่วง ตาฝูาฟาง หูตงึ ผิวหนงั เห่ียว
ยน่ กล้ามเนือ้ หย่อนยาน บางรายมือเท้าส่นั การทรงตวั ไมด่ ี ถ้ามีการเจบ็ ปุวยจะรกั ษาลา้ บากกวา่ วัยอนื่ แม้หาย
จากโรคแล้ว ถึงจะบ้ารุงอยา่ งไร
กเ็ จรญิ ได้ไม่เหมือนเดิม

2) การเปลยี่ นแปลงทางดา้ นอารมณ์ บคุ คลวยั น้มี ักจะชอบบ่น อารมณ์ไมค่ งที่ โกรธงา่ ย แต่
บางรายใจดี ทั้งน้ีขนึ้ อยู่กบั สง่ิ แวดล้อม สงั คม และประสบการณ์ท่ผี า่ นมา และขนึ้ อยู่กับสภาพเศรษฐกจิ ใน
ครอบครัวดว้ ย ความพอใจ
ของคนวยั ชราเป็นจ้านวนมากเกดิ จากมติ รภาพและการได้มีโอกาสช่วยเหลือ การบริจาคเงนิ เพื่อสาธารณะกุศล
ต่างๆ

3) การเปล่ียนแปลงทางด้านสังคม บคุ คลวยั นีส้ ่วนใหญจ่ ะสนใจเรอื่ งวดั ธรรมะธมั โม ใจบุญ
สุนทาน
บางรายสละเพศเขา้ สูบ่ รรพชติ อกี ครัง้ อย่างไรก็ตาม บางรายสิง่ แวดลอ้ มและเศรษฐกจิ บังคับใหไ้ มส่ ามารถท้า
ตามท่ใี จปรารถนาได้ ต้องหาเล้ียงชพี หรือได้รบั มอบหมายให้เปน็ ผู้เลี้ยงดูเด็กเลก็ ๆจึงกลายเป็นทีพ่ ึ่งและเพื่อน
เลน่ ของลูกหลาน
มคี วามสขุ และเพลิดเพลนิ ไปกับลกู หลานตวั เล็กๆ

4) พฒั นาการทางด้านสติปญั ญา บคุ คลวัยนี้มกั จะมีความคิดอ่านทีด่ ี สุขุมรอบคอบ แต่ขาด
ความคดิ
ริเริ่ม มกั ยดึ ถือหลักเกณฑ์ท่ีตนเองเชอื่ หลงลืมงา่ ย ความจ้าเลอะเลือน ท้าให้ความสามารถในการเรียนรสู้ ง่ิ
ใหม่ๆ เป็นไปไดย้ ากมากวยั ชราเปน็ วยั ที่ส่วนตา่ งๆ ของร่างกายค่อยๆ เส่ือมลงไปตามเวลา สมองเรม่ิ เส่ือมโทรม
อวยั วะต่างๆ ท้างานอย่าง
ไม่ค่อยมปี ระสทิ ธภิ าพ กลา้ มเนื้ออ่อนเหลวและถูกแทนทดี่ ว้ ยไขมนั ความแข็งแรง กา้ ลงั วังชาลดนอ้ ยถอยลง แต่
ในดา้ นความสามารถทางดา้ นจิตใจอาจจะมีการพฒั นาข้นึ เร่ือยๆ เช่น มคี วามสขุ ุม รอบคอบขึ้น จิตใจเยือกเยน็
ดังนั้น ถ้าหากลูกหลานเขา้ ใจถึงพฤติกรรมตา่ งๆ ของคนวยั ชรา และปฏบิ ตั ิต่อคนชราอย่างเหมาะสม กจ็ ะชว่ ย
ให้คนชรารสู้ ึกว่าตนเอง
ยงั มีคณุ คา่ อยู่และผลทีจ่ ะคนื กลบั สลู่ กู หลานคือ การมที ี่พึ่งทางใจท่ีอบอุ่นและจริงใจ สา้ หรบั คนวัยชราเองก็ควร
จะศกึ ษา
หาแนวทางปฏบิ ัติให้เหมาะสมกับวยั ชราของตนเอง เชน่ การหากจิ กรรมที่สอดคล้องกบั ชวี ติ บางราย
สงิ่ แวดลอ้ ม

2.2ปัจจยั ที่มีผลต่อการเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของมนุษย์

การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการถอื ว่าเปน็ ส่ิงท่ีควบคู่กับวถิ ีการดา้ เนินชวี ิตของมนุษยซ์ ่งึ มี
อิทธพิ ลมาจากพันธกุ รรม หรอื เชอ้ื ชาติ อนั เป็นลักษณะติดตวั มาแต่กา้ เนิด และอิทธิพลทมี่ าจาก
สงิ่ แวดล้อม เช่น ส่ิงแวดลอ้ มทางด้านเศรษฐกิจ สังคม ภาวะโภชนาการ ความสมั พันธ์ระหว่างบคุ คลใน
ครอบครวั ฯลฯ การเจริญเติบโตและพฒั นาการของ
แตล่ ะชว่ งวยั ถือว่ามีความส้าคัญอยา่ งมากต่อรูปแบบของวิถีการดา้ เนินชวี ติ ในอนาคต ซึง่ พบว่ามีปจั จยั ตา่ ง ๆ
หลายประการ
ท่สี ง่ ผลต่อการเจริญเติบโตและพฒั นาการของทุกช่วงวยั ได้แก่ พันธกุ รรม เชื้อชาติ ภาวะ
โภชนาการ ความสมั พนั ธข์ องบคุ คลในครอบครวั ระดบั เศรษฐกจิ และสังคมของครอบครัว ขนบธรรมเนยี ม
ประเพณี และวฒั นธรรม สภาพแวดล้อมทางอารมณ์ การเจบ็ ปวุ ย และฤดูกาล

การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการเป็นกระบวนการเปล่ียนแปลงทเี่ กิดขน้ึ อยา่ งต่อเนื่องตลอด
ชีวติ ของคนเรา
ซง่ึ เป็นการเปลย่ี นแปลงในด้านของโครงสรา้ ง ความสามารถ ทักษะในการท้าหน้าทท่ี ั้งในส่วนของร่างกายและ
จิตใจ
ตลอดจนการปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอ่นื ๆ รอบข้าง โดยจะเกิดขึ้นอย่างต่อเน่ืองเปน็ ขั้นๆ จากระยะหน่ึงไปสู่อกี
ระยะหน่ึง มกี ารเพิ่มขึ้นของขนาด มีลักษณะใหม่ๆ เกิดข้ึน ในขณะเดียวกนั มีการพฒั นาความสามารถทาง
ความคดิ ทจ่ี ะแกป้ ัญหาต่างๆ ได้ดขี ึน้

นอกจากนี้ ยงั พบว่าพฒั นาการยงั รวมไปถึงการสรา้ งสัมพันธภาพกบั บุคคลอืน่ ดว้ ย แต่
ในขณะ เดียวกันพฒั นาการเอง กม็ คี วามหมายรวมถงึ การเปล่ียนแปลงในลกั ษณะเส่ือมถอยได้เชน่ กนั

10
ปจั จยั ภายในที่มีอทิ ธิพลตอ่ การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของมนุษย์
1 พันธุกรรม หมายถึง การถ่ายทอดลักษณะต่าง ๆ จากบรรพบรุ ษุ ไปสู่ลูกหลาน เป็นการสืบเน่อื ง
ลักษณะต่าง ๆ
ทีเ่ ปน็ ลกั ษณะประจ้าตัว ท้าให้มนุษย์มลี กั ษณะบางอย่างท่ีแตกตา่ งกนั ออกไปพนั ธุกรรมจงึ เป็นเครอื่ งกา้ หนด
ขอบเขตลักษณะและความสามารถของบุคคลได้ ซ่งึ โดยทั่วไปแล้วลักษณะการถา่ ยทอดทางพันธกุ รรมแบง่
ออกเปน็ 2 ทาง คือ

1.1 ลักษณะทางกาย ได้แก่
1.1.1สดั ส่วนของร่างกาย ความสงู หรอื เตยี้ เปน็ ผลสว่ นหนึง่ มากจาก

พันธกุ รรม พบว่าสง่ิ แวดลอ้ มภายนอก เช่น การบริโภคอาหาร และการออกกา้ ลงั กายมีผลตอ่ สดั สว่ นของ
ร่างกายมากกว่าพันธกุ รรม

1.1.2 รูปลกั ษณะทางกาย เช่น ผมหยิก ตาเลก็ สีของตา สขี องผม เป็นตน้
1.1.3 กลุ่มเลอื ด ลูกทเ่ี กิดจากพ่อแม่คใู่ ดยอ่ มได้รับการถ่ายทอดชนดิ ของกล่มุ เลือด
จากพ่อแม่ค่นู ัน้

1.1.4 เพศ ทารกที่เกิดมาจะเป็นเพศหญิงหรือชาย ขนึ้ อยู่กับโครโมโซมเพศท่ีไดร้ ับ
จากพ่อแม่โดยพบวา่ เพศชาย จะมโี ครโมโซมเปน็ XY เพศหญิงมโี ครโมโซม XX นั่นคือ

ไข่ (X) + อสจุ ิ (Y) = XY ลกู ชาย
ไข่ (X) + อสุจิ (X) = XX ลกู หญิง
1.1.5 ความผิดปกติและโรคท่ีถ่ายทอดทางพันธกุ รรม เชน่ โรคโลหติ จาง
(Thalasssemia) โรคดา่ งขาว โรคผิวหนังเกลด็ ปลา ภาวะเลอื ดออกแลว้ หยุดยาก(Hemophilia) หรือภาวะ
พร่องเอนไซม์ G-6-P-D เหลา่ นเี้ ปน็ ตน้
1.2 ลกั ษณะทางสตปิ ัญญา การถา่ ยทอดพนั ธกุ รรมด้านสติปญั ญาหรอื ความสามารถของ
สมองนน้ั เช่ือวา่ มีเกดิ ขนึ้ ได้ โดยพบว่าเด็กที่เกิดในตระกลู ท่ีมรี ะดบั สตปิ ญั ญาต้่า จะมีเชาวน์ปญั ญาต้า่ ไป
ดว้ ย แตก่ ็ไมเ่ สมอไป เพราะพบว่าอทิ ธิพลของส่ิงแวดล้อม การกระต้นุ และการเพิม่ โอกาสในการเรยี นรู้ของ
เด็กในกลุ่มท่ีด้อยโอกาส ทา้ ใหเ้ กิดพัฒนาการทางดา้ นสตปิ ัญญาเพิ่มมากข้ึนไดเ้ ชน่ กนั
2. พน้ื ฐานทางอารมณ์ จติ ใจ อารมณน์ น้ั เปน็ ผลเนอ่ื งมาจากพันธุกรรมและปัจจยั แวดล้อมภายนอก
ประกอบกับ ในบุคคลท่ีมีพนื้ ฐานทางอารมณท์ ี่ม่นั คง จะท้าใหม้ พี ฒั นาการทางด้านต่างๆ ไดด้ ขี ึ้น ไมว่ ่าจะ
เป็นทางด้านสังคมบุคลิกภาพ ทางด้านจิตวิญญาณ รวมถึงทางด้านร่างกายด้วย พบว่ามารดาที่มีการฟังเพลง
เบา ๆ ระหว่างการตง้ั ครรภ์
จะท้าใหบ้ ุตรท่ีเกดิ มามีอารมณด์ ี และมีพฒั นาการทางดา้ นตา่ งๆ ทเ่ี ปน็ ไปด้วยดี

ปจั จยั ภายนอกที่มีอทิ ธิพลต่อการเจริญเติบโตและพฒั นาการของมนษุ ย์
1.สภาพแวดลอ้ มทางสงั คม เปน็ ปจั จัยภายนอกที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและพฒั นาการของมนุษย์ใน
ทุกดา้ น
โดยทสี่ ภาพแวดล้อมทางสังคมน้ันรวมถงึ วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณตี ลอดจนวิถชี ีวติ ท่ีบุคคลตอ้ ง
เผชญิ อยู่ด้วย หากบุคคลท่ตี ้องอยู่ในสภาพสังคมท่ีไมเ่ หมาะสม เชน่ อยใู่ นสงั คมแออัด หรอื อยใู่ นครอบครัวที่
แตกแยก กย็ อ่ มที่
จะท้าให้การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการทางดา้ นต่าง ๆ ไม่สามารถดา้ เนนิ ไปตามขนั้ ตอนท่ีควรจะเปน็ ได้
2.การอบรมเลี้ยงดูของผปู้ กครอง สมั พันธภาพภายในครอบครวั เป็นสงิ่ ท่มี คี วามสา้ คญั อยา่ งมากต่อ
พฒั นาการ
ของมนุษย์ โดยเฉพาะในวยั แห่งการคน้ หาคอื วัยทารก วยั เดก็ รวมถึงวัยรุ่น ครอบครัวท่ีมกี ารอบรมเล้ียงดู
อยา่ งดี
มีความเขา้ อกเขา้ ใจในตวั เด็ก ก็จะท้าให้เด็กสามารถท่จี ะเติบโตเปน็ ผใู้ หญ่ที่มีความพร้อม และมวี ฒุ ิภาวะที่
เหมาะสม
ในการดา้ รงชวี ิตต่อไป ในปัจจุบนั สภาพแวดล้อมทางสังคมเกิดการเปลี่ยนแปลงมากจึงจ้าเปน็ อย่างย่ิงท่ี
ครอบครวั จะตอ้ งมบี ทบาทมากข้นึ ในการอบรมเลีย้ งดแู ละสรา้ งความเขา้ ใจ ตลอดจนรู้เท่าทนั ความ
เปลี่ยนแปลงทางสังคมเพ่ือปูองกนั ปญั หาต่างๆ ทีอ่ าจจะเกิดขนึ้ เชน่ ปญั หาการมวั่ อบายมุขของวยั รนุ่ ปญั หา
การมีเพศสัมพันธก์ ่อนวยั อันควร เป็นต้น

11
3.อาหารทบ่ี ริโภค ในปจั จบุ ันพบวา่ เร่อื งของโภชนาการมีความสา้ คญั ตอ่ การเจริญเติบโต และ
พฒั นาการอย่างมาก โดยเฉพาะในด้านร่างกาย ซง่ึ แตเ่ ดิมมคี วามเชอ่ื วา่ พนั ธกุ รรมจะเป็นตวั กา้ หนดวา่ มนษุ ย์
จะมีการเจริญเติบโตเป็นอยา่ งไรเป็นหลัก หากแต่ในปัจจุบัน พบว่าการมภี าวะโภชนาการทดี่ ี มีการบริโภค
อาหารทีถ่ ูกต้องเหมาะสมแกค่ วามต้องการของรา่ งกาย จะท้าให้มนษุ ย์มีการเจริญเติบโตมากข้นึ ได้ เชน่ ชาว
ญป่ี นุ ซ่งึ ในยคุ สงครามโลกครงั้ ท่ี ๒ ตัวเล็ก
ว่าคนไทย แต่ในปจั จบุ นั สูงใหญ่กว่าคนไทยมาก เนื่องจากมกี ารปรับปรงุ รูปแบบของอาหารทีบ่ ริโภค เนน้ ภาวะ
โภชนาการ
ที่เหมาะสม เป็นต้น
4.การเจบ็ ปวุ ยหรืออุบัติเหตุ เป็นภาวะท่ีเปน็ ตวั ขดั ขวางทา้ ให้การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการต่าง ๆ
เกดิ การหยุดชะงกั ทัง้ ในลักษณะชวั่ คราวหรอื ถาวร การเจบ็ ปุวยหรอื การเกิดอบุ ัตเิ หตุ อาจทา้ ให้เกดิ ความ
พกิ ารทางรา่ งกาย
ซึ่งจะสง่ ผลกระทบต่ออารมณ์ของผปู้ วุ ย และส่งผลกระทบตอ่ สงั คมรอบข้างด้วยผลกระทบเหล่าน้จี ะกระทบ
เปน็ ลกู โซ่
จนในที่สุดจะสง่ ผลตอ่ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนษุ ย์ ดงั น้ันบคุ คลท่ีควรมคี วามระมัดระวงั ในการ
ดแู ลสขุ ภาพ
ของตนเองไมใ่ ห้เจ็บปุวย และไม่ประมาทจนเป็นสาเหตุท่จี ะท้าให้เกดิ อุบัตเิ หตุได้

ปัจจัยทางด้านอายุ
อวัยวะทุกๆส่วนในรา่ งกายของเรา จะมีการเสื่อมสภาพตามชว่ งอายุโดยธรรมชาติ แมว้ า่ จะมีการ
บ้ารุงรกั ษาอย่างไร
ก็ตาม เฉก ธนะสริ ิ ได้อธิบายถึงอายุของอวยั วะท่ีเสอื่ มและเห็นไดช้ ัดดงั น้ี อายุ 1 ปี มีความคลอ่ งตวั ของข้อต่อ
อย่างมาก เช่น สามารถงอตัวโดยเอาหัวซุกทข่ี าอ่อนได้พออายเุ ลยนีไ้ ปจะท้าไม่ได้ อายุ 25 ปี กลา้ มเนือ้ สว่ น
ตา่ งๆ ของรา่ งกายเรมิ่ ถอยก้าลังลง ดงั น้ันในวยั หนุ่มสาวจึงพบว่า ร่างกายอยู่ในสภาพที่แข็งแรง อายุ 30-45 ปี
สมรรถภาพทางกายทุกดา้ นเร่ิมลดลง เพราะสมรรถภาพของปอดในการจับออกซเิ จนลดน้อยลง โดยเฉพาะ
อย่างยง่ิ สายตาเริ่มเปล่ียน มองใกลห้ รือไกลไมช่ ดั ตอ้ งอาศัยแว่นตา อายุ 45-50 ปี สมรรถภาพของหวั ใจลดลง
เสน้ เลือดแข็งตัวและตีบตนั มากข้นึ เรม่ิ มีการอาการเหนื่อยง่ายเพราะถุงลมในปอดเริ่มลดลง สมรรถภาพการจับ
ออกซเิ จนนอ้ ยลง ผิวหนงั เริม่ ปรากฏร่องรอยของความเหี่ยวย่น เพราะต่อมใตผ้ ิวหนังและเซลลผ์ วิ หนัง
เสอ่ื มสภาพ ระบบประสาทหยอ่ นสภาพ นอนไมห่ ลบั ปวดศรี ษะโดยไมร่ สู้ าเหตุ และมีอาการอ่อนเพลยี ใน
ผูห้ ญิงบางคนเรมิ่ มีอาการหมดประจา้ เดือน อายุ 50 ปขี ึน้ ไป จิตใจเรมิ่ อ่อนไหวได้งา่ ย บางคนประสาทหเู ร่ิม
เสอื่ ม เพราะเย่ือ
ทข่ี ึงกระดูกหย่อนหรือหนาขึน้ สายตาเร่ิมพรา่ มัว ในผหู้ ญงิ จะเปน็ วัยหมดประจ้าเดือน ในผชู้ ายอาจมีอาการ
ตอ่ มลูกหมากโต ท้าให้ปัสสาวะบอ่ ยข้นึ แค่กะปรบิ กะปรอย ทีเ่ ส้นเลือดไปเล้ยี งหชู ้นั ในอาจตีบตนั จากความ
สูงอายุ จงึ มีอาการคลา้ ยขาดการทรงตัวจงึ รสู้ กึ วิงเวียนศรี ษะ เมอ่ื เปลยี่ นอริ ยิ าบถ อายุ 60 ปขี ึ้นไป เป็นการเขา้

สู่วัยชรากระดกู เร่มิ ผุกร่อนและบางลง เปราะ และหักไดง้ ่าย ความสงู เรมิ่ ลดลงประมาณ 1-2 เซนตเิ มตร
เนือ่ งจากหมอนรองกระดูกเกิดการผุกรอ่ นลงและประสาทตา่ งๆ จะเส่ือมลงหากไม่ได้ใช้จะเกิดการเส่ือมเรว็
ยง่ิ ขึ้น ส่วนหแู ละตาจะเสื่อมมาก
https://sites.google.com/site/ann5481136701/bth-thi2phathnakar-khxng-mnusy-tam-way


Click to View FlipBook Version