The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
ผู้จัดทำ นางสาวฐิติมา บุญลาภ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thitima2121998, 2023-07-05 08:09:34

โครงสร้างรายวิชาภาษาไทย

ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
ผู้จัดทำ นางสาวฐิติมา บุญลาภ

ค ำอธิบำยรำยวิชำ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย รหัสวิชำ ท๑๔๑๐๑ ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๔ เวลำ 160 ชั่วโมง อ่านออกเสียงร้อยแก้ว ร้อยกรอง ที่ประกอบด้วย ค าที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้น ค าควบกล า อักษรน า ค าประสม อักษรย่อ เครื่องหมายวรรคตอน ประโยคที่มีส านวนเป็นค าพังเพย สุภาษิต ปริศนาค าทาย อ่านเรื่อง สั น ๆ เรื่องเล่า ประสบการณ์ นิทานชาดก บทความ บทโฆษณา ข่าวและเหตุการณ์ประจ าวัน แยกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น อธิบายความหมายของค า ประโยค ส านวน คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน สรุปความรู้ และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน โดยใช้กระบวนการอ่าน คัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนค าขวัญ ค าแนะน า แผนภาพโครงเรื่อง ย่อความ เรียงความ ประกาศ จดหมายถึงเพื่อน และบิดามารดา บันทึก และรายงานจากการศึกษาเขียนตามจินตนาการโดยใช้กระบวนการเขียน จ าแนกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น จับใจความ พูดแสดงความรู้ ความคิดจากเรื่องเล่า บทความสั น ๆ ข่าวและเหตุการณ์ โฆษณา สื่อ อิเล็กทรอนิกส์ พูดรายงาน โดยใช้การฟัง การดู และการพูด สะกด และบอกความหมายของค าในมาตรา แม่ ก กา มาตราตัวสะกด ผันอักษรค าเป็นค าตาย ค าพ้อง ชนิดของค า ค านาม ค าสรรพนาม ค ากริยา ค าวิเศษณ์ ส านวนที่เป็น ค าพังเพย สุภาษิต ส่วนประกอบของประโยค ประโยค ๒ ส่วน ๓ ส่วน กลอนสี่ ค าขวัญ การใช้ พจนานุกรม การเปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น บอกข้อคิด จากวรรณคดี วรรณกรรม นิทาน พื นบ้าน นิทานคติธรรม ท่องจ าบทอาขยาน และบทร้อยกรองโดยการแสดงความคิดเห็น เพื่อให้นักเรียนสามารถ น าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้ มีมารยาทในการอ่าน การฟัง การดู การพูด รวมทั งรักภาษาไทยและรักษาไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ท 1.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7, ป.4/8 ท 2.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7, ป.4/8 ท 3.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6 ท 4.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7 ท 5.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4 รวม ๕ มำตรฐำน 33 ตัวชี้วัด


โครงสร้างรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๔๑๐๑ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง ล ำดับ ที่ หน่วยกำรเรียนรู้ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ /ตัวชี้วัด สำระส ำคัญ เวลำ (ชั่วโมง) น้ ำหนัก คะแนน ๑ หลักภำษำ และกำรใช้ภำษำ มาตรา ก กา จ าไว้ หนาไม่มีตัวสะกด ท ๔.๑ ป.๔/๑ ค าที่ไม่มีตัวสะกดทุกค า จัดเป็นค าใน มาตรา ก กา ๔ ๒ ๒ มาตราตัวสะกด ทั งหมด ๘ มาตรา ท ๔.๑ ป.๔/๑ ตัวสะกดเป็นส่วนประกอบหนึ่ง ของค า เสียงตัวสะกดมี ๘ มาตรา บางมาตรามีพยัญชนะที่เป็นตัวสะกด ตัวเดียว บางมาตรามีพยัญชนะที่เป็น ตัวสะกดหลายตัว ๔ ๒ ๓ ไตรยางศ์สร้างค า ท ๔.๑ ป.๔/๑ พยัญชนะไทย ๔๔ ตัว แบ่งตาม ระดับเสียงของพยัญชนะได้เป็น อักษรสูง อักษรกลาง และอักษรต่ า ซึ่งเป็นหลักเกณฑ์หนึ่งที่ใช้ในการผัน อักษร ๔ ๒ ๔ ค าเป็น ค าตาย สังเกตง่ายไม่ยาก ท ๔.๑ ป.๔/๑ ค าที่ไม่มีตัวสะกดและประสมสระ เสียงสั นกับค าที่มีตัวสะกดอยู่ใน มาตรา กก กด กบ ทุกค าเรียกว่า ค าเป็น ส่วนค าที่ไม่มีตัวสะกดและ ประสมสระเสียงยาวรวมทั งค าที่ ประสมสระ -ำ ใ- ไ- เ-า กับค าที่มี ตัวสะกดอยู่ในมาตรา กง กม เกย เกอว กน ทุกค าเรียกว่า ค าตาย ๔ ๒


ล ำดับ ที่ หน่วยกำรเรียนรู้ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ /ตัวชี้วัด สำระส ำคัญ เวลำ (ชั่วโมง) น้ ำหนัก คะแนน ๕ วรรณยุกต์สิ่งส าคัญ ช่วยผันอักษร ท ๔.๑ ป.๔/๑ วรรณยุกต์มีทั งเสียงและรูปค าทุกค า มีเสียงวรรณยุกต์แม้จะไม่มีรูป วรรณยุกต์ ปรากฏการผันค าตาม ๔ ๒ ๖ สามค าพ้องต้อง พิจารณา ท ๔.๑ ป.๔/๑ ค าพ้องมีทั งค าที่เขียนเหมือนกัน และอ่านออกเสียงเหมือนกัน การฝึก อ่านและเขียนเป็นประจ าจะท าให้ อ่าน เขียน และใช้ค าต่าง ๆ สื่อสาร ได้ถูกต้อง ๔ ๒ ๗ ค านามเรียกขาน ตามชื่อ ท ๔.๑ ป.๔/๒ ค าที่ใช้เรียกชื่อคน พืช สัตว์ สิ่งของ สถานที่และสิ่งต่าง ๆ จัดเป็นค านาม ๔ ๒ ๘ ค าแทนชื่อนี คือ สรรพนาม ท ๔.๑ ป.๔/๒ ค าที่ใช้เรียกแทนค านามใน การสนทนา จัดเป็นค าสรรพนาม ซึ่งมีทั งค าสรรพนาม ส าหรับใช้แทน ผู้พูด ผู้ฟัง และผู้ที่กล่าวถึงค าสรรพนามช่วยให้การสื่อสารกระชับ เพราะไม่ต้องกล่าวค านามนั นซ า ๔ ๒ ๙ ค ากริยาสื่ออาการ ท ๔.๑ ป.๔/๒ ค าที่แสดงอาการหรือการกระท า ของนามและสรรพนามซึ่งเป็น ประธานของประโยค เรียกว่า ค ากริยา ค ากริยาบางค ามีใจความ สมบูรณ์ในตัว ไม่ต้องมีกรรมมา ต่อท้าย แต่ค ากริยาบางค าต้องมี กรรมมาต่อท้ายจึงจะได้ใจความ สมบูรณ์ ๔ ๒


ล ำดับ ที่ หน่วยกำรเรียนรู้ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ /ตัวชี้วัด สำระส ำคัญ เวลำ (ชั่วโมง) น้ ำหนัก คะแนน ๑๐ ค าวิเศษณ์ขยายค า จ าให้แม่น ท ๔.๑ ป.๔/๒ ค าที่ท าหน้าที่ขยายค ากริยาให้มี ความหมายชัดเจนขึ น เรียกว่า ค าวิเศษณ์ ค าวิเศษณ์มักจะอยู่หลัง ค ากริยาที่ขยายถ้าเป็นค ากริยาสกรรม ค าวิเศษณ์จะอยู่หลังค านามที่ท า หน้าที่เป็นกรรมของค ากริยานั น ๔ ๒ ๑๑ อ่านเขียนอย่างไรต้อง ใช้พจนานุกรม ท ๔.๑ ป.๔/๓ พจนานุกรมใช้อ้างอิงการเขียนสะกด ค า การอ่านค า ความหมายของค า รวมทั งชนิดและที่มาของค า ๔ ๒ ๑๒ ภาษาไทยน่าเรียน ฝึกเขียนด้วยประโยค ท ๔.๑ ป.๔/๔ ประโยคเกิดจากการน าค าหรือ กลุ่มค า มาเรียบเรียงให้ได้ใจความ เพื่อใช้สื่อสาร ๔ ๒ ๑๓ กลอนสี่ วรรคละสี่ค า จดจ าได้ง่าย ท ๔.๑ ป.๔/๕ กลอนสี่เป็นบทร้อยกรองที่มี๔ วรรค วรรคละ ๔ ค า บทร้อยกรองจะมี สัมผัสระหว่างวรรคและระหว่างบท ท าให้เกิดความไพเราะ ๔ ๒ ๑๔ ค าขวัญเตือนใจ ให้ท าความดี ท ๔.๑ ป.๔/๕ ค าขวัญเป็นถ้อยค าที่มีเสียงคล้องจอง ท าให้ไพเราะ และมีความหมายกินใจ สามารถจดจ าได้ง่าย ๔ ๒ ๑๕ ค าพังเพย สุภาษิต ให้ข้อคิดสอนใจ ท ๔.๑ ป.๔/๖ ค าพังเพยและสุภาษิตเป็นส านวนที่ ให้ข้อคิด คติสอนใจในการด าเนิน ชีวิต ถ้อยค ามีลักษณะกระชับ กินใจ ไพเราะ ๔ ๒


ล ำดับ ที่ หน่วยกำรเรียนรู้ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ /ตัวชี้วัด สำระส ำคัญ เวลำ (ชั่วโมง) น้ ำหนัก คะแนน ๑๖ ภาษาไทย ภาษาถิ่น บอกความเป็นไทย ท ๔.๑ ป.๔/๗ ภาษาถิ่นเป็นภาษาที่ใช้สื่อสารเฉพาะ ท้องถิ่นค าที่มีความหมายอย่าง เดียวกัน อาจใช้ค าแตกต่างกันในแต่ ละถิ่น การเข้าใจความหมายของ ภาษาถิ่น ท าให้การสื่อสารกับคนใน ท้องถิ่นดีขึ น ๔ ๒ ๑๗ อ่านได้คล่อง ต้องรู้วิธี ท ๑.๑ ป.๔/๑ ท ๑.๑ ป. ๔/๒ ท ๑.๑ ป.๔/๒ ท ๑.๑ ป.๔/๔ ท ๑.๑ ป.๔/๘ ท ๓.๑ ป.๔/๑ การอ่านบทร้อยแก้วได้ถูกต้องชัดเจน จะท าให้การอ่านมีประสิทธิภาพ ผู้อ่านสามารถจับใจความได้ถูกต้อง การอ่านออกเสียงบทร้อยกรองต้อง แบ่งจังหวะให้ถูกต้อง การอ่านต้องมี เสียงสูงต่ า หนักเบาเอื อนเสียงเพื่อ ความไพเราะ การแยกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็นได้อย่างถูกต้องจะช่วย ให้เป็นคนมีเหตุผลไม่หลงเชื่อสิ่งต่าง ๆ ได้ง่าย การมีมารยาทในการอ่าน ช่วยให้เป็นผู้อ่านที่ดี และการอ่านมี ประสิทธิภาพ ๙ ๕


ล ำดับ ที่ หน่วยกำรเรียนรู้ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ /ตัวชี้วัด สำระส ำคัญ เวลำ (ชั่วโมง) น้ ำหนัก คะแนน ๑๘ เขียนช านาญ งานสร้างสรรค์ ท ๒.๑ ป.๔/๑ ท ๒.๑ ป.๔/๒ ท ๒.๑ ป.๔/๓ ท ๒.๑ ป.๔/๔ ท ๒.๑ ป.๔/๕ ท ๒.๑ ป.๔/๖ ท ๒.๑ ป.๔/๗ ท ๒.๑ ป.๔/๘ การคัดลายมือได้ถูกต้องตาม หลักการเขียนตัวอักษรไทยและ สวยงามช่วยให้อ่านง่าย และเป็น การเชิดชูภาษาไทย การเขียนสื่อสาร ต้องใช้ค าให้ถูกต้องเหมาะสม สามารถสื่อความหมายได้ชัดเจน การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิด เป็นการจัด ข้อมูลอย่างมีระบบท าให้เข้าใจ เรื่องราวได้ดียิ่งขึ น การเขียนย่อ ความเป็นการสรุปใจความส าคัญจาก เรื่องที่อ่าน จะท าให้เข้าใจเนื อเรื่อง ชัดเจน การเขียนจดหมายถึงเพื่อน และบิดามารดา ควรใช้ภาษาให้ ถูกต้องเหมาะสม การเขียนบันทึก จากการศึกษาค้นคว้า ช่วยให้มี ความรู้และประสบการณ์ในการเขียน เพิ่มมากขึ น การเขียนรายงานเป็น การน าเสนอข้อมูลจากการศึกษา ค้นคว้า การเขียนได้ถูกต้องครบถ้วน จะท าให้รายงานมีความน่าเชื่อถือ ผู้อ่านเข้าใจได้ง่าย การเขียนเรื่อง ตามจินตนาการเป็นการฝึกความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ และจินตนาการ การมีมารยาทในการเขียนจะช่วยให้ การถ่ายทอดความรู้ และความคิด ของผู้เขียนไปสู่ผู้อ่านอย่างมี ประสิทธิภาพ ๒๕ ๑๓


ล ำดับ ที่ หน่วยกำรเรียนรู้ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ /ตัวชี้วัด สำระส ำคัญ เวลำ (ชั่วโมง) น้ ำหนัก คะแนน ๑๙ ฟัง ดู รู้สนทนา ภาษาสื่อสาร ท ๓.๑ ป.๔/๒ ท ๓.๑ ป.๔/๓ ท ๓.๑ ป.๔/๔ ท ๓.๑ ป.๔/๕ ท ๓.๑ ป.๔/๖ การพูดสรุปความจากการฟัง และดู เป็นการพูดใจความส าคัญของเรื่อง ซึ่งผู้พูดต้องฟังและดูเรื่องนั นอย่าง ตั งใจ และมีวิจารณญาณจึงจะท าให้ พูดสรุปความได้ดี การพูดแสดง ความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึก เกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู ต้องพูด อย่างมีเหตุผล สุภาพ และมีมารยาท จึงจะเกิดประโยชน์ต่อผู้พูด และผู้ฟัง การตั งค าถาม และตอบค าถามเชิง เหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู ท าให้ วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือ และสรุป ใจความส าคัญของเรื่องได้ การพูด รายงานเป็นการน าเสนอข้อมูล ที่ได้ จากการศึกษาค้นคว้าอย่างถูกต้องให้ ผู้ฟังเข้าใจ ผู้พูดรายงานต้องมีทักษะ ในการพูด การพูดรายงานนั นจึงจะ สัมฤทธิ์ผล และได้รับประโยชน์อย่าง เต็มที่ การมีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ท าให้ได้รับความรู้ที่ดี มีประโยชน์ในการด าเนิน ชีวิตประจ าวัน ๑๔ ๘ ๑ วรรณคดี และวรรณกรรม บทละครเรื่อง เงาะป่า ท ๑.๑ ป.๔/๓, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ท ๕/๑ ป.๔/๒, ป.๔/๔ บทละครเรื่อง เงาะป่า พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนี มีเค้า เรื่องจริงของเงาะซาไก ซึ่งอาศัยอยู่ แถบจังหวัดพัทลุง ในเนื อเรื่องมี การใช้ภาษาที่เป็นภาษาเงาะด้วย ๘ ๓


ล ำดับ ที่ หน่วยกำรเรียนรู้ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ /ตัวชี้วัด สำระส ำคัญ เวลำ (ชั่วโมง) น้ ำหนัก คะแนน ๒ พระอภัยมณี ตอน ก าเนิดสุดสาคร ท ๑.๑ ป.๔/๓, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗ ท ๕/๑ ป.๔/๒, ป.๔/๔ เรื่องพระอภัยมณี เป็นนิทาน ค ากลอนที่สุนทรภู่แต่งได้อย่าง สนุกสนาน เรื่องราวการผจญภัยล้วน น่าตื่นเต้นชวนให้ติดตาม และตื่นตา ตื่นใจไปกับจินตนาการของกวี ๖ ๕ ๓ น าผึ งหยดเดียวก่อเหตุ ท ๑.๑ ป.๔/๓, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗ ท ๕/๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒ นิทานเทียบสุภาษิตเรื่อง น าผึ งหยด เดียวก่อเหตุ แสดงถึงสาเหตุเพียง เล็กน้อยที่ท าให้เกิดเรื่องราวใหญ่โต เพราะความขาดสติยั งคิด ๔ ๕ ๔ บทเห่กล่อม พระบรรทมเห่ เรื่อง จับระบ า ท ๑.๑ ป.๔/๓, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗ ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๔ บทเห่กล่อมพระบรรทมเห่ เรื่องจับระบ า เป็นผลงานประพันธ์ ของสุนทรภู่ เนื อเรื่องกล่าวถึง นางเมขลากับรามสูร ซึ่งเป็นต านาน การเกิดฟ้าแลบ ฟ้าร้อง และฟ้าผ่า ตามความเชื่อของไทย ๔ ๕ ๕ นิราศเดือน ท ๑.๑ ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๖, ป.๔/๗ ท ๕.๑ ป.๔/๒, ป.๔/๔ นิราศเดือนของนายมี เป็นวรรณคดี ที่กล่าวถึงประเพณีไทยทั ง ๑๒ เดือน โดยบรรยายให้เห็นถึงวิถีชีวิต และความเป็นไทย ๖ ๕ ๖ ค าประพันธ์สุภาษิตให้ ข้อคิดสอนใจ ท ๑.๑ ป.๔/๓, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗ ท ๕.๑ ป.๔/๒, ป.๔/๔ ความดีที่เรากระท าไว้ จะท าให้ผู้อื่น จดจ าเราตลอดไป ๔ ๕


ล ำดับ ที่ หน่วยกำรเรียนรู้ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ /ตัวชี้วัด สำระส ำคัญ เวลำ (ชั่วโมง) น้ ำหนัก คะแนน ๗ เที่ยวเมืองพระร่วง ท ๑.๑ ป.๔/๓, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗ ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๔ บทละครพูดค ากลอน เรื่อง พระร่วง พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นวรรณคดีที่มีเนื อหายกย่อง วีรบุรุษ ปลูกฝังความรักชาติและ แสดงให้เห็น พลังของความสามัคคี ๖ ๓ ๘ เพลงพื นบ้าน ท ๕.๑ ป.๔/๓ เพลงพื นบ้านจะใช้ค าภาษาถิ่นเป็น เนื อร้อง ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ประจ าถิ่น ๔ ๕ ๙ บทอาขยาน ท ๕.๑ ป.๔/๔ การท่องจ าบทอาขยาน นอกจากจะ ช่วยฝึกความจ าแล้วยังเป็น การปลูกฝังความคิดและค าสอนดี ๆ ให้ฝังแน่นอยู่ในตัวเราด้วย ๖ ๕ รวม ๑๖๐ ๑๐๐


แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๔๑๐๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ เรื่อง ค านามเรียกขานตามชื่อ จ านวน ๔ ชั่วโมง เรื่อง ประเภทของค านาม จ านวน ๑ ชั่วโมง ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียนสร้างสุข ๑. มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ๑.๑ มาตรฐานการเรียนรู้ ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ๑.๒ ตัวชี้วัด ท ๔.๑ ป. ๔/๒ ระบุชนิดและหน้าที่ของค าในประโยค ๒. สาระส าคัญ ค านาม คือ ค าที่ใช้เรียกสิ่งต่าง ๆ ทั้งที่เป็นสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต เช่น คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ ค านาม ทั่วไปจะเรียกว่า ค านามสามัญ และค านามที่เป็นชื่อเฉพาะเจาะจงของค านามสามัญ เรียกว่า ค านามวิสามัญ ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องประเภทค านาม (K) ๒. นักเรียนจ าแนกประเภทของค านามได้ถูกต้อง (P) ๓. นักเรียนให้ความร่วมมือในการท ากิจกรรม (A) ๔. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในการท างาน ๕. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๖. สาระการเรียนรู้ ชนิดของค าในภาษาไทยมีหลายชนิด ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ มีชนิดของค าที่ควรรู้จักคือ ค านาม ค ากริยา ค าสรรพนาม และค าวิเศษณ์ โดยชนิดของค าประเภทแรกที่ควรรู้จักคือ ค านาม ในการเรียนรู้ นักเรียนควรมีความรู้ความเข้าใจเรื่องค านาม สามารถจ าแนกประเภทของค านามได้ และนักเรียนต้องให้ความ ร่วมมือในการท ากิจกรรมในชั้นเรียน


๗. กิจกรรมการเรียนรู้(ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง - Constructivism) ๗.๑ ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ครูกล่าวทักทายนักเรียน จากนั้นเกริ่นน าเบื้องต้นว่า วันนี้ครูจะพานักเรียนไปชมบรรยากาศของ การท าพิซซ่า และเริ่มเข้าสู่กิจกรรมการเรียนรู้ ๗.๒ ขั้นสอน ๑. ขั้นแนะน า : ครูแจ้งจุดมุ่งหมายของกิจกรรมวันนี้ นั่นคือ มีเนื้อหาเกี่ยวกับประเภทค านาม และแจ้งให้นักเรียนได้ทราบรายละเอียดกิจกรรมเบื้องต้น ยกตัวอย่างเช่น วันนี้มีกิจกรรมพิซซ่าหน้าค านาม โดยให้ นักเรียนช่วยกันท าเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๒ ถาด ๒. ขั้นทบทวนความรู้เดิม : ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน จากนั้นแจกพิซซ่าให้ นักเรียนกลุ่มละ ๒ ถาด และแต่ละกลุ่มช่วยกันท าพิซซ่าหน้าค านาม โดยครูอธิบายเพิ่มเติมว่า ทุกกลุ่มจะได้ท า พิซ ซ่า ๒ ถาด ถาดแรกคือ ค านามสามัญ (สามานยนาม) และถาดที่สองคือ ค านามวิสามัญ (วิสามานยนาม) ใน แต่ละถาดจะมีค านามทั้งหมด ๕ ค า ครูจะให้เวลาในการท า ๑๐ นาที ๓. ขั้นปรับเปลี่ยนความคิด ๓.๑ สร้างความกระจ่างและอภิปรายร่วมกัน : เมื่อทุกกลุ่มท าพิซซ่าหน้าค านามเสร็จ ให้น า พิซซ่าแต่ละถาดของตนมาแลกเปลี่ยนกันในชั้นเรียน ว่าแต่ละกลุ่มได้ค าว่าอะไรบ้าง และค าที่ได้นั้นเป็นค านาม ประเภทใด โดยครูเป็นผู้อธิบายเนื้อหาประเภทของค านามควบคู่ไปด้วย ๓.๒ สร้างความคิดใหม่และอภิปราย : ครูอธิบายการแยกประเภทของค านาม เช่น ค านาม สามัญมีวิธีการสังเกต คือ จะเป็นค านามที่ใช้เรียกชื่อ คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ หรือสิ่งอื่น ๆ ที่มีความหมายไม่ เฉพาะเจาะจง ยกตัวอย่างเช่น โรงเรียน คุณครู จังหวัด บ้าน วัด ส่วนค านามวิสามัญ คือค านามที่ใช้เรียกค านาม สามัญที่มีความเฉพาะเจาะจง ยกตัวอย่างเช่น น้องจิน พี่ยูตะ จังหวัดสุรินทร์ เจ้าตูบ วัดพระแก้ว เป็นต้น ในระหว่างการอธิบายครูจะยกตัวอย่างประกอบ พร้อมทั้งให้นักเรียนร่วมยกตัวอย่างเพิ่มเติมด้วย ๓.๓ การประเมินความคิดใหม่ : ครูก าหนดค านามสามัญ และค านามวิสามัญที่นอกเหนือจาก กิจกรรมการเรียนรู้ในวันนี้ จากนั้นให้นักเรียนช่วยกันตอบว่าค านามนั้นเป็นค านามประเภทใด เพื่อประเมิน องค์ความรู้ของนักเรียนว่าเข้าใจสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปหรือไม่ ๓.๔. การน าความคิดไปใช้: นักเรียนท ากิจกรรมโดยใช้เกม baamboozle “ฉันคือใคร” ให้ช่วยกันท าเป็นกลุ่มเหมือนเดิม ซึ่งวิธีการเล่นเกม ดังนี้ ๑. แต่ละกลุ่มช่วยกันเลือกแผ่นป้ายทีละ ๑ แผ่น ในแผ่นป้ายจะมีค านาม จากนั้นให้ ช่วยกันตอบว่าค านั้น เป็นค านามสามัญหรือค านามวิสามัญ ๒. ในแต่ละแผ่นป้ายจะมีคะแนน ๕ คะแนน ถ้าตอบถูกจะได้ ๕ คะแนน ตอบผิดจะ ไม่ได้คะแนน และเมื่อกลุ่มแรกตอบเสร็จก็ให้กลุ่มถัดไปตอบ ท าเช่นนี้จนครบทุกกลุ่ม


๔. ขั้นทบทวน : ครู และนักเรียนร่วมกันสรุป เรื่องประเภทของค านาม โดยเปรียบเทียบ ระหว่างสิ่งที่เป็นความเข้าใจหรือความรู้เดิมกับความรู้ความเข้าใจใหม่ ๗.๓ ขั้นสรุป ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปกิจกรรมในวันนี้ พร้อมบอกข้อเสนอแนะส าหรับกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อให้ครูน าไปเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนครั้งต่อไป ๘. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๑. สื่อน าเสนอ PowerPoint เรื่องค านาม ๒. เกมพิซซ่าค านาม ๓. สื่อเสริมการสอน bamboozle “ฉันคือใคร” ๙. การวัดและประเมินผล สิ่งที่วัด วิธีการวัดผล เครื่องมือวัด เกณฑ์การ ประเมินผล ๑. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่อง ค านาม (K) การบันทึกพฤติกรรม แบบบันทึก พฤติกรรม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป ๒. นักเรียนจ าแนกประเภทของค านาม ได้ถูกต้อง (P) การท ากิจกรรม “ฉันคือใคร” เกม baamboozle ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป ๓. นักเรียนให้ความร่วมมือในการท า กิจกรรม (A) การสังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน พฤติกรรม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป


๙.๑ เกณฑ์การประเมิน ๑) ด้านความรู้(K) รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. การตอบค าถาม นักเรียนตอบ ค าถามได้ถูกต้อง ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป นักเรียนตอบ ค าถามได้ถูกต้อง ร้อยละ ๗๐ – ๗๙ นักเรียนตอบ ค าถามได้ถูกต้อง ร้อยละ ๖๐ – ๖๙ นักเรียนตอบ ค าถามได้ถูกต้อง ต่ ากว่าร้อยละ ๕๐ ๒. การแสดงความ คิดเห็น นักเรียนแสดง ความคิดเห็นทุก ครั้งเมื่อครูถาม นักเรียนแสดง ความคิดเห็น มากกว่า ๒ ครั้ง นักเรียนแสดง ความคิดเห็นน้อย กว่า ๑ ครั้ง นักเรียนไม่ร่วม แสดงความ คิดเห็น การแปลความหมาย ระดับ ๔ หมายถึง ระดับคุณภาพดีมาก ระดับ ๓ หมายถึง ระดับคุณภาพดี ระดับ ๒ หมายถึง ระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ ๑ หมายถึง ระดับคุณภาพปรับปรุง หมายเหตุ : ผ่านเกณฑ์ประเมินร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป ๒) ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) เกณฑ์การประเมินความถูกต้องการจ าแนกประเภทของค านามได้ถูกต้อง รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ความถูกต้องของ เนื้อหา นักเรียนแยกประเภท ค านาม ได้ถูกต้องทุก ข้อ นักเรียนแยก ประเภทค านามผิด ๑ ข้อ นักเรียนแยก ประเภทค านาม ผิด ๒ ข้อ นักเรียนแยก ประเภทค านาม ผิดมากกว่า ๒ ข้อ การแปลความหมาย ระดับ ๔ หมายถึง ระดับคุณภาพดีมาก ระดับ ๓ หมายถึง ระดับคุณภาพดี ระดับ ๒ หมายถึง ระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ ๑ หมายถึง ระดับคุณภาพปรับปรุง หมายเหตุ : ผ่านเกณฑ์ประเมินร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป


๓) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) แบบสังเกตพฤติกรรมการให้ความร่วมมือในการท ากิจกรรม ค าชี้แจง : ให้ท าเครื่องหมาย ในช่องประเมินตามความเป็นจริง ล าดับที่ ชื่อ – สกุล การให้ความร่วมมือในการท ากิจกรรม การร่วมตอบค าถาม การแสดงความคิดเห็น ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ หมายเหตุ : ผ่านเกณฑ์ประเมินร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป ๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................. ..................................................... ............................................................................................................................. ..................................................... ...................................................................................................................................................................... ............ ....................................................................................................................... ........................................................... ............................................................................................................................. ..................................................... ............................................................................................................................................... ................................... ................................................................................................ .................................................................................. ............................................................................................................................. ..................................................... ............................................................................................................................. ..................................................... ..................................................................................................................................................................................


๑๑. แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ รายการประเมิน ผลการประเมิน ๑ องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ ( ) ครบถ้วน ( ) ไม่ครบถ้วน ๒ ความสอดคล้องของแผนการจัดการเรียนรู้ ( ) สอดคล้อง ( ) ไม่สอดคล้อง ๓ สมรรถนะส าคัญตามหลักสูตร ( ) มี ( ) ไม่มี ๔ มีกิจกรรมที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ( ) มี ( ) ไม่มี ๕ มีกิจกรรมการเรียนเน้นทักษะกระบวนการคิด การตั้งค าถาม สรุปองค์ความรู้ ( ) มี ( ) ไม่มี ๖ มีการใช้สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ( ) มี ( ) ไม่มี ๗ มีการวัดผลและประเมินผลที่หลากหลาย ( ) มี ( ) ไม่มี ๘ คุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ ( ) น าไปใช้สอนได้ ( ) ควรปรับปรุงก่อนน าไปใช้ ข้อเสนอแนะ/ความคิดเห็นเพิ่มเติม ................................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................................................... ............................................................................................................................. ..................................................... .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................................................... ............................................................................................................................. ..................................................... ................................................................................................................................................................... ............... ลงชื่อ................................................ (นางจิตดี มีทรัพย์) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย


๑๒. บันทึกผลหลังการจัดกิจกกรมการเรียนรู้ ๑. ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ………………............................................................................................................................. ......................................... ............................................................................................................................. ..................................................... .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................................................... ............................................................................................................................. ..................................................... ................................................................................................................................................................. ................. .................................................................................................................. ................................................................ ............................................................................................................................. ..................................................... ................................................................................................................................... ............................................... .................................................................................................................................................................................. ๒. ปัญหา / อุปสรรค ............................................................................................................................. ..................................................... ............................................................................................................................. ..................................................... ............................................................................................................................................................................. ..... ............................................................................................................................. ..................................................... ............................................................................................................................. ..................................................... ๓. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ..................................................... .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................................................... ............................................................................................................................. ..................................................... ................................................................................................................................................................................ .. ลงชื่อ …………………………...…….…...... ( นางสาวฐิติมา บุญลาภ ) วันที่……..…เดือน…....……….พ.ศ………..


สื่อประกอบการน าเสนอ


สื่อการเรียนรู้ พิซซ่าหน้าค านาม


สื่อการเรียนรู้ พิซซ่าหน้าค านาม


สื่อเสริมการสอน baamboozle เข้าไปที่เว็บไซต์https://www.baamboozle.com/game/ หรือคิวอาร์โค้ดดังภาพ


หน้าก่อนเข้าเกม ให้คลิกที่ “เล่น” เพื่อเข้าสู่หน้าเกม baamboozle เข้าสู่หน้าเกม ให้คลิกที่ baamboozle


เลือกจ านวนทีมในการเล่น เมื่อเลือกจ านวนทีมแล้ว จึงคลิกไปทีแบบทดสอบ หน้าเข้าสู่เกม จะมีตัวเลขข้อที่ผู้สอนก าหนดให้ดังแผ่นป้าย เมื่อเปิดแผ่นป้ายจะมีค านาม และรูปภาพประกอบที่ผู้สอนก าหนด


เลือกตัวเลขข้อที่ต้องการตอบ หลังจากเลือกข้อที่ต้องการ จะขึ้นเป็นค าที่ก าหนดให้ และให้ทีมนั้นตอบค าถามว่า ค าที่ปรากฏบน หน้าจอเป็นนามสามัญ หรือเป็นนามวิสามัญ


ค ำนำมวิสำมัญ (วิสำมำนยนำม) ถ้าตอบถูกคลิก ตกลง ทีมนั้นจะได้รับ ๕ คะแนน หรือถ้าตอบผิด คลิก อ๊ะ! ทีมนั้นจะไม่ได้คะแนน ทีมที่ตอบถูกจะได้รับ ๕ คะแนน และข้อที่ตอบค าถามไปแล้วก็จะหายไป ท าเช่นนี้จนครบทั้ง ๑๐ ข้อ


Click to View FlipBook Version