The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chantima Suphamata, 2022-10-03 06:47:18

วิจัย1

วิจัย1

วิจัยในชั้นเรียน
ปีการศึกษา
2565

นางสาวจันทิมา สุภมาตา
นักศึกษาชั้นปีที่ 4
คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

งานวิจยั ในชนั้ เรียน

การพฒั นาทกั ษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศพั ทภ์ าษาองั กฤษ โดยใช้บตั รคำศพั ท์รปู ภาพ
(Flash card)

ของนักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 2

ผูว้ ิจัย
นางสาวจันทิมา สภุ มาตา

นักศกึ ษาคณะครศุ าสตร์ ชั้นปที ี่ 4 มหาวทิ ยาลัยราชภฎั อตุ รดิตถ์
โรงเรยี นทุ่งเสล่ียมชนปู ถัมภ์

ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565

การพฒั นาทกั ษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์ภาษาอังกฤษ โดยใช้บัตรคำศัพทร์ ูปภาพ
(Flash card) ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 2

Improving spell reading skills and memorizing English vocabulary. Using picture flash cards
(Flash cards) of students in Grade 2 Thunsailamchanupatham school , Thungsaliam,
Sukhothai province

จันทิมา สุภมาตา 104 ( Chantima Supamata 104 )

บทคดั ยอ่

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1.)เพื่อพัฒนาทักษะการพูดและสะกดคำศัพท์คำศัพท์
ภาษาอังกฤษโดยใช้บัตรคำ (flash card) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ระดับชั้นชน้ั
มัธยมศึกษาปีที่ 2/3 โรงเรียนทุง่ เสล่ียมชนูปถัมภ์ อำเภอทุ่งเสล่ียม จังหวัดสุโขทัย 2.)เพื่อเปรียบเทยี บพัฒนา
ทักษะการพูดและสะกดคำศัพท์คำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้บัตรคำ (flash card) กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ระดับชนั้ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2/3 โรงเรยี นทุ่งเสลย่ี มชนูปถัมภ์ อำเภอทุ่งเสลี่
ยม จังหวัดสุโขทัย 3.)เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อนักเรียนในการการพูดและสะกดคำศัพท์คำศัพท์
ภาษาอังกฤษโดยใช้บัตรคำ (flash card) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ระดับชั้น
มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2/3 โรงเรียนท่งุ เสลีย่ มชนปู ถัมภ์ อำเภอทงุ่ เสลย่ี ม จังหวัดสุโขทยั 1 การวิจยั คร้งั น้ีเป็นการวิจัย
เชิงกึ่งทดลองกลุ่มตัวอย่างได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ห้องเรียนที่ 3 โรงเรียนทุ่งเสลี่ยมชนูปถัมภ์
อำเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย จำนวน 20 คน ซึ่งนักเรียนกลุ่มตัวอย่างได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง ใช้
แบบทดสอบวัดความสามารถด้านการพูดและสะกดคำศัพท์ภาษาอังกฤษก่อนและหลังเรียนรู้โดยใช้บัตรคำ
(flash card) และแบบทดสอบความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้การพูดและสะกดคำศัพท์
ภาษาอังกฤษโดยใช้บัตรคำ (flash card) เป็นเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าสถิติ
ค่าเฉลี่ย การหาค่าเปลี่ยนเบนมาตรฐาน การหาค่า t-test การวิเคราะห์ความแม่นตรงเชิงเนื้อ หาดัชนีความ
สอดคล้อง (IOC) ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้เชี่ยวชาญได้ทำการตรวจสอบความถูกต้องเชิงเนื้อหาของแผนการ
จัดการเรียนรู้ความเหมาะสมของจุดประสงค์เนื้อหากิจกรรมการเรียนรู้และสื่อการวัดผลและประเมินผลและ
นำมาคำนวณหาค่าดัชนีความสอดคลอ้ ง (IOC) ของแผนการจดั การเรยี นรู้มีค่าดัชนคี วามสอดคล้องเปน็ ไปตาม
เกณฑ์ที่กำหนดไว้ 2) ผลการเปรียบเทียบความสามารถการฟังและพูดคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เพลงสากล
สำหรับนักเรียนมีค่าความสามารถมากขึ้น 3.45 / 8.05 ค่าสถิติ t-test dependence คือ 7.963 และผล
คะแนนผลสัมฤทธิ์มีนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 ดังนั้นค่าความสามารถการฟังคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเ รียน
โดยใชเ้ พลงสากลสูงกวา่ ก่อนเรยี นเป็นไปตามสมมติฐานท่ีตัง้ ไว้ 3)ผลการศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อ
การจดั การเรยี นการสอนการพดู และสะกดคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้บัตรคำ (flash card) สำหรบั นักเรียนช้นั

มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรียนทุ่งเสลี่ยมชนูปถมั ภ์ อำเภอทงุ่ เสลยี่ ม จังหวัดสุโขทัย ในภาพรวมอยูใ่ นระดบั มากโดย
มคี า่ เฉล่ียอยู่ท่ี 4.79

Abstract

The purpose of this research was to study 1.) To develop speaking and spelling skills of
English vocabulary by using flash cards, foreign language learning subjects (English) at the
grades 2/3, Thung Saliam Chanup School. foster Thung Saliam District Sukhothai 2.) To
compare the development of speaking and spelling skills of English vocabulary by using
flash cards for learning foreign languages (English) at the grades 2/3 at Thung Saliam Chanu
School. foster Thung Saliam District Sukhothai 3.) To study the satisfaction towards students
in speaking and spelling English vocabulary using flash cards, foreign language learning
subject group (English), grade 2 /3 Thung Saliam Chanupatham School Thung Saliam District
Sukhothai 1 This research was a quasi-experimental research. The sample consisted of
Mathayom Suksa 2 students, classroom 3, Thung Saliam Chanupat School. Thung Saliam
District Sukhothai Province, 20 students, which the sample students were obtained by
choosing a specific model. The pre- and post-learn English speaking and spelling tests were
performed using flash cards and the students' satisfaction with speaking and spelling
arrangements were used. English using flash cards as a data collection tool. The data were
analyzed using mean statistical values. Determination of standard deflection, determination
of t-test, physical precision analysis. The Conformity Index (IOC) was found. The findings
were as follows: 1) The experts examined the content validity of the learning management
plan, the suitability of the content objectives, learning activities, and measurement and
evaluation materials and were calculated for The conformity index (IOC) of the learning
management plan had the conformity index value as specified. 3.45 / 8.05, the t-test
dependence was 7.963 and the achievement score was statistically significant 0.01.
Therefore, the listening ability of English vocabulary of students using international songs
was higher than before studying according to the assumption that set 3) The results of a
study on the satisfaction of learners towards teaching and learning English speaking and
spelling by using flash cards for Mathayomsuksa 2 students at Thung Saliam Chanupatham
School. Thung Saliam District Sukhothai Overall, it was at a high level with an average of
4.79.

กติ ติกรรมประกาศ
งานวจิ ยั ในคร้ังนีส้ ำเรจ็ สมบรู ณไ์ ด้ ด้วยความช่วยเหลือจากหลายฝา่ ย ทค่ี อยให้คำปรึกษาและการทำวจิ ยั ไป
ไดอ้ ย่างลลุ ่วง และขอขอบคุณอาจารยค์ รศุ าสตร์ ท่ีได้พิจารณาการศึกษาวจิ ยั พร้อมทัง้ คุณครใู นโรงเรยี นท่งุ เสล่ี
ยมชนูปถัมภ์กล่มุ สาระภาษาต่างประเทศ ในการอำนวยความสะดวกชว่ ยเหลอื และให้กำลังใจในการจัด
กิจกรรมท่ีใชใ้ นการวิจยั ครัง้ นี้

จันทิมา สภุ มาตา
นกั ศกึ ษาชัน้ ปีท่ี 4 คณครศุ าสตร์ สาขาวิชาองั กฤษ

มหาวิทยาลัยราชภัฏอตุ รดิตถ์

สารบญั

เร่อื ง หนา้
บทท่ี 1 บทนำ 1-5
บทท่ี 2 เอกสารวจิ ัยและงานทเ่ี กี่ยวข้อง 6 – 31
บทท่ี 3 วธิ ีการดำเนินการวจิ ยั 32 – 39
ภาคผนวก 40-93

1

บทที่ 1

บทนำ

ความเปน็ มาและความสำคัญ

ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาสำคัญของโลก ภาษาอังกฤษปัจจบุ ันคือภาษานานาชาติ เป็นภาษากลางของ
โลก ภาษาองั กฤษเปน็ ภาษากลางของมนษุ ยชาติ เปน็ ภาษาทีม่ นุษย์บนโลกใช้ตดิ ตอ่ ระหวา่ งกนั เป็นหลัก ไม่วา่
แตล่ ะคนจะใช้ภาษาอะไรเป็นภาษาประจำชาติ เมื่อต้องติดต่อกับคนอ่ืนท่ตี ่างภาษาตา่ งวฒั นธรรมกนั ทกุ คน
จำเป็นต้องใช้ภาษาองั กฤษเป็นหลักอยแู่ ลว้ ด้วยเหตนุ ้ีทกุ คนทุกชาตทิ ุกภาษาจึงบรรจุวิชาภาษาองั กฤษเป็น
ภาษาทส่ี องรองลงมาจากภาษาประจำชาติ เปน็ แกนหลกั ของหลกั สูตรการศึกษาทกุ ระดับ ตั้งแต่ปฐมวัยไป
จนถึงการศึกษาตลอดชีวิต โดยเฉพาะในอนาคตข้างหนา้ อาเซยี นได้กำหนดใหภ้ าษาอังกฤษเป็น “working
language” เราจงึ ตอ้ งเขา้ ใจให้ถอ่ งแทต้ ามความหมายของถ้อยคำวา่ เป็น “ภาษาทำงาน”ของทกุ คนในอาเซยี น
ทักษะภาษาองั กฤษจงึ เป็นประตไู ปสู่อาชีพการงานที่กา้ วหน้ากวา้ งไกลในอนาคต ความสามารถในการสือ่ สาร
เปน็ ภาษาองั กฤษทำให้ชีวิตมีคณุ คา่ สนุกสนาน มีสสี นั วฒั นธรรมร่วมกนั ได้เป็นอย่างดี

จากความสำคญั ดงั ทีไ่ ดก้ ล่าวมาน้ี ผู้วิจัยเห็นวา่ ภาษาอังกฤษมคี วามสำคญั ควรไดร้ บั การส่งเสรมิ และ
พัฒนาใหน้ กั เรยี นมีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะทักษะการอา่ น การเข้าใจ และความสามารถในการ
จดจำ ความหมายคำศพั ท์ภาษาอังกฤษ ซึง่ เปน็ พ้ืนฐานอันสำคัญทจ่ี ะชว่ ยให้นักเรียนสามารถคน้ ควา้ และเพ่ิม
ความรูต้ า่ งๆ ในอนาคต ดงั เช่น ฉวีลักษณ์ บุญยะกาญจน (2557, หน้า 22) กลา่ วว่า การอ่านเปน็ ส่ิงจำเป็นและ
ให้ประโยชนแ์ ก่ มนุษย์มากทุกดา้ นและทุกโอกาส ทงั้ ในดา้ นการศึกษาหาความรู้ การประกอบอาชีพ และการ
พักผอ่ นหย่อนใจ การ อา่ นส่งเสริมความรู้ความคิดของคนเราใหเ้ พมิ่ พนู ขน้ึ จากการสอนภาษาอังกฤษระดบั ชนั้
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 ที่ผ่าน มา พบว่ามนี ักเรียนบางส่วนยังขาดทกั ษะอ่าน และจดจำความหมายคำศัพท์
ภาษาอังกฤษ และมีความจำเปน็ ที่ตอ้ ง ไดร้ ับการช่วยเหลือ และเพิ่มเตมิ ใหเ้ กดิ การพัฒนาทักษะอา่ น และจดจำ
ความหมายคำศัพทภ์ าษาองั กฤษของ นักเรยี น และเพื่อให้นักเรียนสามารถพฒั นาทักษะอ่าน และจดจำ
ความหมายคำศัพทภ์ าษาอังกฤษ ได้อยา่ งเตม็ ศักยภาพ ผู้วิจัยจงึ ไดห้ าวธิ ีการที่จะดำเนนิ การเพ่ือชว่ ยเหลอื
แก้ปัญหา และพฒั นาให้นักเรียนไดเ้ กิดทักษะอ่าน และจดจำความหมายคำศัพท์ภาษาองั กฤษมากยง่ิ ขน้ึ

ดงั น้นั ในการพัฒนาและเพ่ิมเตม็ ทกั ษะอา่ นและจดจำความหมายคำศัพท์ภาษาอังกฤษของ
นกั เรียนในครง้ั นี้ ผู้วจิ ัยจงึ เลือกวธิ กี ารสอนการอา่ น และการจดจำความหมายคำศพั ท์ภาษาอังกฤษโดยใช้
บตั รคำรปู ภาพ (Flash card)

2

วัตถุประสงคข์ องการวจิ ัย

1. เพื่อพัฒนาทักษะการพูดและสะกดคำศัพท์คำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้บัตรคำ (flash card) กลุ่มสาระการ
เรยี นร้ภู าษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ระดบั ชัน้ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 2/3 โรงเรียนทุง่ เสล่ยี มชนปู ถัมภ์ อำเภอ
ทงุ่ เสล่ียม จังหวดั สโุ ขทยั

2. เพอ่ื เปรียบเทียบพัฒนาทักษะการพดู และสะกดคำศัพท์คำศัพทภ์ าษาองั กฤษโดยใชบ้ ัตรคำ (flash card)
กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ระดับชน้ั ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 2/3 โรงเรยี นทุ่งเสลยี่ มชนูป
ถัมภ์ อำเภอท่งุ เสลีย่ ม จังหวดั สโุ ขทยั

3. เพือ่ ศึกษาความพงึ พอใจท่ีมตี ่อนักเรยี นในการการพดู และสะกดคำศัพท์คำศัพทภ์ าษาอังกฤษโดยใชบ้ ตั รคำ
(flash card) กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ระดบั ช้ันชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2/3 โรงเรียน
ทงุ่ เสลี่ยมชนูปถมั ภ์ อำเภอทุง่ เสลี่ยม จังหวดั สุโขทยั

ขอบเขตของการวจิ ัย
กำหนดขอบเขตการศึกษาเป็น 3 ด้าน คอื ขอบเขตด้านเน้อื หา ขอบเขตดา้ นประชากรและกลุ่ม

ตวั อย่าง และขอบเขตด้านตวั แปร ซึ่งมีรายละเอยี ด ดงั น้ี

ขอบเขตด้านเน้อื หา

เนอ้ื หาทใี่ ช้ในการวิจยั นไ้ี ด้พจิ ารณาจากเอกสารตำราและวิชาการต่าง ๆ ซ่งึ เน้ือหาตรงตามหลกั สตู ร
แกนกลางศึกษาข้นั พื้นฐานพุทธศักราช 2551 ไดท้ ำการวิเคราะห์ สังเคราะหส์ รา้ งแบบแผนการจดั การเรยี นรู้
การพูดและสะกดคำศัพท์ภาษาองั กฤษโดยใช้บัตรคำจำนวน 1 แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบไปดว้ ย

แผนท่ี 1 เรอื่ ง My Daily Routine

ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง

ประชากร
นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 จำนวน 39 คน

กลมุ่ ตวั อยา่ ง
นกั เรยี นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2/3 โรงเรียนทุ่งเสล่ยี มชนูปถมั ภ์ จำนวน 20 คน

3

ขอบเขตด้านตัวแปร

ตวั แปรตน้

การจดั การเรียนการสอนโดยใช้บัตรคำรูปภาพ (Flash card)

ตัวแปรตาม

1.ความสามารถดา้ นอ่านและสะกดคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 2/3 โรงเรียน
ทงุ่ เสล่ยี มชนูปถัมภ์ อำเภอทุ่งเสลยี่ ม จังหวดั สุโขทัย

2. ความพงึ พอใจของนักเรยี นนกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2/3 โรงเรยี นทุ่งเสลย่ี มชนูปถมั ภ์ อำเภอทงุ่
เสลย่ี มจังหวดั สโุ ขทัยทีม่ ีต่อการจดั การเรียนการสอนการอ่านและสะกดคำศพั ท์ภาษาองั กฤษโดยใช้บตั รคำ
รปู ภาพ (Flash card)

เป้าหมายการวิจยั

เป้าหมายเชิงปรมิ าณ โรงเรียนทุง่ เสล่ยี มชนปู ถมั ภ์ อำเภอทงุ่ เสล่ยี ม
นกั เรยี นระดับช้ันนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2/3
จังหวดั สโุ ขทยั จำนวน 39 คน

เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ

นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2/3 โรงเรยี นทงุ่ เสล่ียมชนปู ถัมภ์ อำเภอทงุ่ เสลี่ยม จังหวดั สุโขทยั มคี วามรู้
และเทคนิคในด้านทกั ษะการอา่ นและสะกดศัพทภ์ าษาองั กฤษโดยใช้โดยใชบ้ ตั รคำรปู ภาพ (Flash card)

เป้าหมายเชิงเวลา

เดือนพฤษภาคม –กรกฎาคม

4

ระยะเวลาในการดำเนนิ งานวจิ ยั
ตารางที่ 1 แสดงระยะเวลาในการดำเนนิ งานวจิ ยั

วธิ กี ารดำเนนิ งาน พ.ค. มิ.ย มิ.ย ก.ค. ก.ค.

65 65 65 65 65

1. ศึกษาขอ้ มลู

- การวางหัวข้องานวิจัย

- ศกึ ษาตัวแปร

2. เตรียมเอกสาร

- ศกึ ษางานวจิ ยั ทเี่ กีย่ วข้อง

- ออกแบบชดุ กจิ กรรม

3. การเกบ็ ขอ้ มูล

-นำชุดกิจกรรมไปใช้กับ

กลุม่ เป้าหมาย

-นำแบบทดสอบไปใช้กับ

กลมุ่ เป้าหมาย

- สอบถามความพงึ พอใจ

4. การประมวลผลวเิ คราะห์

ขอ้ มูล

- ประมวลผลข้อมลู

- วิเคราะห์และแปลผลข้อมูล

5. การรายงานและเผยแพร่

- เขยี นรายงาน

- จดั พิมพ์รายงาน

สถานท่ดี ำเนินการ
โรงเรยี นทงุ่ เสลี่ยมชนปู ถัมภ์ อำเภอทงุ่ เสลี่ยม จงั หวดั สโุ ขทยั

5

นิยามศัพท์เฉพาะ
กจิ กรรมการเรียนการสอนแบบ (Active Learning) เปน็ กระบวนการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ให้ผ้เู รยี นมี

สว่ นร่วมและมปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั กจิ กรรมการเรยี นรู้ผา่ นการปฏิบัติที่หลากหลายรูปแบบ เช่น การวเิ คราะห์ การ
สังเคราะห์ การระดมสมอง การแลกเปลย่ี นความคิดเห็น และการทำกรณีศึกษา เป็นต้น โดยกิจกรรมทน่ี ำมาใช้
ควรชว่ ยพฒั นาทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ การสื่อสาร/นำเสนอ และการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศอย่างเหมาะสมบทบาทของผเู้ รยี นนอกจากการมีส่วนร่วมในกิจกรรมดงั กลา่ วข้างต้นแลว้ ยงั ตอ้ งมี
ปฏิสมั พันธก์ ับผู้สอนและผเู้ รยี นกบั ผู้เรยี นดว้ ยกันด้วย ผสู้ อนควรลดบทบาทในการถ่ายทอดความร้แู ก่ผู้เรยี นใน
ลกั ษณะการบรรยายลงและเพ่ิมบทบาทในการกระต้นุ ให้ผู้เรียนมีความกระตือรอื รน้ ที่จะทำกิจกรรมตา่ งๆ
รวมถงึ การจดั เตรยี มสภาพแวดลอ้ มท่เี หมาะสมในการเรียนรู้

สมมติฐาน
1.ผู้เรียนมีความสามารถด้านทกั ษะการอา่ นและสะกดคำศัพท์ภาษาองั กฤษโดยใช้บัตรคำรูปภาพ

(Flash card)
2.ผเู้ รียนมคี วามพึงพอใจอยู่ในระดบั มากต่อการจัดการเรยี นการสอนการอ่านและสะกดคำศัพท์

ภาษาอังกฤษโดยใช้บัตรคำรปู ภาพ (Flash card)

ประโยชน์
1.สามารถพัฒนาการดา้ นทกั ษะการอ่านออกเสียงและการอา่ นสะกดคำศพั ทภ์ าษาอังกฤษของนักเรยี น

ได้
2.นกั เรยี นมพี ฒั นาการด้านทกั ษะการอ่านออกเสียงและการอ่านสะกดคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
3.นกั เรยี นสามมารถนำความร้ทู ่ไี ดร้ บั ไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้
4.นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจดั การเรยี นการสอนการอ่านออกเสยี งและการอา่ นสะกดคำศพั ท์

ภาษาองั กฤษ สำหรับการเรยี นการสอนโดยใช้ บตั รคำรูปภาพ (Flash card)

6

บทท่ี 2
เอกสารงานวิจยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง

การพัฒนาทกั ษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์ภาษาองั กฤษ โดยใช้บัตรคำศัพท์รปู ภาพ
(Flash card) กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ของนักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 2โรงเรียน
ทุ่งเสล่ียมชนปู ถมั ภ์ อำเภอ ทงุ่ เสล่ียม จังหวัดสุโขทยั มีการศึกษาเอกสารและงานวิจัยทเี่ ก่ยี วข้องและจัดแบง่
หัวขอ้ ตามลำดบั ต่อไปน้ี

1.หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาต่างประเทศ
(ภาษาอังกฤษ)
1.1ความหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551
1.2 สาระและมาตราฐานการเรยี นรูก้ ลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ)

2. หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนทุ่งเสล่ียมชนูปถัมภ์ อำเภอทุ่งเสล่ียม จังหวดั สุโขทัย กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2
2.1 สาระการเรยี นรู้และมาตรฐานการเรยี นรู้
2.2 คำอธิบายรายวิชา
2.3 โครงสร้างราวิชาภาษาอังกฤษ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2

3. แผนการจัดการเรยี นรู้
3.1 ความหมายของแผนการจัดเรยี นรู้
3.2 ความสำคัญของแผนการจัดเรยี นรู้
3.3 ลกั ษณะของแผนการจัดการเรียนรู้
3.4 องค์ประกอบของแผนการจัดการเรยี นรู้

7

3.5 ขนั้ ตอนการทำแผนการจัดการเรียนรู้

4. แนวคิดและทฤษฎที ี่เก่ียวขอ้ งกับความสามารถด้านการพดู
4.1 ความหมายของการพดู
4.2 กระบวนการพดู
4.3 จุดมุ่งหมายของการพูด
4.4 ประเภทของการพดู
4.5 การจดั การเรยี นรูโ้ ดยใชท้ ักษะการพดู
4.6 หลักการวดั ความสามารถด้านการพูด

5. ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน
5.1 ความหมายของผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น
5.2 ประเภทของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
5.3 ลักษณะของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น
5.4 การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน
5.5 การหาคุณภาพของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น
5.6 รูปแบบของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน
5.7 ประโยชน์ที่ไดร้ บั จากแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น
5.8 ปจั จัยท่ีส่งผลตอ่ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน

6. ความพึงพอใจ
6.1 ทฤษฎีที่เกยี่ วขอ้ งกบั ความพึงพอใจ
6.2 การวดั ความพึงพอใจ

8

6.3 การสร้างแบบวัดความพึงพอใจ
6.4 คุณลักษณะเครอื่ งมือวดั ความพึงพอใจ

7. งานวิจยั ทเ่ี กยี่ วข้อง
7.1 งานวิจยั ท่เี กย่ี วขอ้ งในประเทศ
7.2 งานวจิ ัยทเ่ี ก่ยี วขอ้ งนอกประเทศ

1.หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาตา่ งประเทศ
(ภาษาองั กฤษ)

1.1ความหมายของหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551

การเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัตน์ ทำให้ความเจริญทางดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มี อิทธพิ ลตอ่ ชีวติ
ความเป็นอยู่ของคนไทยอย่างมากในทกุ ๆ ดา้ น เช่น ด้านสังคม เศรษฐกิจ และวฒั นธรรม คนไทยรบั ข้อมูล
ข่าวสารจากแหลง่ ตา่ ง ๆ ได้ง่าย สะดวกรวดเรว็ และนำมาใช้ให้เกดิ ประโยชนต์ ่อการงาน อาชีพ ความบันเทงิ
และอื่นๆ ในชีวติ ประจำวนั ถือไดว้ ่าเปน็ ยุคของข้อมูลขา่ วสารทีพ่ ลเมือง โลกสามารถติดตอ่ ถงึ กนั ได้ในเวลา
อนั รวดเรว็ โดยมภี าษาอังกฤษเปน็ ภาษาสากลหนง่ึ ท่ใี ชต้ ดิ ต่อส่อื สารกัน ภาษาองั กฤษยงั เปน็ ภาษาต่างประเทศท่ี
แพรห่ ลายทีส่ ุด เป็นภาษาที่ใชก้ นั ในยุคของโลกไร้พรมแดน เนื่องจากการสอ่ื สารในชวี ิตประจำาวนั นัน้ ถอื ว่า
การฟงั เป็นทกั ษะรับสารทีส่ ำคัญและใช้กนั มากเปน็ ทักษะพืน้ ฐานในการเรียนรู้ทักษะอื่น ๆ จึงเปน็ ทกั ษะแรกท่ี
ต้องมีการสอน เพราะผู้พดู ต้องฟงั ใหเ้ ขา้ ใจก่อน จงึ จะมคี วามสามารถในการพูดโต้ตอบ

1.2 สาระและมาตราฐานการเรยี นรกู้ ลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ)

กล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาต่างประเทศมงุ่ หวังให้ผู้เรยี นมีเจตคติท่ดี ีต่อภาษาต่างประเทศความสามารถ
ใชภ้ าษาตา่ งประเทศส่ือสารในสถานการณ์ต่างๆแสวงหาความรูป้ ระกอบอาชพี และศกึ ษาต่อในระดบั ท่ีสงู ขึ้น
รวมถงึ มคี วามรู้ความเข้าใจในเร่ืองราวและวฒั นธรรมอนั หลากหลายของประชาคมโลกและสามารถถ่ายทอด
ความคดิ และวัฒนธรรมไทยไปยงั โลกได้อย่างสร้างสรรค์

2. หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นทุ่งเสล่ยี มชนูปถัมภ์ อำภอทุ่งเสล่ียม จงั หวัดสุโขทัย กล่มุ สาระการเรยี นรู้
ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2

2.1 สาระการเรียนรแู้ ละมาตรฐานการเรียนรู้

9

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมงุ่ หวงั ให้ผ้เู รียนมีเจตคติท่ดี ตี ่อภาษาต่างประเทศ และมคี วามรู้
ความเขา้ ใจในเรอื่ งราวและวัฒนธรรมอันหลากหลาย

2.2 คำอธบิ ายรายวิชา

ปฏิบตั ติ ามคำส่งั คำขอร้อง และคำแนะนำ ท่ีฟังและอา่ นอา่ นออกเสยี ง ข้อความ นิทาน และบทกลอน
ส้นั ๆ ถกู ต้องตามหลักการอา่ น เลือก/ระบุประโยค หรอื ขอ้ ความสนั้ ๆ ตรงตามภาพ สญั ลักษณ์ หรือ
เคร่อื งหมายที่อ่านบอกใจความสำคญั และตอบคำถามจากการฟังหรืออ่าน บทสนทนา หรอื นิทานง่ายๆและ
เรอื่ งเลา่ พูด/เขียนโตต้ อบในการสือ่ สารระหว่างบุคคล ใชค้ ำสง่ั คำขอร้อง และคำขออนญุ าตและให้คำแนะนำ
พดู /เขยี นแสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการใหค้ วามช่วยเหลือในสถานการณ์งา่ ยๆ
พดู /เขียนเพ่ือขอและให้ข้อมูล เกย่ี วกบั ตนเองเพ่อื น ครอบครัว และเรื่องใกลต้ ัว พดู /เขยี นแสดงความรู้สึกของ
ตนเองเก่ียวกับเรอื่ งตา่ งๆ ใกล้ตัว หรอื กจิ กรรมตา่ งๆ พรอ้ มทง้ั ใหเ้ หตุผลสน้ั ๆประกอบ พูด/เขียนให้ข้อมูล
เกยี่ วกบั ตนเอง เพือ่ น และสิ่งแวดลอ้ มใกล้ตัว เขยี นภาพ แผนผัง และแผนภมู ิแสดงข้อมลู ต่างๆตามทฟี่ ังหรือ
อ่าน พดู เขียนแสดงความคิดเห็น เกย่ี วกับเรื่องต่างๆ ใกล้ตวั ใชถ้ อ้ ยคำ น้ำเสียง และกิริยาท่าทางอย่างสภุ าพ
เหมาะสมตามมารยาทสังคมและวฒั นธรรมของเจ้าของภาษา ใหข้ ้อมลู เกย่ี วกับเทศกาล/วันสำคญั /งานฉลอง/
ชีวิตความเป็นอยขู่ องเจา้ ของภาษา การเข้ารว่ มกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ บอกความ
เหมอื น/ความแตกตา่ งระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ การใช้เครอื่ งหมายวรรคตอน และการลำดับคำ
ตามโครงสร้าง ประโยค ของภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)และภาษาไทยเปรยี บเทยี บความเหมือน/ความ
แตกต่างระหว่างเทศกาลงานฉลอง และประเพณขี องเจ้าของภาษากบั ของไทยค้นควา้ รวบรวม คำศัพทท์ ่ี
เกย่ี วข้องกับกลุ่มสาระการเรยี นรูอ้ น่ื จากแหล่งการเรยี นรู้ และนำเสนอด้วยการพดู /การเขยี นใช้ภาษาสอื่ สารใน
สถานการณต์ ่างๆท่ีเกิดขนึ้ ในหอ้ งเรียนและสถานศึกษาใชภ้ าษาตา่ งประเทศ(ภาษาอังกฤษ)ในการสืบค้นและ
รวบรวมขอ้ มูลต่างๆ

โดยการฟงั พูด อ่าน เขยี น ระบอุ า่ นออกเสียงเลือกตอบคำถามพดู โตต้ อบเขา้ ร่วมเปรียบเทียบ
ค้นคว้า ใชบ้ อกเพื่อใหผ้ เู้ รยี นมีความรู้ความเขา้ ใจและนำไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจำวนั เกดิ สมรรถนะตาม
ความตอ้ งการของหลกั สตู ร มีคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ข้ึนในตัวของผูเ้ รยี น และสามารถอยรู่ ่วมกับผอู้ นื่ ใน
สงั คมได้อยา่ งมคี วามสุข สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ
สามารถนำไปประยุกตใ์ ชก้ ับชีวิตประจำวันได้อย่างถูกตอ้ งเหมาะสม

10

เวลา 60 ชั่วโมง โครงสรา้ งรายวชิ าภาษาอังกฤษพื้นฐาน
ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2
คะแนนเกบ็ 100 คะแนน

ลำดับ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชีว้ ดั เวลา น้ำหนกั
ที่ (ช่ัวโมง) คะแนน
(100
1 At Work, at play ต 1.1 ม. 2/2 และ ต 1.1 ม. 2/4 14 คะแนน)
ต 1.2 ม. 2/1 - 2 และ ต 1.2 ม. 2/4 10
ต 1.3 ม. 2/1 - 2
ต 2.1 ม. 2/1 และ ต 2.1 ม. 2/3
ต 2.2 ม. 2/1
ต 4.1 ม. 2/1

2 Myths & Legends ต 1.1 ม. 2/3 - 4 14 10

ต 1.2 ม. 2/1 และ ต 1.2 ม. 2/4

ต 1.3 ม. 2/1 - 3

ต 2.1 ม. 2/1 และ ต 2.1 ม. 2/3

ต 2.2 ม. 2/1
ต 3.1 ม. 2/1
ต 4.1 ม. 2/1

3 Let’s Party! ต 1.1 ม. 2/2 - 4 14 10

ต 1.2 ม. 2/1 และ ต 1.2 ม. 2/4 - 5

ต 1.3 ม. 2/1 - 3

ต 2.1 ม. 2/1 - 3

ต 2.2 ม. 2/1 - 2

ต 3.1 ม. 2/1

ต 4.1 ม. 2/1

ต 4.2 ม. 2/2

ลำดับ ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวดั เวลา 11
ที่ (ชว่ั โมง)
น้ำหนกั
4 Sports & Chores ต 1.1 ม. 2/2 - 4 14 คะแนน
(100
ต 1.2 ม. 2/1 - 2 และ ต 1.2 ม. 2/4 - 5 คะแนน)
10
ต 1.3 ม. 2/1 - 3
10
ต 2.1 ม. 2/1 และ ต 2.1 ม. 2/3
-
ต 2.2 ม. 2/1 - 2 100
100
ต 3.1 ม. 2/1

ต 4.1 ม. 2/1

ต 4.2 ม. 2/2

5 Our Wonderful ต 1.1 ม. 2/2 และ ต 1.1 ม. 2/4 14
World ต 1.2 ม. 2/1 และ ต 1.2 ม. 2/4 - 5
ต 1.3 ม. 2/1 - 3
Revision ต 2.1 ม. 2/1 และ ต 2.1 ม. 2/3
Mid-Year Examination ต 2.2 ม. 2/1
Total in year round ต 3.1 ม. 2/1
ต 4.1 ม. 2/1

1

60

60

3. แผนการจัดการเรียนรู้

3.1 ความหมายของแผนการจัดเรยี นรู้

แผนการจัดการเรยี นรู้คอื การนำวชิ าหรือกล่มุ ประสบการณท์ ี่จะต้องทำแผนการจดั การ เรยี นรตู้ ลอด
ภาคเรยี นมาสรา้ งเปน็ กจิ กรรมการจัดการเรียนรู้ การใชส้ อ่ื อุปกรณ์การจัดการเรียนรู้ และการวัดผลประเมินผล
โดยจัดเนื้อหาสาระและจดุ ประสงค์การเรยี นย่อย ๆ ให้สอดคล้องกับ วตั ถุประสงค์หรือจดุ เนน้ ของหลักสูตร
สภาพของผู้เรยี น ความพร้อมของโรงเรยี นในด้านวสั ดุ อุปกรณ์ และตรงกับชวี ิตจรงิ ในห้องเรยี น

12

ชนาธปิ พรกุล (2552 : 85) ได้ให้ความหมายไว้ว่า แผนการจัดการเรียนร้เู ปน็ แนวทางการจัด กจิ กรรม
การเรียนการสอนทีเ่ ขียนไวล้ ว่ งหนา้ ท าใหผ้ สู้ อนมีความพร้อม และมน่ั ใจวา่ สามารถสอนได้ บรรลุจดุ ประสงคท์ ี่
กำหนดไว้และดำเนินการสอนได้ราบร่นื

เอกรินทร์ ล่ีมหาศาล (2552) ไดใ้ หค้ วามหมายไวว้ ่า วสั ดุหลกั สตู รที่ควรพัฒนามาจากหนว่ ย การเรยี นรู้
ท่กี ำหนดไว้เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนบรรลปุ ้าหมายตามมาตรฐานการเรยี นรู้ของ หลักสตู ร เปน็ ส่วนที่
แสดงการจดั การเรยี นการสอนตามบทเรยี น และประสบการณก์ ารเรียนรเู้ ป็น รายวนั หรือรายสปั ดาห์

ขวลติ ชกู ำแพง (2553) ได้อธิบายไวว้ า่ แผนการจัดการเรียนรู้ หมายถงึ เอกสารท่ีเป็นลาย ลักษณ์
อกั ษรของครูผู้สอน ซึ่งเป็นแนวทางในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ในแตล่ ะครั้ง โดยใช้ส่ือและ อปุ กรณ์การเรียน
การสอนใหส้ อดคล้องกบั ผลการเรียนรทู้ คี่ าดหวัง เนอ้ื หา เวลา เพื่อพฒั นาการเรยี นรู้ ของผเู้ รยี นใหเปน็ ไปอย่าง
เต็มศักยภาพ

วมิ ลรตั น์ สุนทรวโิ รจน์ (2553) ได้อธบิ ายไว้ว่า แผนการจัดการเรยี นรู้ เป็นแผนการจัด กจิ กรรมการ
เรยี น การจัดการเรยี นรู้ การใช้สื่อการจัดการเรยี นรู้ การวดั ผลประเมนิ ผลใหส้ อดคลอ้ ง กับเน้ือหาและ
จดุ ประสงคท์ ่ีก าหนดไวใ้ นหลกั สูตร หรอื กล่าวอีกนยั หน่ึงได้ว่า แผนการจดั การเรยี นรู้ เป็นแผนทจ่ี ัดทำขึ้นจาก
คมู่ อื ครู หรือแนวทางการจดั การเรยี นรู้ของกรมวิชาการ ทำให้ผู้จัดการเรยี นรู้ ทราบว่าจะจดั การเรียนรู้เน้ือหา
ใด เพอ่ื จุดประสงคใ์ ด จัดการเรียนรอู้ ย่างไร ใช้สือ่ อะไร และวัดผล ประเมนิ ผลโดยวธิ ใี ด

อาภรณ์ ใจเท่ยี ง (2553 216) ได้อธบิ ายไวว้ ่า แผนการสอนมคี วามหมายเช่นเดยี วกนั กับ แผนการ
จัดการเรยี นรู้ กลา่ วคอื เป็นแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ การใชส้ อื่ การเรยี นรู้ และการวดั ผลประเมนิ ผลที่
สอดคล้องกบั สาระการเรียนรู้ และจดุ ประสงคก์ ารเรียนร้ทู ่ีกำหนด

สรุปไดว้ ่า แผนการจดั การเรียนรู้ หมายถึงแนวการจดั การเรยี นการสอนของครู ภายใตก้ รอบ เน้อื หา
สาระทต่ี ้องการให้ผเู้ รียนเกิดการเรยี นรู้ โดยกำหนดจุดประสงค์ วิธกี ารดำเนนิ การหรือกิจกรรม ใหผ้ ู้เรยี นบรรลุ
วัตถปุ ระสงค์ สื่อการเรยี นรทู้ ี่หลากหลาย และวิธวี ดั ผลประเมินผลที่สอดคล้องกบั จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

3.2 ความสำคัญของแผนการจัดเรยี นรู้

การวางแผนการจัดการเรยี นรู้มสี ว่ นสำคัญทท่ี ำให้การจดั การเรียนร้ปู ระสบความสำเร็จ หรอื ลม้ เหลว
นั้น จำเป็นต้องศกึ ษาวิเคราะห์และออกแบบหลายประการ จากการศึกษารวบรวมข้อมูล ทศั นะของนกั วิชาการ
ไดอ้ ธบิ ายความสำคญั ของแผนการจัดการเรยี นรู้ไวด้ งั นี้

ศิรวิ รรณ วณชิ วัฒนวรชยั (2558 : 347-348) ได้อธบิ ายไว้วา่ แผนการจัดการเรียนรูม้ ี รายละเอียด
สำคัญ ดงั นี้

13

1) แผนการจัดการเรียนรเู้ ป็นหลกั ฐานที่แสดงถึงการเป็นครมู ืออาชพี มกี ารเตรยี มลว่ งหนา้ แผนการ
จดั การเรยี นร้จู ะสะท้อนใหเ้ ห็นถึงการใชเ้ ทคนิคการสอน สื่อนวตั กรรม และจติ วทิ ยาการ เรียนรู้มาผสมผสาน
กนั หรอื ประยกุ ต์ใช้ใหเ้ หมาะสมกับสภาพของนักเรยี นทต่ี นเองสอนอยู่

2) แผนการจัดการเรียนรู้ช่วยส่งเสรมิ ใหผ้ สู้ อนได้ศึกษาคน้ คว้า หาความรู้เกย่ี วกับหลกั สตู ร เทคนคิ การ
สอน ส่อื นวัตกรรม และวธิ กี ารวัดและประเมินผล

3) แผนการจดั การเรยี นรู้ทำให้ครูผสู้ อนและครทู จี่ ะปฏิบตั ิการสอนแทน สามารถปฏิบตั ิการ สอนแทน
ได้อยา่ งม่ันใจและมปี ระสทิ ธภิ าพ

4) แผนการจดั การเรียนรทู้ เี่ ป็นหลักฐานทีแ่ สดงข้อมลู ด้านการเรยี นการสอน การวัดและ ประเมินผลท่ี
จะนำไปใช้ประโยชนใ์ นการจัดการเรียนร้ใู นคร้ังต่อไป

5) แผนการจัดการเรยี นรเู้ ป็นหลกั ฐานท่แี สดงถึงความเชียวชาญในวชิ าชีพครู ซงึ่ สามารถ นำไปเสนอ
เป็นผลงานทางวชิ าการ เพื่อขอเลือ่ นวทิ ยฐานะหรอื ตำแหน่งได้

อาภรณ์ ใจเทีย่ ง (2553 : 20) ไดอ้ ธิบายไวว้ ่า แผนการจดั การเรยี นร้มู คี วามสำคญั หาย ประการดังนี้

1) ทำใหผ้ สู้ อนสอนด้วยความมัน่ ใจ เมอ่ื เกดิ ความมัน่ ใจในการสอนยอ่ มจะสอนดว้ ยความ คลอ่ งแคล่ว
เป็นไปตามลำดับขัน้ ตอนอย่างราบรนื่ ไม่ตดิ ขดั การสอนจะดำเนนิ ไปส่จู ดุ หมายปลายทาง อยา่ งสมบูรณ์

2) ทำใหเ้ ปน็ การสอนทม่ี ีคณุ ค่าคุม้ กับเวลาที่ผ่านไป เพราะผู้สอนอยา่ งมแี ผนมีเปา้ หมาย และ มีทิศทาง
ในการสอน มิใชส่ อนอย่างเล่ือนลอย ผเู้ รยี นจะได้รบั ความรู้ ความคิด เกดิ เจตคติ เกดิ ทักษะ เกิดประสบการณ์
ใหมต่ ามที่ผูส้ อนวางแผนไว้ ทำใหเ้ ป็นการจัดการเรียนการสอนทมี่ ีคุณค่า

3) ทำให้เปน็ การสอนทต่ี รงตามหลักสูตร ทั้งน้ีเพราะในการวางแผนการจัดการเรยี นรู้ ผู้สอน ต้องศกึ ษา
หลักสูตรทั้งดา้ นจุดประสงค์ เน้ือหาสารท่จี ะสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การใช้ สอื่ การสอน และ
การวดั ผลและประเมนิ ผล แลว้ จดั ทำออกมาเป็นแผนการจัดการเรยี นร้หู ลักสตู ร

4) ทำให้การสอนบรรลผุ ลอย่างมีประสิทธิ เนือ่ งจากผู้สอนต้องวางแผนการจัดการเรียนรู้ อยา่ ง
รอบคอบในทุกองค์ประกอบของการ รวมทั้งการจัดเวลาเวลา สถานท่ี และส่งิ อำนวยความ สะดวกตา่ ง ๆ ดังนน้ั
เมื่อมีการวางแผนการจดั การเรยี นรทู้ ่รี อบคอบ และปฏบิ ตั ิตามแผนการจัดการ เรียนรู้ที่วางไว้ ผลของการสอน
ย่อมสำเร็จได้ดีกวา่ การไม่ไดว้ างแผนการจัดการเรียนรู้

5) ทำให้ผูส้ อนมเี อกสารเตือนความจำ สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการสอนต่อไป ทำให้ ไม่เกิด
ความซำ้ ซ้อนและเป็นแนวทางในการทบทวนหรอื การออกข้อสอบเพอ่ื วดั ผลและประเมนิ ผลผู้เรยี นได้

14

นอกจากนี้ทำใหผ้ ู้สอนมีเอกสารไว้เป็นแนวทางแกผ่ ู้ท่ีเข้าสอนในกรณีจำเป็น เม่ือผสู้ อนไม้ สามารถเข้าสอนเอง
ได้ ผ้เู รียนจะไดร้ ับความรูแ้ ละประสบการณ์ทตี่ ่อเนื่องกนั

6) ทำให้ผเู้ รียนเกดิ เจตคตทิ ่ดี ีตอ่ ผูส้ อนและตอ่ วชิ าทีเ่ รียน ท้งั นเ้ี พราะผสู้ อนสอนด้วยความ พร้อม เป็น
ความพร้อมทั้งทางด้านจิตใจคือ ความมน่ั ใจในการสอน และความพร้อมทางด้านวัตถุ คือ การท่ผี ู้สอนได้เตรียม
เอกสาร หรือส่งิ การสอนไว้อย่างพร้อมเพรยี ง เมอ่ื ผูส้ อนมีความพร้อมในการสอน ยอ่ มสอนด้วยความกระจ่าง
แจ้ง ทำให้ผ้เู รียนเกดิ ความเข้าใจอย่างชดั เจนในบทเรียน อันจะสง่ ให้ ผเู้ รียนเกดิ เจตคตทิ ่ีดีต่อผ้สู อนและต่อวิชา
ทเี่ รียน

สงบ ลกั ษณะ (2533 ; อ้างอิงจากศศธิ ร เวียงวะลัย. 2556 : 51) ได้อธิบายไวว้ า่ ผลดขี องการ จดั ทำ
แผนการจดั การเรยี นรู้ มีดังน้ี

1) ทำใหเ้ กิดการวางแผนวธิ กี ารจดั การเรยี นรู้ วิธเี รียนทม่ี ีความหมายมากขนึ้ เพราะเป็นการ จดั ทำ
อยา่ งมหี ลกั การที่ถกู ต้อง

2) ชว่ ยใหค้ รูมีส่อื การจดั การเรยี นรูท้ ท่ี ำด้วยตนเอง ทำให้เกิดคามสะดวกในการจัดการเรยี นรู้ ทำให้
การจัดการเรียนรู้ครบถว้ นตรงตามหลักสตู รและจัดการเรียนรไู้ ดท้ ันเวลา

3) เปน็ ผลงานทางวชิ าการท่ีสามารถเผยแพรเ่ ปน็ ตวั อยา่ งได้

4) ช่วยอำนวยความสะดวกแก่ครผู ู้จัดการเรยี นรู้แทน ในกรณที ผ่ี ู้จัดการเรยี นรูไ้ ม่สามารถ จดั การ
เรียนรไู้ ดเ้ อง สรุปได้ว่า การวางแผนการจดั การเรยี นรู้มคี วามสำคัญต่อการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน เป็น
อย่างมาก คอื ท าใหผ้ ู้สอนสอนด้วยความมนั่ ใจ ทำใหเ้ ป็นการสอนทมี่ ีคณุ ค่าค้มุ กบั เวลาที่ผา่ นไป ทำให้เปน็ การ
สอนท่ตี รงตามหลักสูตร ทำใหก้ ารสอนบรรลผุ ลอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ทำใหผ้ ูส้ อนมี เอกสารเตอื นความจำ และ
ทำใหผ้ เู้ รียนเกิดเจตคตทิ ่ีดตี ่อผสู้ อนและต่อวิชาท่เี รยี น

3.3 ลักษณะของแผนการจัดการเรียนรทู้ ีด่ ี

แผนการจัดการเรียนรู้ถอื เปน็ เครอ่ื งมือสำคัญของผู้สอนทีจ่ ะชว่ ยสง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รียนเกดิ การ เรยี นรู้ได้
อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ซึง่ สามารถสรปุ ลักษณะของแผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ดีได้ จากการศกึ ษา นักวิชาการได้
อธิบายลกั ษณะของแผนการจัดการเรียนรู้ที่ดี ดังน้ี

นาตยา ปิลนั ธนานนท์ (2545 : 172-173) ได้อธิบายไว้วา่ ลกั ษณะของแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ดี ตอ้ ง
ประกอบไปดว้ ย

1) เจตคติทด่ี ี ผสู้ อนควรมีความรสู้ กึ ท่ดี ีต่อการเขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้ ไม่ควรมองวา่ งาน เขยี น
แผนการจัดการเรยี นร้เู ป็นการสร้างภาระ ความยงุ่ ยาก เพราะแผนการจดั การเรยี นรจู้ ะเป็น ประโยชน์ต่อท้ัง

15

ผูส้ อน ผู้เรียน ผ้บู รหิ าร สถานศกึ ษาและต่อสังคม ที่จะจดั การศกึ ษาใหม้ ีคุณภาพ หาก ผูส้ อนมีความร้สู กึ มีเจต
คตทิ ่ดี ีต่อการเขยี นแผนการจัดการเรยี นรู้ ก็จะทำใหแ้ ผนการจดั การเรยี นรู้มี คุณภาพและนำไปใชไ้ ดจ้ ริง

2) นกั วางแผน นักคดิ การจดั ทำแผนการจดั การเรียนรู้กเ็ ช่นเดียวกบั ประมวลการสอนหรอื แนวการ
สอน หรอื กำหนดการสอน คุณภาพของแผนการจัดการเรยี นรูส้ ามารถสะท้อนความเป็นนัก วางแผน นกั คิด
สร้างสรรคข์ องผสู้ อนได้

3) เครื่องมือส่ือสาร แผนการจดั การเรยี นรกู้ ็เชน่ เดียวกบั ประมวลการสอนทใี่ ชเ้ ปน็ เคร่ืองมือ สื่อสาร
ความเข้าใจสำหรับตวั ผูส้ อน ผู้บริหาร พอ่ แม่ ผู้ปกครองและชุมชน ไดร้ บั ทราบวา่ โรงเรียนจัด การศึกษาอย่างไร
ผ้เู รียนไดร้ บั การศึกษาท่มี ีคณุ ภาพอย่างไร

4) เฉพาะเจาะจง ครอบคลุม พอเพยี ง การเขียนแผนการจดั การเรียนรู้ควรต้องระบุสิ่งท่ีจะ เรยี นจะ
สอนให้ชดั เจน ครอบคลมุ และพอเพยี งท่จี ะทำให้ผู้เรยี นมีคุณภาพ ความรู้ ความสามารถตาม มาตรฐานที่
กำหนดไวใ้ นหลกั สตู ร ไม่ออกแบบแผนการจดั การเรียนรู้ด้วยการกำหนดจดุ ประสงคท์ ่ี กว้างมากเกินไปหรือ
น้อยเกินไป และต้องเป็นประโยชนก์ ับผ้เู รยี น

5) ยืดหย่นุ ปรบั เปลีย่ นได้ แผนการจัดการเรยี นรู้เป็นส่ิงท่ไี ด้เตรยี มการล่วงหน้าก่อนจะมีการ เรยี นการ
สอนจริง ๆ การกำหนดข้อมูลใด ๆ ไวใ้ นแผนการจัดการเรียนรู้ ควรมีความยดื หยุน่ ทจ่ี ะ สามารถปรบั เปล่ยี น
แกป้ ัญหาได้ ในกรณที ม่ี ีปัญหาเมื่อมีการนำไปใช้ หรือไม่สามารถดำเนนิ การตาม แผนการจัดการเรยี นรนู้ ั้น
สามารถปรบั เปลี่ยนเป็นอยา่ งอื่นได้ โดยไมก่ ระทบกระเทอื นตอ่ การเรียน การสอนและผลการเรยี นรู้

สรุปได้วา่ แผนการจัดการเรยี นรู้ทด่ี ี ควรมลี กั ษณะที่ช่วยส่งเสรมิ เจตคติทีด่ ี ช่วยสะทอ้ นให้ ผสู้ อนเป็น
นกั คิด นักวางแผน เปน็ เครื่องมอื สื่อสารท่ีดี มีความเฉพาะเจาะจง ครอบคลมุ และมีความ ยดื หยุ่น สามารถ
ปรบั เปล่ยี นได้ตามความเหมาะสม ตลอดจนมคี วามชัดเจน ทุกคนสามารถแปลความ ไดต้ รงกันและมีการ
นำไปใชแ้ ละพฒั นาอย่างต่อเน่ือง

3.4 องค์ประกอบของแผนการจดั การเรียนรู้

องค์ประกอบของแผนการจัดการเรยี นรเู้ ปน็ ส่ิงทีค่ วรตระหนกั ถึงเป็นอยา่ งย่งิ เน่ืองจากการ เขยี น
แผนการจัดการเรียนรู้จำเป็นตอ้ เขยี นตามล าดับองคป์ ระกอบและหากขาดองคป์ ระกอบใดกม็ ิ อาจทำให้
แผนการจัดการเรยี นรนู้ นั้ สมบูรณ์ เมื่อพจิ ารณาแลว้ การศกึ ษา วิเคราะห์ องค์ประกอบของ แผนโดยท่วั ไปจะมี
7 องคป์ ระกอบดังนี้ (เอกรินทร์ สีม่ หาศาล และคณะ, 2552)

1. สาระสำคัญ เปน็ การเขยี นในลกั ษณะเปน็ ความคิดรวบยอด หรือ Concept

16

2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ เขียนในลักษณะจดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม ซ่งึ เมื่อผ้เู รียนได้ลงมอื ปฏิบตั ทิ กุ
พฤติกรรมในแต่ละแผนการเรียนรขู้ องหน่วยการเรยี นรู้ แล้วบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ ตัวชว้ี ดั และมาตรฐาน
ผลการเรยี นรู้ท่ีกำหนดไว้ในแตล่ ะหน่วย

3. สาระการเรยี นรู้ เปน็ การเขียนเนือ้ หาสาระในลักษณะเป็นประเดน็ สำคัญสนั้ ๆ สอดคล้อง กบั เนื้อหา
สาระท่กี ำหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้

4. กิจกรรมการเรียนรู้ ระบวุ ิธสี อน กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เทคนิคการสอนท่ี หลากหลาย
เมื่อจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ครบถว้ นบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ในการเรยี นรู้ เมอื่ เรียนครบทุก แผนการจัดการเรียนรู้
ผู้เรยี นจะได้รับความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ ครบถว้ นตามเป้าหมายการเรียนรู้ของ
ตัวชี้วัด และมาตรฐานการเรยี นรู้ท่ีกำหนดไว้ โดยออกแบบการ จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ีผเู้ รยี นตอ้ งปฏบิ ัติในแต่
ละรายช่ัวโมงอยา่ งชัดเจน

5. สื่อ แหล่งการเรียนรู้ในแต่ละแผนการจดั การเรยี นรู้ จะกำหนดสอ่ื การเรยี นรู้ที่ใช้ ประกอบการเรยี น
การสอนไว้อยา่ งชดั เจน มใี บความรู้ ใบงาน แบบฝึกทักษะการเรยี นรูเ้ อกสาร เพิม่ เติมสำหรับผสู้ อนตามความ
เหมาะสมและบอกแหลง่ เรยี นร้ทู ีส่ ำคญั ทีจ่ ะช่วยให้การจดั กิจกรรมการ เรียนรเู้ ปน็ ไปตามเป้าหมายท่กี ำหนด

6. การวดั และประเมินผล ทุกแผนการจดั การเรยี นรู้ จะระบรุ ายละเอียดเกยี่ วกับเร่อื ง การวัด และ
ประเมนิ ผล ทกุ แผนการการจัดการเรยี นรูจ้ ะระบุรายละเอียดเกยี่ วกับ เรื่องการวดั และประเมินผล คือ หลักฐาน
การเรียนรู้ รอ่ งรอยการเรียนรู้ วิธกี ารวัดและประเมินผล เครอ่ื งมือในการวดั และ ประเมินผล

7. บันทกึ ผลการจดั การเรยี นรู้ เปน็ การบนั ทึกผลการจัดกิจกรรมการเรียนร้ใู นแต่ละแผนการ จัดการ
เรยี นรเู้ พ่อื นำไปปรบั ปรุงและพัฒนาวธิ ีการจัดการเรยี นรู้ให้บรรลุเป้าหมาย สรุปไดว้ ่า องค์ประกอบของ
แผนการจัดการเรยี นรู้ ประกอบดว้ ย สาระสำคญั จดุ ประสงคก์ าร เรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
สอื่ และแหล่งการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผล บันทึก ผลหลงั สอน

3.5 ข้ันตอนการทำแผนการจัดการเรยี นรู้

การเขยี นแผนการจัดการเรียนรู้ ควรคำนงึ ถึงหลักในการเขียนวา่ จะต้องเขยี นอะไร เขยี น อยา่ งไร และ
เพื่อใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจงา่ ยในการนำไปใชศ้ ึกษา หรือจดั กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทาง ในการสอนผเู้ รียน ควร
คำนงึ ถงึ รายละเอียดดงั น้ี

1. ควรเขียนให้ชัดเจน แจม่ แจ้งในทกุ หวั ข้อ เพื่อให้ความกระจ่างแก่ผู้อ่าน มรี ายละเอยี ด พอสมควร ไม่
ย่นย่อและไมล่ ะเอยี ดเกนิ ไป

17

2. ใช้ภาษาเขยี นทสี่ ื่อความหมายใหเ้ ข้าใจได้ตรงกัน เป็นประโยคทไ่ี ดใ้ จความ ไม่ใช่ความค้าง ไม่ยืดยาว
เย่ินเยอ้

3. เขียนทกุ หัวข้อเรอ่ื งใหส้ อดคลอ้ งกัน

4. สาระสำคัญต้องสอดคล้องกบั เนื้อหา

5. จุดประสงคต์ ้องสอดคลอ้ งกบั เน้ือหา กจิ กรรมและการวัดผล

6. สอื่ การสอนต้องสอดคล้องกบั กจิ กรรมและการวดั ผล

7. เขยี นใหเ้ ป็นลำดับขน้ั ตอนก่อนหลงั ในทุกหัวข้อ

8. เขยี นหวั ข้อใหถ้ ูกต้องชัดเจน เช่น จดุ ประสงคต์ ้องเขยี นให้เป็นจุดประสงคเ์ ขงิ พฤติกรรม

9. จัดเนอื้ หา กจิ กรรม ให้เหมาะสมกับเวลาที่กำหนด

10. คิดกิจกรรมท่นี ่าสนใจอยู่เสมอ

11. เขียนให้เป็นระเบียบ งา่ ยแกก่ ารอ่าน และสะอาดชวนอ่าน

12. เขยี นในส่งิ ที่สามารถปฏิบตั ไิ ดจ้ ริงและสอนตามแผนที่วางไว้ สรุปได้ว่า หลักในการเขียนแผนการ
จดั การเรียนรู้ ผู้เขียนจะต้องวางแผนลว่ งหนา้ ก่อนการ เรยี นการสอน โดยศกึ ษาเนอ้ื หาท่จี ะเขียนใหล้ ะเอยี ดและ
ตามลำดบั ขัน้ ตอน แบ่งหน่วยเน้อื หาย่อย แบ่งเวลาที่ใชก้ ารสอนทุกหัวข้อมีความสอดคลอ้ งกัน ใชภ้ าษาทเ่ี ข้าใจ
ง่าย รวมท้งั ตอ้ งมีการหา ประสิทธภิ าพของแผนการจัดการเรียนรู้

4. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความสามารถด้านการพูด

4.1 ความหมายของการพดู

นกั วิชาการไดใ้ ห้ความหมายของการพดู (Speech) ไวด้ ังนี้
สวนิต ยมาภยั และถริ นนั ท์ อนวัชศิริวงศ์ (2535: 1) การพดู เป็นการใช้ถ้อยคำ นำ้ เสียงรวมทง้ั กิรยิ า

อาการ เพอื่ ถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความรู้สกึ และความตอ้ งการให้ผู้ฟงั รบั รู้และเกิดการตอบสนอง
สมจติ ชวิ ปรชี า (2540: 1) การพูดเปน็ การติดตอ่ ส่ือสารระหว่างมนุษย์โดยใช้เสยี ง ภาษา แววตา สหี นา้

ทา่ ทางต่างๆ เพ่ือถ่ายทอดความรสู้ ึกนึกคิดจากผู้พูดไปยังผูฟ้ งั
นันทา ขนุ ภกั ดี (2529: 1) การพูดเป็นการแสดงหรือการถา่ ยทอดความคดิ ความรู้ ความรสู้ ึกและความ

ต้องการของผู้พูดออกมา โดยอาศัยถอ้ ยคำ นำ้ เสียง รวมท้ังกิริยาท่าทางทำใหผ้ ้ฟู งั ไดย้ นิ และเขา้ ใจจดุ มงุ่ หมาย
ของผู้พดู จนสามารถแสดงปฏิกริ ิยาโตต้ อบใหผ้ ู้พูดทราบจนเปน็ ท่เี ขา้ ใจได้

18

สรุปได้ว่า การพูดเป็นกระบวนการส่ือสารเพื่อถ่ายทอดความรู้ ความคิด และความรู้สึกต่างๆจากผู้พูด
ไปยงั ผฟู้ ัง ด้วยการใชถ้ ้อยคำ น้ำเสยี งและกิริยาอาการ เพ่ือสอื่ สารใหเ้ ขา้ ใจตรงตามจดุ ม่งุ หมายของการพดู

4.2 กระบวนการพดู

การพดู เปน็ พฤตกิ รรมการสื่อสารท่ีใชก้ นั แพรห่ ลายทั่วไป ผพู้ ูดสามารถใชท้ ัง้ วจนะภาษาและอวัจนะ

ภาษาในการส่งสารตดิ ต่อไปยังผุ้ฟังได้ชดั เจนและรวดเร็ว การพูดหมายถึงการสื่อความหมายของมนุษยโ์ ดย

การใช้เสียงและกิริยาทา่ ทางเป็นเครื่องถา่ ยทอดความรู้ความคดิ และความรู้สกึ จากผู้พดู ไปสผู่ ู้ฟงั พจนานุกรม

ราชบัณฑติ ยสถาน (2513:135)ได้แยกความหมาย"การพดู " ออกเปน็ 2 คำ คือ "การ" หมายถึง กิ.งา,ธรุ ะ,

หนา้ ท่ี สว่ นคำว่า"พูด"หมายถึง กลา่ ว รวมคำทง้ั สองเขา้ ด้วยกนั เป็น"การพูด" หมายถึง กิจพดู หรอื กจิ กล่าว,

งานพดู หรืองานกลา่ ว,ธรุ ะพูดหรือธุระกล่าว, หน้าทพ่ี ดู หรือหนา้ ท่ีกล่าว เปน็ ต้น

การพูดทด่ี ี คือการใชถ้ ้อยคำ น้ำเสียงรวมท้ังกริ ยิ าอาการอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและถูกต้องตามจรรยา

มารยาทและประเพณีนยิ มของสงั คมเพือ่ ถ่ายทอดความคดิ ความรู้ ความร้สู ึกและความต้องการทเี่ ปน็

ประโยชนใ์ หผ้ ู้ฟงั ไดร้ ับรู้และเกดิ การตอบสนองสมั ฤทธผิ์ ลตามจุดมงุ่ หมายของผ้พู ดู มีนกั การศกึ ษาหลายคนให้

ความหมายของการพูดไวพ้ อจะสรุปไดด้ ังน้ี

การพูด คือ กระบวนการสอื่ สารความคดิ จากคนหนง่ึ ไปยงั อกี คนหน่ึงหรือกล่มุ หนึง่ โดยมีภาษา

นำ้ เสียง และอากปั กิรยิ าเป็นสื่อ

การพูด คือ การแสดงออกถึงอารมณ์และความรสู้ กึ โดยใช้ภาษาและเสยี งส่ือความหมาย

การพดู คือ เปน็ เครื่องมอื สอื่ สารทมี่ ีอานภุ าพมากทส่ี ุดในโลก

การพดู เป็นสัญลักษณแ์ ห่งความเขา้ ใจระหวา่ งมนษุ ย์กบั มนุษย์

4.3 จดุ มุ่งหมายของการพดู

ความมุง่ หมายของการพูด คือ การแสดงหรือเสนอขอ้ คดิ เหน็ ต่อผู้ฟัง และผ้ฟู ังสามารถรบั รู้เรื่องราว
และเขา้ ใจได้ตรงกับความต้องการของผู้พดู ตลอดจนสามารถนำไปปฏิบตั ิไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ เรยี กว่า พดู ได้
อยา่ งใจนึก ระลกึ ได้ดังใจหวัง ยงั ประโยชน์ใหแ้ กผ่ ู้ฟงั สรา้ งพลงั ในการเปลีย่ นแปลง ความมุง่ หมายของการพดู
แบ่งเปน็ 2 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ 1) ความมุ่งหมายของการพูดโดยทัว่ ไป และ 2) ความม่งุ หมายเฉพาะ

1. ความมุ่งหมายโดยทวั่ ไป คือ การพดู ท่ีพยายามให้ผู้ฟงั สนใจ เขา้ ใจ และประทับใจจากการพูดนน้ั ๆ
1.1 ความสนใจ จะเกิดไดเ้ พราะผพู้ ดู ไดเ้ ตรียมตวั เปน็ อยา่ งดี กล่าวคอื สนใจท่จี ะรบั ฟงั เพราะเตรยี มพดู
มาดี และสนใจทจ่ี ะรับฟงั จนจบเรือ่ งเพราะเตรียมเนอ้ื หามาดี
1.2 ความเขา้ ใจ การเรียกร้องให้คนสนใจฟงั เท่าน้นั ยงั ไม่เป็นการเพยี งพอ จะตอ้ งให้ผ้ฟู ังเขา้ ใจดว้ ย ซึ่ง
กระทำไดโ้ ดยการเตรียมเน้ือเร่อื ง การใชถ้ ้อยคำ การเรียบเรยี งประโยคทีง่ า่ ยตอ่ การเขา้ ใจ เป็นต้น

19

1.3 ความประทบั ใจ คือ ความเข้าใจทช่ี ัดเจน จนมองเห็นภาพ ซงึ่ ทำไดโ้ ดยการใช้คำคม ข้อความท่ี
ลึกซึง้ กนิ ใจ คำรนุ แรงที่เหมาะสม ตลอดจนอปุ มาอปุ ไมยต่าง ๆ เปน็ ตน้

ดงั นน้ั ในการพูดทุกครั้ง ผู้พดู จะตอ้ งเตรียมตัวให้พร้อม ท้ังคำนำ เน้ือเร่อื ง และสรปุ จบใหส้ อดคล้องกัน
เพื่อช่วยให้ประสบผลสำเรจ็ ในการพูดทุก ๆ คร้งั

2. ความม่งุ หมายเฉพาะ ซง่ึ สามารถแบ่งออกไดด้ งั นี้
2.1 เพ่อื ใหข้ ่าวสารความรู้ เป็นการพดู แบบเสนอขอ้ เท็จจริง โดยไมม่ ่งุ หมายที่จะเปลย่ี นทัศนคติของ
ผูฟ้ งั แตเ่ พ่ือเพ่มิ พนู ความรู้ ความเข้าใจแก่ผ้ฟู งั
2.2 พอ่ื ความบนั เทิง เป็นการพูดเพื่อให้ผู้ฟงั สนกุ สนานครึกคร้ืน มกั เป็นการพูดหลังอาหาร ซ่ึงจัดขึน้
เพ่อื เป็นการพกั ผอ่ น
2.3 เพื่อชักจงู ใจ คือ การพูดท่ีมงุ่ หวงั ให้ผฟู้ งั เปลย่ี นใจเห็นคล้อยตามผู้พดู โดยใช้ การเร้าอารมณเ์ ป็น
ท่ีต้งั
4.4 ประเภทของการพดู

แบง่ การพูดของมนุษยอ์ อกเป็น 4 ประเภท คอื
1.การพดู ระหวา่ งบุคคล
2.การพูดในกลมุ่
3.การพดู ในทช่ี มุ นมุ ชน
4.การพูดทางสื่อมวลชน

4.5 การจัดการเรยี นรู้โดยใช้ทักษะการพดู

การพูด คือ การส่ือสารใหผ้ ู้อื่นได้รับร้ดู ว้ ยการพดู อย่างถูกต้องและคล่องแคล่ว การสอนทักษะการพดู
ภาษาองั กฤษในเบ้ืองตน้ มงุ่ เน้นความถกู ตอ้ งของการใชภ้ าษา ในเร่อื งของเสยี ง คำศัพท์ ไวยากรณ์ กระสวน
ประโยค ดงั น้นั กิจกรรมท่จี ัดให้ผเู้ รียนระดบั ต้นไดฝ้ ึกทักษะการพดู จงึ เนน้ กิจกรรมทีผ่ ู้เรยี นต้องฝกึ ปฏิบตั ิตาม
แบบ หรือ ตามโครงสรา้ งประโยคที่กำหนดใหพ้ ูดเปน็ สว่ นใหญ่ สำหรับผูเ้ รียนระดับสงู กิจกรรมฝกึ ทกั ษะการ
พูด จึงจะเนน้ ท่คี วามคลอ่ งแคลว่ ของการใช้ภาษา และจะเปน็ การพดู แบบอิสระมากข้นึ

เทคนคิ วธิ ีปฎิบัติ กิจกรรมการฝึกทักษะการพดู มี 3 รปู แบบ คอื
1. การฝึกพดู ระดับกลไก (Mechanical Drills) เปน็ การฝึกตามตัวแบบที่กำหนดให้ในหลายลักษณะ
เช่น

1.1 พดู เปลย่ี นคำศัพทใ์ นประโยค (Multiple Substitution Drill)
1.2 พดู ตั้งคำถามจากสถานการณใ์ นประโยคบอกเล่า (Transformation Drill)
1.3 พดู ถามตอบตามรปู แบบของประโยคที่กำหนดให้ (Yes/No Question-Answer Drill)
1.4 พดู สรา้ งประโยคตอ่ เติมจากประโยคท่ีกำหนดให้ (Sentence Building)

20

1.5 พูดเรยี งประโยคจากบทสนทนา (Ordering dialogues)
1.6 พูดทายเหตุการณ์ท่จี ะเกิดขนึ้ ในบทสนทนา (Predicting dialogue)
1.7 พูดให้เพอื่ นเขียนตามคำบอก (Split Dictation)ฯลฯ
2. การฝึกพูดอย่างมคี วามหมาย ( Meaningful Drills) เปน็ การฝกึ ตามตวั แบบทีเ่ น้นความหมายมาก
ขนึ้ มหี ลายลกั ษณะ เชน่ - พูดสร้างประโยคเปรยี บเทยี บโดยใช้รูปภาพ
2.1 พดู สรา้ งประโยคจากภาพทก่ี ำหนดให้
2.2 พดู เก่ยี วกบั สถานการณต์ ่างๆ ในห้องเรยี น ฯลฯ
3. การฝกึ พูดเพื่อการสอ่ื สาร (Communicative Drills) เป็นการฝึกเพ่อื มุ่งเน้นการสื่อสาร เปิดโอกาส
ใหผ้ ู้เรียนสรา้ งคำตอบตามจนิ ตนาการ เชน่ -พดู ประโยคตามสถานการณ์ที่เกิดข้นึ จริง ( Situation)
3.1 พดู ตามสถานการณ์ทก่ี ำหนดให้ ( Imaginary Situation)
3.2 พูดบรรยายภาพหรือสถานการณ์แลว้ ให้เพ่อื นวาดภาพตามท่ีพดู ( Describe andDraw)
งนนั้ ในการสอนทกั ษะตา่ งๆไมเ่ ฉพาะเเต่การสอนพูดเท่าน้ัน ครูผู้สอนควรมีความรู้และความชำนาญในเร่ือง
ของเนื้อหา ศัพท์ เสียง เเละโครงสร้างทางไวยากรณ์ท่ีถูกต้องเเละเเม่นยำ จึงจะสามารถจดั การเรยี นร้เู พื่อฝึก
ทกั ษะการพูดให้แกผ่ ู้เรียนไดอ้ ยา่ งสอดคล้องกบั ระดบั และศักยภาพของผ้เู รยี นเเละเกิดประสิทธภิ าพอย่าง
แท้จริง
เทคนิคการสอนทักษะการพดู ภาษาอังกฤษ (Speaking Skill)
การสอนภาษาทุกภาษามธี รรมชาติของการเรียนรูเ้ ชน่ เดยี วกนั คือ เริ่มจากการฟัง และการพดู แลว้ จึง
ไปสู่การอา่ นและการเขยี น ตามลำดบั จุดม่งุ หมายของการพดู คือ การสื่อสารให้ผูอ้ ่นื ได้รับรู้ดว้ ยการพูดอย่าง
ถกู ต้องและคลอ่ งแคล่ว การสอนทักษะการพูดภาษาอังกฤษในเบื้องตน้ มุ่งเน้นความถูกต้องของการใชภ้ าษา
(Accuracy) ในเรื่องของเสียง คำศพั ท์ ( Vocabulary) ไวยากรณ์ ( Grammar)ประโยค (Patterns) ดังนัน้
กจิ กรรมที่จดั ใหผ้ เู้ รยี นระดบั ต้นได้ฝกึ ทักษะการพูด จงึ เนน้ กิจกรรมทผ่ี ้เู รียนต้องฝึกปฏบิ ตั ิตามแบบ หรือ ตาม
โครงสร้างประโยคท่ีกำหนดให้พูดเป็นสว่ นใหญ่ สำหรับผู้เรยี นระดับสูง กจิ กรรมฝึกทักษะการพูด จงึ จะเน้นท่ี
ความคล่องแคลว่ ของการใช้ภาษา ( Fluency) และจะเป็นการพูดแบบอิสระมากข้ึน

4.6 หลักการวดั ความสามารถด้านการพดู

ฮาร์เมอร์ (Harmer. 2010) ได้ให้เหตุผลของการสอบว่า ผูเ้ รยี นจำเปน็ ต้องสอบเพ่ือวดั
ความสามารถด้านภาษาอังกฤษของตน เพื่อจัดหาหอ้ งเรียนทเ่ี หมาะสมกับระดับความรขู้ องตนเองเม่อื เขา้
โรงเรียน ซงึ่ การสอบวัดความสามารถ มดี ังนี้

1. การสอบวดั ระดบั (placement test) เปน็ การสอบเพ่ือระดับการเรยี นรู้ของผู้เรียน มีประโยชน์
อย่างย่งิ ในการจัดห้องเรยี นให้แกผ่ ู้เรียน

21

2.การสอบวัดความกา้ วหนา้ ของผู้เรียน (progress test) เป็นการสอบวัดความกา้ วหน้าทางการเรยี น
ของรู้เรียนว่ามีความเขา้ ใจในบทเรียนมากน้อยเพยี งใด

3.การสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ (achievement test) มกี ารวดั ผลและประเมินผลหลากหลายรปู แบบ วัด
ตามความสามารถทง้ั 4 ทักษะ ในด้านไวยากรณ์และคำศัพท์

4.การสอบแบบสาธารณะ (public examination) เช่น TOEFL, TOEIC เป็นการสอบวัดความ
เชีย่ วชาญดา้ นการใช้ภาษา เพื่อใชใ้ นการสมัครงานหรือเรียนตอ่

ธอร์นเบอร่ี (Thornbury. 2011 : 124 - 130) ได้กล่าวถงึ ประเภทของการสอบพดู ดงั น้ี
1. การสัมภาษณ์ (interviews) การสัมภาษณ์ควรจัดข้ึนในหอ้ งท่ีแยกออกจากห้องเรียน และเรยี ก
ผู้เรียนเข้าไปสัมภาษณท์ ลี ะคน ระหวา่ งนัน้ ผสู้ อนอาจมอบหมายผูเ้ รียนคนอนื่ ในห้องเรียนใหท้ ำภาระงานการ
เขยี นหรืออ่าน (โดยใหภ้ าระงานนน้ั เปน็ ส่วนหน่ึงของการสอบ) การสัมภาษณน์ ัน้ คอ่ นข้างไมเ่ ปน็ ปรนยั ในแงข่ อง
รูปภาษาทใ่ี ชส้ นทนา จึงไมใ่ ชเ่ รื่องแปลกหากผลการให้สัมภาษณ์ของผ้เู รยี นมีคุณภาพต่ำ การสมั ภาษณ์เป็นผู้
ประเมินอาจจะยากทตี่ ้องรักษาความลน่ื ไหลในการสัมภาษณ์พร้อมกับประเมินความสามารถดา้ นการพูดของ
ผู้ให้สมั ภาษณ์ในชว่ งเวลาเดยี วกนั วธิ ีหลีกเล่ียงปญั หาเหลา่ นท้ี ำได้โดยพูดคยุ กับผใู้ หส้ มั ภาษณ์ด้วยบรบิ ทที่เป็น
กนั เองในเบอื้ งตน้ จะชว่ ยผอ่ นคลายบรรยากาศได้ ใช้รปู ภาพหรอื การเลือกหัวขอ้ สมั ภาษณเ์ พ่ือเปน็ ขอบเขตใน
การสัมภาษณ์ โดยเฉพาะควรมีการกำหนดเวลาหน่งึ หรือสองนาทเี พอื่ ให้ผเู้ รยี นเตรยี มตวั หากพบว่าหัวขอ้ นนั้
ยาก หากคำถามซำ้ กับผู้ให้สัมภาษณร์ ายอ่ืนซึ่งอาจจะมีผลตอ่ ผ้ใู ห้สมั ภาษณเ์ อง ควรมีบคุ คลที่สามเปน็ ผู้รว่ ม
ประเมนิ เพือ่ ประกนั ความเท่ียงตรงของการประเมิน
2. การพดู สด (live monologues) ผเู้ รียนจะไดเ้ ตรยี มตัวและเลอื กหัวข้อทจี่ ะนำเสนอแบบสนั้ ๆ ดว้ ย
ตนเองมาก่อน การวัดผลผลและการประเมินความสามารถของผู้เรียนน้นั ตอ้ งเปดิ กว้าง หากมผี ู้เรยี นคนอ่นื รบั
บทบาทเปน็ ผู้ชม ควรมีใหก้ ารถาม-ตอบดว้ ย ซง่ึ จะเป็นการพสิ จู น์ความสามารถของผู้พูดในการโตต้ อบอยา่ งเป็น
ธรรมชาติ แต่การใหผ้ ้เู รยี นพดู หรือนำเสนอนนั้ ต้องเปน็ การทดสอบท่ีมเี หตุมีผลและตอบสนองตอ่ จุดประสงค์
การเรยี นภาษาอังกฤษของผ้เู รียน เชน่ การพดู เพ่ือวัตถปุ ระสงค์ทางธรุ กจิ กฎหมาย หรือการศึกษา
3. บนั ทึกเสยี งการพูด (recorded monologues) การบันทกึ เสยี งการพูดช่วยใหผ้ ูเ้ รยี นจะกดดันน้อย
กวา่ การพูดต่อหน้าสาธารณชน เปน็ รูปแบบการสอบที่ไมเ่ ป็นทางการและไมต่ ้องฝึกฝนมากเทา่ การพดู สด (Live
monologues) ผูเ้ รยี นมโี อกาสไดบ้ ันทกึ เสียงพูดของตนเกยี่ วกบั หวั ข้อท่ีครเู ลอื กให้ หรือตนเลอื กเอง เช่น หวั ข้อ
กฬี าหรือกิจกรรมยามวา่ งทีช่ ่นื ชอบ ข้อดีของการสอบแบบน้คี อื ผู้เรยี นจะไดส้ ่งงานหลงั จากที่ผู้สอนสอนเน้ือหา
นนั้ ๆจบแล้ว และสามารถตรวจสอบผลลพั ธ์ได้ด้วย ‘การตรวจสอบสามเสา้ ’ (triangulated) คือวิธีท่ีผ้ตู รวจจะ
นำคะแนนมาเปรยี บเทียบกับคา่ มาตรฐาน
4. บทบาทสมมติ (role-plays) นกั เรียนสว่ นใหญล่ ้วนเคยเล่นบทบาทสมมติในห้องเรียน ซึ่งสามารถ
นำมาใช้ในการสอบได้ ‘บทบาท’ สามารถเล่นไดท้ ั้งผูส้ อบหรือผเู้ รียน แตอ่ ิทธิพลของคู่สนทนาเป็นเรอ่ื งที่

22

ควบคมุ ยาก บทบาทสมมติไม่ไดต้ ้องใช้ทกั ษะการแสดงที่ซบั ซอ้ นหรือจินตนาการที่มากมาย การใช้สถานการณ์
ทีเ่ กิดข้ึนจริงเป็นประจำทกุ วันเปน็ ส่ิงท่ีดที ่สี ดุ อาจรวมไปถึงการใหข้ ้อมลู ท่ียากขึน้ ผู้สอนควรให้ขอ้ มลู ในการ
สอบแก่ผ้เู รยี นด้วย เช่น ให้ผู้เรียนใช้ข้อมลู จากโบร์ชัวรท์ ่องเท่ียวในการจองทีพ่ ักกับบริษัทนายหนา้ การสอบ
แบบนี้ใชไ้ ดด้ หี ากตรงกับจดุ ประสงคข์ องการเรียนและผูเ้ รียน

5. การทำงานร่วมกนั และการอภปิ รายเปน็ วิธีการที่คลา้ ยกับการเลน่ บทบาทสมมติ ใชใ้ นกรณีท่ีไม่
ตอ้ งการการสมมติแต่ต้องการลงมอื ทำด้วยตนเอง ยกตัวอย่างเช่น ใหผ้ ู้เรียนสองคนเลอื กระหว่างการสมัครงาน
จากการดูประวตั ิท่เี กดิ ข้นึ ได้จรงิ หรือผู้เรยี นเลือกสถานการณท์ ตี่ อบสนองความคิดเห็นของตนเองต่อรปู แบบ
(theme) ท่ีเก่ยี วข้องกบั คำช้ีแจง การแสดงบทบาทสมมติน้นั อาจมีการกระทบถึงผูอ้ น่ื แต่อยา่ งน้อยทกั ษะการ
โต้ตอบของผู้เรียนกใ็ กลเ้ คยี งกับภาษาทใ่ี ช้จรงิ ในชีวติ ประจำวัน

5. ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน

5.1 ความหมายของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน

ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นเปน็ ความสามารถของนักเรียนในด้านตา่ งๆซง่ึ เกดิ จากนักเรียนได้รับ
ประสบการณ์ จากกระบวนการเรยี นการสอนของครู โดยครตู ้องศึกษาแนวทางในการวัดและประเมินผล การ
สร้างเครื่องมือวัดให้ มีคณุ ภาพนนั้ ได้มผี ใู้ ห้ความหมายของผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นไว้ดังน้ี

สมพร เชือ้ พนั ธ์ (2547, หน้า 53) สรุปว่า ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนวิชาคณติ ศาสตร์ หมายถึง
ความสามารถ ความสำเร็จและสมรรถภาพด้านตา่ งๆของผเู้ รยี นที่ได้จากการเรียนร้อู นั เป็นผลมาจากการเรียน
การสอน การฝึกฝน หรือประสบการณข์ องแตล่ ะบคุ คลซ่ึงสามารถวดั ได้จากการทดสอบด้วยวธิ ีการตา่ งๆ

พิมพนั ธ์ เดชะคปุ ต์ และพเยาว์ ยนิ ดีสขุ (2548, หนา้ 125) กลา่ วว่า ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนหมายถึง
ขนาดของความสำเรจ็ ท่ไี ดจ้ ากกระบวนการเรียนการสอน

ปราณี กองจนิ ดา (2549,หน้า 42) กล่าว่า ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น หมายถึง ความสามารถหรือ
ผลสำเร็จท่ีไดร้ ับจากกจิ กรรมการเรียนการสอนเป็นการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมและประสบการณ์เรยี นรู้
ทางดา้ นพทุ ธพิ สิ ยั จิตพสิ ยั และทกั ษะพิสยั และยงั ไดจ้ ำแนกผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนไว้ตามลกั ษณะของ
วตั ถุประสงค์ของการเรยี นการ สอนท่แี ตกต่างกนั ดงั นนั้ จึงสรปุ ได้วา่ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน หมายถงึ ผลทเ่ี กดิ
จากกระบวนการเรียนการสอนทีจ่ ะทำให้ นกั เรยี นเกดิ การเปลยี่ นแปลงพฤติกรรม และสามารถวดั ไดโ้ ดยการ
แสดงออกมาทงั้ 3 ดา้ น คือ ด้านพทุ ธพิ สิ ัย ด้าน จิตพิสัย และดา้ นทักษะพิสยั

23

5.2 ประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียน

ไพโรจน์ คะเชนทร์ (2556) ไดจ้ ัดประเภทของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น แบ่งออกเปน็ 2
ประเภทคือแบบทดสอบท่ีครูสรา้ งขน้ึ เอง (Teacher made tests) และแบบทดสอบ
มาตรฐาน (Standardized tests) ซึง่ ทง้ั 2 ประเภทจะถามเน้ือหาเหมือนกัน คือถามสงิ่ ท่ผี ้เู รยี นไดร้ ับจากการ
เรียนการสอนซึง่ จดั กล่มุ พฤติกรรมได้ 6 ประเภท คือ ความรู้ ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวเิ คราะห์
การสังเคราะห์ และการประเมนิ

1. แบบทดสอบท่ีครูสรา้ งขนึ้ เป็นแบบทดสอบท่คี รูสรา้ งขน้ึ เองเพื่อใช้ในการทดสอบผเู้ รยี นในชัน้ เรียน
แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ

1.1 แบบทดสอบปรนยั (Objective tests) ได้แก่ แบบถกู – ผิด (True-false) แบบ
จับคู่ (Matching) แบบเตมิ คำใหส้ มบูรณ์ (Completion) หรือแบบคำตอบส้ัน (Short answer) และแบบ
เลอื กตอบ (Multiple choice)

1.2 แบบอตั นัย (Essay tests) ไดแ้ ก่ แบบจำกัดคำตอบ (Restricted response items) และแบบไม่
จำกัดความตอบ หรอื ตอบอย่างเสรี (Extended response items)

1.3 แบบทดสอบมาตรฐาน (Standardized tests) เป็นแบบทดสอบท่สี ร้าง โดยผู้เชย่ี วชาญทม่ี คี วามรู้
ในเนอ้ื หา และมที ักษะการสรา้ งแบบทดสอบ มกี ารวเิ คราะห์หาคณุ ภาพของแบบทดสอบ มีคำชี้แจงเกย่ี วกบั
การดำเนินการสอบการให้คะแนนและการแปลผลมีความเปน็ ปรนยั (Objective) มคี วาม
เทีย่ งตรง (Validity) และความเช่ือมน่ั (Reliability) แบบทดสอบมาตรฐาน ได้แก่ California Achievement
Test, Iowa Test of Basic Skills, Standford Achievement Test และ the Metropolitan Achievement
tests เป็นตน้

สว่ นพวงรัตน์ ทวีรตั น์ (2543) ได้จัดประเภทแบบทดสอบไว้ 3 ประเภท ดังนี้
1. แบบปากเปล่า เป็นการทดสอบที่อาศยั การซกั ถามเป็นรายบุคคล ใช้ได้ผลดีถ้ามีผ้เู ข้าสอบจำนวน
น้อย เพราะต้องใช้เวลามาก ถามไดล้ ะเอยี ด เพราะสามารถโต้ตอบกนั ได้
2. แบบเขียนตอบ เป็นการทดสอบที่เปลีย่ นแปลงมาจากการสอบแบบปากเปล่า เน่ืองจากจำนวนผเู้ ขา้
สอบมากและมีจำนวนจำกัด แบ่งไดเ้ ปน็ 2 แบบ คอื
3. แบบความเรียง หรืออัตนยั เปน็ การสอบทีใ่ ห้ผู้ตอบได้รวบรวมเรยี บเรียงคำพดู ของตนเองในการ
แสดงทัศนคติ ความร้สู กึ และความคิดได้อยา่ งอิสระภายใต้หัวเรอื่ งที่กำหนดให้ เปน็ ขอ้ สอบท่ีสามารถ วดั
พฤติกรรมดา้ นการสังเคราะห์ได้อยา่ งดี แต่มีขอ้ เสียท่ีการให้คะแนน ซงึ่ อาจไม่เทย่ี งตรง ทำใหม้ ีความเป็นปรนยั
ไดย้ าก
4. แบบจำกดั คำตอบ เปน็ ข้อสอบ ที่มีคำตอบถกู ใต้เงื่อนไขทีก่ ำหนดให้อยา่ งจำกัด ข้อสอบแบบนแี้ บ่ง
ออกเป็น 4 แบบ คือ แบบถูกผิด แบบเตมิ คำ แบบจบั คู่ และแบบเลือกตอบ
5. แบบปฏิบัติ เปน็ การทดสอบทผ่ี ู้สอบได้แสดงพฤติกรรมออกมาโดยการกระทำหรือลงมือปฏิบตั ิจริงๆ
เช่น การทดสอบทางดนตรี ชา่ งกล พลศึกษา เป็นต้น

24

สรปุ ไดว้ า่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบง่ ได้ 2 ประเภท คือ แบบทดสอบมาตรฐาน ซงึ่
สร้างจากผเู้ ชีย่ วชาญด้านเน้ือหาและดา้ นวัดผลการศกึ ษา มีการหาคณุ ภาพเป็นอยา่ งดี ส่วนอีกประเภทหนึ่ง คือ
แบบทดสอบท่ีครูสรา้ งขน้ึ เพอ่ื ใช้ในการทดสอบในช้นั เรียน ในการออกแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน
คำศัพท์เพื่อการสื่อสาร ผวู้ ิจยั ไดเ้ ลือกแบบทดสอบท่ผี ู้วจิ ยั สรา้ งขึน้ แบบปฏบิ ตั ิ ในการวดั ความสามารถในการนำ
คำศัพท์ไปใชใ้ นการส่ือสารดา้ นการการพดู และการเขียน และเลือกแบบทดสอบแบบเขียนตอบที่จำกดั คำตอบ
โดยการเลือกตอบจากตัวเลือกที่กำหนดให้ ในการวดั ความรู้ความเข้าใจความหมายของคำศัพท์ และการนำ
คำศัพท์ไปใชใ้ นการฟังและการอา่ น

5.3 ลกั ษณะของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น

ในการสร้างแบบทดสอบใหค้ รอบคลมุ เนื้อหาและสามารถวัดพฤติกรรมไดเ้ หมาะสมกบั เนื้อหา ควรมี
การสรา้ งตารางวิเคราะห์หลักสูตร (Developing the table of specifications) เพื่อเป็นแนวทางในการสรา้ ง
เหมือนกับการเขียนแบบสรา้ งบา้ น ที่เรยี กกนั ว่า Test blueprint ตารางวเิ คราะห์หลักสูตรประกอบด้วยหวั ข้อ
เน้ือหา และวตั ถุประสงค์การเรยี นรกู้ บั พฤติกรรมทีต่ อ้ งการจะวัด

การสร้างตารางวิเคราะห์หลกั สตู รเร่ิมท่กี ารสรา้ งตาราง 2 มิติ คือแนวตัง้ เปน็ พฤติกรรมที่ตอ้ งการจะ
วดั ประกอบด้วย ความจำ ความเขา้ ใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสงั เคราะห์ และการประเมนิ ค่า สว่ น
แนวนอนเปน็ หวั ขอ้ เนื้อหาหรือวตั ถุประสงค์การเรียนรู้ ซ่ึงข้ึนอยู่กับเนือ้ หาและ/หรือวัตถปุ ระสงค์ของวชิ านัน้
จากน้ันจงึ กำหนดน้ำหนกั ของเนือ้ หา พิจารณาจากความสำคัญของเน้ือหานั้นๆ โดยอาจกำหนดนำ้ หนกั เป็น
รอ้ ยละ พรอ้ มกับกำหนดพฤตกิ รรมที่ต้องการจะวดั และกำหนดความสำคญั โดยพิจารณาจากจดุ ประสงค์การ
เรยี นรคู้ วบคูไ่ ปกับเนอื้ หา สดุ ทา้ ยจงึ กำหนดแบบทดสอบที่จะใชว้ ดั เช่น แบบถูกผิด แบบจับคู่ แบบเตมิ คำ แบบ
เลือกตอบ หรือแบบอตั นัย เป็นตน้

5.4 การสรา้ งแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น

สมบูรณ์ ตันยะ (2545 : 143) ได้ใหค้ วามหมายว่า แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการ เรียนเปน็
แบบทดสอบท่ใี ชส้ ำหรบั วัดพฤตกิ รรมทางสมองของผเู้ รียนว่ามคี วามรู้ ความสามารถใน เร่ืองทเ่ี รียนรมู้ าแล้ว
หรอื ได้รับการฝึกฝนอบรมมาแลว้ มากนอ้ ยเพียงใด สว่ น พชิ ิต ฤทธิจ์ รญู (2544 : 98) กล่าวว่า แบบทดสอบวดั
ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนเปน็ แบบทดสอบที่ใช้วัดความรู้ ทักษะ และความสามารถทางวชิ าการทผี่ เู้ รียนได้เรียนรู้
มาแล้ว ว่า บรรลผุ ลสำเร็จตามจดุ ประสงค์ทีก่ ำหนดไว้เพยี งใด

ดังนน้ั สรปุ ไดว้ า่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น คือแบบทดสอบทใี่ ชว้ ดั ความรู้ และทักษะ
ความสามารถจากการเรียนรู้ในอดีตหรือในสภาพปัจจบุ นั ของแตล่ ะบุคคล

25

5.5 การหาคณุ ภาพของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น

1. ศึกษาหลักสตู รสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หรือหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้
พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์

2. วเิ คราะห์ความสมั พันธ์ระหวา่ งสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชีว้ ัด กับจดุ ประสงค์การ
เรยี นรู้ในเร่ืองทีต่ ้องการสรา้ งแบบทดสอบ >>> ดจู ากแผนการจัดการเรยี นรู้ >>> ประเมนิ แผนฯใดบ้าง?

3. สร้างแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิแบบปรนัยชนดิ เลือกตอบ 3 ตวั เลือก จำนวน 35 ข้อ ต้องการจริง

จำนวน 20 ขอ้ โดยใหค้ รอบคลมุ เนือ้ หาและจดุ ประสงค์

4. นำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ที่สรา้ งขึน้ เสนอผเู้ ช่ียวชาญ 3 ทา่ น เพื่อตรวจสอบและให้ขอ้ เสนอแนะ

5. ผู้เชีย่ วชาญประเมนิ ความสอดคล้องระหว่างแบบทดสอบกบั จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม โดยวิธขี อง

โรวิเนลลี่ (Rovinelli) และ แฮมเบลตนั (R.K. Hambletan) ซงึ่ มีเกณฑ์การใหค้ ะแนน ดังนี้ (สมนึก ภัททิยธนี,
2537)

ใหค้ ะแนน +1 เมอ่ื แน่ใจว่าข้อสอบนั้นวัดหาจุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม

ใหค้ ะแนน 0 เม่อื แนใ่ จว่าข้อสอบนั้นวัดตามจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม

ใหค้ ะแนน -1 เมอ่ื แน่ใจวา่ ข้อสอบนัน้ วัดหาจุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม

6. นำคะแนนท่ผี เู้ ชีย่ วชาญลงความเห็นมาหาค่า IOC ของข้อสอบรายข้อ ดังนี้คดั เลือกขอ้ สอบที่มีคา่
ดชั นีความสอดคล้อง (IOC) ต้ังแต่ 0.50 ขึน้ ไป ทำการทดสอบหาความเช่ือม่ัน

7. นำแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นไปหาความเชอ่ื มัน่ ของแบบทดสอบกับนกั เรยี นทมี่ ี
ลกั ษณะคล้ายกับกลมุ่ ตัวอย่าง

8. นำแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนที่ได้รับการแกไ้ ขแลว้ ไปทดลองกบั นกั เรียนทีม่ ลี ักษณะ
คล้ายกับกล่มุ ตวั อย่าง นำผลการทดลองมาหาคณุ ภาพของขอ้ สอบ หาค่าความยาก (P) และค่าอำนาจจำแนก
(B) แล้วเลอื กข้อสอบท่ีมคี ่าความยากระหว่าง .20 ถงึ .80 หาความเชื่อม่นั ของแบบทดสอบทง้ั ฉบบั อีกครัง้ ค่า
อำนาจจำแนก คือ ประสิทธิภาพในการจำแนกผู้ตอบเปน็ กลมุ่ สูงกับกลมุ่ ต่ำ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ “ r ” มี
คา่ ต้ังแต่ ( 0 - 1.00 ) r ท่ีเหมาะสม r > 0.20

9. จดั พิมพแ์ บบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นทผี่ ่านการตรวจสอบคุณภาพเปน็ ฉบับสมบรู ณ์ เพื่อ
ใชจ้ รงิ

26

5.6 รปู แบบของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น

พิชติ ฤทธจิ์ รญู (2545 : 96) กลา่ ววา่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน หมายถงึ แบบทดสอบที่
ใชว้ ดั ความรู้ ทกั ษะ และความสามารถทางวชิ าการทน่ี ักเรียนได้เรียนรู้มาแล้ววา่ บรรลุผลสำเร็จตามจุดประสงค์
ทีก่ ำหนดไวเ้ พยี งใด

สิริพร ทิพย์คง (2545 : 193) กลา่ ววา่ แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน หมายถึงชุดคำถามทม่ี งุ่
วดั พฤติกรรมการเรียนของนักเรียนว่ามีความรู้ ทกั ษะ และสมรรถภาพด้านสมองด้านต่างๆ ในเรอ่ื งทีเ่ รยี นรู้ไป
แล้วมากน้อยเพยี งใด

สมพร เชื้อพันธ์ (2547 : 59) กลา่ ววา่ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น หมายถงึ แบบทดสอบ
หรือชุดของขอ้ สอบที่ใช้วดั ความสำเรจ็ หรือความสามารถในการทำกิจกรรมการเรยี นรู้ของนักเรยี นทีเ่ ป็นผลมา
จากการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนของครผู ูส้ อนว่าผ่านจุดประสงค์การเรียนร้ทู ี่ตั้งไว้เพยี งใด

แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ประเภทท่คี รสู ร้างมีหลายแบบ แต่ทน่ี ิยมใชม้ ี 6 แบบดังนี้

1. ขอ้ สอบอตั นัยหรือความเรียง (Subjective or Essey test) เป็นขอ้ สอบทม่ี ีเฉพาะคำถาม แล้วให้
นักเรียนเขียนตอบอย่างเสรี เขยี นบรรยายตามความรูแ้ ละเขียนข้อคิดเหน็ ของแตล่ ะคน

2. ขอ้ สอบแบบกาถูก-ผดิ (True-false test) คอื ข้อสอบแบบเลือกตอบทีม่ ี 2 ตัวเลอื กแต่ตัวเลอื ก
ดังกล่าวเป็นแบบคงท่แี ละมคี วามหมายตรงกนั ข้าม เชน่ ถกู -ผิด ใช่-ไมใ่ ช่ จริง-ไมจ่ ริง เหมอื นกัน-ตา่ งกนั เปน็ ต้น

3. ข้อสอบแบบเติมคำ (Completion test) เป็นขอ้ สอบที่ประกอบดว้ ยประโยค หรือข้อความที่ยังไม่
สมบรู ณ์แล้วใหต้ อบเตมิ คำหรือประโยค หรือขอ้ ความลงในช่องวา่ งทเี่ ว้นไว้นนั้ เพื่อให้มใี จความสมบรู ณ์และ
ถูกต้อง

4. ข้อสอบแบบตอบส้นั ๆ (Short answer test) เปน็ ขอ้ สอบท่ีคล้ายกบั ข้อสอบ แบบเติมคำ แต่
แตกต่างกันที่ขอ้ สอบแบบตอบสัน้ ๆเขียนเป็นประโยคคำถามสมบรู ณ์ (ข้อสอบเติมคำเป็นประโยคหรอื ข้อความ
ทยี่ ังไม่สมบูรณ์) แลว้ ให้ผู้ตอบเขยี นตอบ คำตอบท่ีต้องการจะสัน้ และกะทัดรัดได้ใจความสมบูรณไ์ ม่ใชเ่ ป็นการ
บรรยายแบบข้อสอบอตั นยั หรือความเรียง

5. ขอ้ สอบแบบจบั คู่ (Matching test) เป็นขอ้ สอบแบบเลือกตอบชนดิ หนง่ึ โดยมคี า่ หรือขอ้ ความแยก
ออกจากกันเป็น 2 ดแล้วใหผ้ ู้ตอบเลือกจบั ควู่ ่าแต่ละข้อความในชุดหน่ึงจะคู่กับคำหรอื ข้อความใดในอีกชุดหนงึ่
ซึง่ มคี วามสัมพันธ์กนั อยา่ งใดอย่างหนง่ึ ตามท่ีผอู้ อกข้อสอบกำหนดไว้

6. ข้อสอบแบบเลอื กตอบ (Multiple choice test) คำถามแบบเลอื กตอบโดยทัว่ ไปจะประกอบดว้ ย 2
ตอน คอื ตอนนำหรือคำถาม (Stem) กบั ตอนเลอื ก (Choice) ในตอนเลอื กนนั้ จะประกอบด้วยตัวเลือกที่เป็น

27

คำตอบถูกและตัวเลือกลวง ปกติจะมคี ำถามทก่ี ำหนดใหพ้ จิ ารณา แลว้ หาตวั เลือกท่ถี ูกตอ้ งมากท่สี ดุ เพยี ง
ตัวเลอื กเดียวจากตัวเลอื กอื่นๆและคำถามแบบเลือกตอบท่ีดีนิยมใชต้ วั เลือกที่ใกลเ้ คยี งกัน

ดังนั้นในการสรา้ งแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน จงึ เป็นวธิ ีการวดั ประเมินผลการเรยี นรู้
วิทยาศาสตร์ซง่ึ มีการสรา้ งแบบทดสอบหลากหลายได้แก่ ข้อสอบอตั นยั หรอื ความเรยี งข้อสอบแบบกาถูกกาผิด
ข้อสอบแบบเตมิ คำ ข้อสอบแบบตอบส้นั ๆ ข้อสอบแบบจบั คู่ และข้อสอบแบบเลอื กตอบ ในการวิจัยครัง้ นีผ้ วู้ จิ ัย
สร้างแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนแบบเลือกตอบเนื่องจากเป็นแบบทดสอบทส่ี ามารถวดั พฤติกรรม
ทัง้ 6 ด้านไดแ้ ก่ ดา้ นความรู้ ดา้ นความเขา้ ใจ ดา้ นการนำไปใช้ ด้านการวิเคราะห์ ด้านการสังเคราะหแ์ ละด้าน
การประเมนิ คา่

5.7 ประโยชน์ท่ีได้รับจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน

ประโยชน์ของแบบทดสอบ สัมฤทธิผลมีดังน้ี คือ

1. เปน็ เครือ่ งมอื วัดผลการเรียนของแต่ละบุคคลวา่ ได้เรียนรู้เน้อื หาวิชาหรือทักษะในวิชาท่ีกำหนดไว้
มากน้อยเพยี งใด

2. เพือ่ ใหค้ รูพจิ ารณาว่านักเรยี นคนใดมีความพร้อมทจี่ ะเรยี นบทเรียนต่อไป หรือพร้อมทจ่ี ะเล่ือนช้ัน

3. เป็นเคร่ืองมอื จัดประเภทนักเรียนทเ่ี รยี นอ่อน เพอื่ ครจู ะได้จดั โครงการช่วยเหลือนักเรียนเหลา่ นน้ั
ตอ่ ไป

4. เป็นเคร่อื งมือจัดประเภทนกั เรยี นท่ีสัมฤทธิผลทางการเรียนระดับตา่ งๆ ในแต่ละวชิ า เพื่อสะดวกแก่
ครูในการจดั กลมุ่ นกั เรยี นตามสมั ฤทธผิ ลทางการเรียนของแต่ละวชิ า

5.8 ปัจจยั ท่ีสง่ ผลต่อผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน

จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั ปัจจัยท่สี ่งผลต่อผลสัมฤทธ์ทิ างการ เรยี นของ
นักเรียน จะเหน็ ไดว้ ่ามี ตวั แปรปจั จัยทสี่ าคญั มี 6 ปจั จัย ดังนี้ (1) ปัจจัยดา้ นนักเรยี น (2) ปจั จัยด้านครู (3)
ปัจจยั ดา้ น ครอบครวั (4) ปัจจยั ด้านหลักสูตร (5) ปจั จัยด้านส่ือการสอน (6) ปัจจัยด้านสิ่งแวดลอ้ ม

6. ความพึงพอใจ

6.1 ทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องกับความพงึ พอใจ

สมศักดิ์ คงเที่ยง และอัญชลีโพธิ์ทอง (2542: 278-279) ได้กล่าวถึงความพงึ พอใจไวด้ ังนี้
1. ความพงึ พอใจเป็นผลรวมของความร้สู กึ ของบุคคลเก่ียวกับระดบั ความชอบพอหรือไม่ชอบพอต่อ
สภาพตา่ ง ๆ

28

2. ความพงึ พอใจเป็นผลรวมของทัศนคตทิ เี่ กยี่ วข้องกับองค์ประกอบตา่ ง ๆ
3. ความพงึ พอใจในการทำงานเป็นผลมาจาจกการปฏบิ ตั ิงานท่ดี ีและสำเร็จจนเกดิ เปน็ ความภาคภมู ิใจ
และได้ผลตอบแทนในรูปแบบต่าง ๆ ตามทหี่ วังไว้
ณฐั กานต์ ตันทิพย์ (2547: 36) ได้สรุปความหมายความพึงพอใจไว้ว่าความพึงพอใจเป็นความรสู้ กึ ใน
ทางบวกความรสู้ ึกที่มีสุขเมื่อได้รับผลสำเร็จและผลตอบแทนจากการปฏิบัตงิ านตามบุคคลนน้ั ปรารถนาทำให้
บุคคลเกดิ ความกระตือรือร้นมคี วามมงุ่ ม่นั มขี วญั และกำลงั ใจในการทำงานซึง่ เปน็ ผลดีต่อการปฏบิ ัติงาน
ปิยวรรณ สังข์จันทราพร (2547: 56) ไดส้ รุปความหมายของความพึงพอใจไวว้ า่ เป็นความรสู้ กึ ชอบ
พอใจท่สี บื เนื่องมาจากทัศนคตติ ่าง ๆ ท่ีมีต่อการปฏิบตั ิงานซึง่ เกดิ จากองคป์ ระกอบอ่ืน ๆ เชน่ ความม่นั คงความ
ปลอดภยั ความก้าวหน้าในหน้าทก่ี ารงานเพราะผลตอบแทนเพ่ือนร่วมงานตลอดจนสนองความตอ้ งการของ
บคุ คลความพงึ พอใจทำใหบ้ ุคคลเกิดความสบายใจเกิดความสุขเปน็ ผลดีตอ่ การปฏิบตั ิงาน
จากความหมายของความพงึ พอใจทีก่ ลา่ วมาข้างต้นสรุปได้วา่ ความพงึ พอใจหมายถึงความรูส้ ึกชอบ
หรอื ไม่ชอบหรอื การโนม้ เอียงของบุคคลที่มีต่อบุคคลวัตถุความคดิ ประสบการณง์ านท่ตี นปฏบิ ัตอิ ยูห่ รืออ
กจิ กรรมตา่ ง ๆ ซ่ึงจะนำไปสูค่ วามเต็มใจและความรว่ มมือในการปฏิบตั สิ ิง่ นน้ั ๆ ให้บรรลตุ ามเปา้ หมายซึ่งความ
พึงพอใจอาจใชเ้ วลานานหรือเพยี งชวั่ คราวก็ได้
6.2 การวัดความพึงพอใจ

ปรียา พรวงศ์อนุตรโรจน์ (2536: 155) กลา่ ววา่ ความพึงพอใจมีผลทำใหผ้ ู้ปฏบิ ตั งิ านเกิดความร้สู ึก
กระตือรอื รน้ มีความมุ่งมัน่ ทจ่ี ะทำงานมขี วัญและกำลังใจส่ิงเหล่านจี้ ะมผี ลต่อประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลของ
การทำงานการวัดความพงึ พอใจทีจ่ ะให้ผลถูกต้องน้ันเปน็ เร่ืองยากเน่ืองจากความพงึ พอใจของบุคคลนนั้
แตกต่างกนั ออกไปขึน้ อยู่กบั องค์ประกอบหลายอยา่ ง แต่การวัดความพึงพอใจกสามารถทำได้โดยให้ผู้ถกู วัด
ความพึงพอใจบอกถึงกจิ กรรมหรือสง่ิ ใดสิ่งหน่งึ ทเ่ี ขาชอบหรอื ไม่ชอบ

ประภสั สร พึง่ อินทร์ (2552: 41; อ้างองิ จาก Powell, 1963: 338) กล่าววา่ การวัดความพึงพอใจ
สามารถวัดได้หลายวธิ เี ช่นการสงั เกตการสมั ภาษณแ์ ละการใช้แบบสอบถามการจะนำวิธีใดมาใช้ข้นึ อยกู่ ับผู้ท่ี
นำไปใช้ดังน้ี

1.ใช้แบบวัดความพงึ พอใจจะประกอบดว้ ยข้อความชุดหนงึ่ แสดงความรู้สึกชอบหรือไมช่ อบตอ่
ข้อความต่าง ๆ เหล่าน้นั

2. ใช้แบบสอบถามปลายเปิดโดยให้ผู้ตอบมีอสิ ระทจ่ี ะตอบคำถามต่าง ๆ ได้ตามความรูส้ ึกท่ีแท้จริงของ
ตน

3. ใช้การสัมภาษณซ์ ึง่ ผสู้ มั ภาษณส์ ามารถสังเกตเห็นพฤติกรรมของผู้ถูกสัมภาษณไ์ ด้

29

6.3 การสร้างแบบวัดความพึงพอใจ

ความพึงพอใจเปน็ องค์ประกอบท่ชี ่วยส่งเสริมใหเ้ กิดการเรยี นรทู้ ่ีดกี ารจัดการเรยี นร้จู ะประสบ
ผลสำเรจ็ ไดน้ นั้ ปัจจยั สำคัญประการหนง่ึ คือความพึงพอใจในการเรยี นซ่ึงเป็นสง่ิ ที่ครูควรสรา้ งให้เกดิ ขึ้นในตัว
ของผเู้ รียนต้ังแตเ่ ริม่ ต้นเพราะจะทำใหเ้ กิดการเรยี นรู้ต่อบทเรยี นนั้น ๆ ไดเ้ ปน็ อย่างดี

พงษ์พันธ์ พงษโ์ สภา (2542: 149-150) กล่าวว่า ๆ การสร้างความพึงพอใจในการจัดการเรยี นรไู้ วด้ ังน้ี
1.ครคู วรสรา้ งความต้องการของผเู้ รยี นแต่ละวยั และจดั เนื้อหาวชิ าให้สนองความต้องการของผเู้ รียน
เนื้อหาท่ีสอนควรเกี่ยวกบั ชวี ิตจรงิ และมคี วามหมายสำหรับผเู้ รียน
2.กอ่ นเร่มิ บทเรยี นครคู วรมีวธิ ีการนำเข้าสบู่ ทเรยี นเพ่ือดึงความสนใจและแจ้งใหผ้ เู้ รยี นทราบถงึ
จุดหมายของการเรยี น
3.ครคู วรแนะนำให้ผ้เู รยี นฝกึ การวางเปา้ หมายในการเรียนสำหรบั ตนเองเพราะคนทีเ่ รยี นหรือทำงาน
อยา่ งมีเป้าหมายจะกระทำดว้ ยความต้ังใจ
4.ในบรรยากาศการจดั การเรียนรู้ทมี่ กี ารไตถ่ ามมีการอภปิ รายและทำงานรว่ มกันเป็นกลมุ่ ยอ่ ยเพื่อให้
ผเู้ รยี นเกดิ ความกระตือรอื รน้ ฝกึ ความเปน็ ผฟู้ ังทด่ี ีและมีการยอมรบั ซ่ึงกันและกัน
5.ใชว้ ธิ ีการเสรมิ แรงตามความเหมาะสมและความจำเปน็ เพ่อื ใหผ้ ูเ้ รยี นมีพฤติกรรมท่พี ึงปรารถนาและ
บางคร้งั อาจลดพฤตกิ รรมที่ไม่พงึ ประสงคท์ ัง้ นเี้ พราะรางวลั คำชมเชยการย้มิ การพยักหน้าการให้ความสนใจ
นับวา่ เป็นการเสรมิ แรงท่ีมอี ิทธพิ ลตอ่ ผ้เู รยี นเป็นอย่างมาก
6.ใชก้ ารทดสอบการทดสอบจะเป็นเคร่ืองกระตุ้นใหผ้ ู้เรยี รต่ืนตวั เตรยี มพร้อมและเอาใสใ่ จตอ่ การ
เรียนร้ตู ลอดเวลา
7.แจง้ ผลสอบให้ผเู้ รียนทราบอยา่ งทนั ทีเพ่ือให้ผเู้ รยี นไดท้ ราบว่าส่ิงท่เี รยี นรู้ไปนัน้ มีความเข้าใจมาก
นอ้ ยเพียงใดและมขี ้อบอกพร่องที่จะเปน็ ต้องปรับปรงุ แกไ้ ขหรอื ไม่ซ่งึ วิธกี ารนจ้ี ะทำใหผ้ เู้ รียนต้องเอาใสใ่ จ
ตดิ ตามเน้ือหาวชิ าอย่ตู ลอดเวลา
8. การพาผู้เรียนออกไปศึกษานอกสถานที่หรอื วิทยากรภายนอกมาให้ความรู้ซึ่งถือวา่ เปน็ แนวทางหนงึ่
ที่สรา้ งแรงจูงใจในการเรียนรู้ของผเู้ รียน
9. การติดตามผลการทำงานที่มอบหมายให้ผู้เรยี นปฏบิ ัติเพ่ือดูความสำเร็จของงานนับว่าเปน็ สงิ่ จำเป็น
สำหรับการจัดการเรียนร้ขู องครเู พราะความสำเรจ็ ที่เกิดขึ้นกับผู้เรยี นในแตล่ ะครัง้ เมื่อได้รับความสนใจจาก
ครูผู้สอนจะเกดิ ความพึงพอใจและกำลงั ใจทีจ่ ะเรียนรู้ในคราวตอ่ ไป
6.4 คณุ ลกั ษณะเครือ่ งมือวัดความพงึ พอใจ
ความพงึ พอใจในการทำงานเปน็ แนวคดิ ท่ไี ดร้ บั การสนใจมากในปัจจุบันทฤษฎที ่เี กยี่ วกบั ความพึงพอใจ
ในการทำงานจะสนบั สนนุ ให้มกี ารสร้างเครื่องมอื เพอ่ื ประเมินความพึงพอใจในการทำงานของบุคคลมากขนึ้
เพราะฉะนนั้ ในการสรา้ งเครื่องมือหรือแบบสอบถามควรมีคุณลักษณะดังตอ่ ไปนี้

30

1.ความถกู ต้องแบบสอบวัดความพงึ พอใจในการทำงานจะต้องวัดสิง่ ท่มี ุ่งหมายจะวัดคำถามตา่ ง ๆ
จะตอ้ งมคี วามสัมพนั ธร์ ะหว่างกนั สูงมาก

2.ความเชอื่ ถือได้แบบสอบวดั ความพงึ พอใจในการทำงานจะตอ้ งได้ผลสัมฤทธ์ิที่แนน่ อนและมีคำถาม
หลายข้อที่วดั แต่ละลกั ษณะของความพงึ พอใจการทำงาน

3.เนื้อหาแบบสอบวัดความพึงพอใจการทำงานจะต้องระบุปัจจยั ท่ปี ระทบต่อการทำงานและความมี
ประสิทธภิ าพขององค์กร

4.ภาษาคำถามที่ถามจะตอ้ งชัดเจนไมค่ ลุมเครือและใชไ้ ดก้ ับองค์กรหลายประเภท
สรุป การวดั ความพึงพอใจมสี ว่ นช่วยในการวัดความพึงพอใจของบุคคลต่าง ๆ เนอ่ื งจากความพงึ พอใจ
เป็นสงิ่ ทช่ี ว่ ยกระตนุ้ ใหบ้ ุคคลเหลา่ นัน้ เกดิ ความคดิ และความตัง้ ใจทจ่ี ะทำงานหรือสิง่ ต่างความสำเรจ็ วิธกี ารวดั
ความพงึ พอใจที่กลา่ วมานั้นสามารถวัดความพึงพอใจของบุคคลได้ทัง้ สิ้นในทา้ ยทสี่ ุดการเลือกเครื่องมือและ
วธิ กี ารจำเปน็ ต้องคำนงึ ถงึ ความเหมาะสมและวตั ถุประสงค์ในการใช้งาน ๆ ใหบ้ รรลดุ ว้ ย

7. งานวจิ ยั ท่ีเกีย่ วข้อง

7.1 งานวจิ ัยที่เกี่ยวข้องในประเทศ

ชิทชล ยานารมย์ (2556) การวิจยั เรื่อง การพัฒนาทักษะการฟัง-พดู ภาษาอังกฤษของนกั เรยี นชน้ั
มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5/1 ใช้ภาพยนตรต์ า่ งประเทศภาษาอังกฤษถือเป็นภาษาหน่งึ ท่ีมีความสำคญั และจำเป็นท่ี
จะตอ้ งเรยี นเพ่ือใชต้ ิดต่อสอื่ สารกับชนชาวโลก และมคี วามสำคัญต่อการศึกษาต่อในระดบั ทส่ี งู ขน้ึ และในชีวิต
การทำงาน ในปี 2015 หรือปี 2558 ประเทศตา่ งๆ ในอาเซียน 10 ประเทศ ไดแ้ ก่ ไทย อินโดนเี ซยี มาเลเซยี
ฟิลิปปินส์ สงิ คโปร์ บรไู น เวียดนาม ลาว พม่า และกมั พชู า จะรวมตัวกันเป็นประชาคมอาเซยี น (ASEAN
COMMUNITY) ซงึ่ หมายความวา่ ประชาชนในแต่ละประเทศ จะต้องตดิ ตอ่ ส่ือสารกันในทุกๆ ด้าน ไม่วา่ จะเป็น
เรื่องเศรษฐกจิ สังคม การเมือง การปกครอง การศึกษา ศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี การท่องเท่ียว และอ่ืนๆ โดย
ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลาง โดยเฉพาะอย่างย่ิงเร่อื งการทำงานในประชาคมอาเซยี น ดงั กฎบตั รอาเซียนข้อ
34 ทีบ่ ัญญตั ิว่า “The Working languageof ASEAN shall be English” เมอ่ื เป็นเชน่ น้ใี นวงการศึกษาจงึ มี
การตนื่ ตวั และเตรยี มพร้อมกับการกา้ วสู่ประชาคมอาเซียนเปน็ อยา่ งมาก และจากการประเมนิ คุณภาพของส า
นกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศึกษาและการทดสอบการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พน้ื ฐาน
Ordinary NationalEducation Test ประจำปี 2555 นกั เรยี นมีคะแนนเฉลย่ี วชิ าภาษาอังกฤษไม่ถึงรอ้ ยละ 50
(ประกาศผลโอเน็ต,2556) ซง่ึ เป็นวชิ าที่มคี วามสำคัญ โดยผวู้ จิ ยั เองให้ความสำคญั ของการพัฒนาการใช้
ภาษาองั กฤษโดยมุ่งเน้นวา่ นกั เรียนตอ้ งใช้ภาษา องั กฤษในการฟังและการพูดได้อย่างมคี ุณภาพ

31

7.2 งานวิจัยท่เี กี่ยวข้องนอกประเทศ

Md. Habibur Rahman ได้วจิ ัยเก่ยี วกับ การสอนทักษะการฟังและการพดู ของ EFL แก่นักเรียนระดบั
มธั ยมศึกษาในประเทศบงั คลาเทศเพื่อสำรวจขอบเขตระหว่างครแู ละนักเรยี นเกี่ยวกับการสอนทกั ษะการฟัง
และการพูดของ EFL อย่างชัดเจน อีกทง้ั เพอ่ื ระบุความยากลำบากของครูในการสอนและนกั เรยี นที่ไม่มที ักษะ
การฟังและการพูดของ EFL อยา่ งชดั เจน และเพอ่ื ประเมนิ ความสำคญั ของการทดสอบทักษะการฟงั และการ
พดู ของ EFL ในระดับมัธยมศึกษา

Nguyen Ngoc Hoang & Thanh Huynh Ngoc ไดว้ ิจยั เรื่อง The Effects of Integrating Listening
and Speaking Skills into Moodle-Based Activities งานวจิ ยั นีท้ ำใหไ้ ดศ้ กึ ษาผลกระทบตอ่ นักเรยี นตอ่
ความเข้าใจในการฟังเมื่อการสอนทกั ษะการฟังและการพูดแบบบรู ณาการผ่านระบบ e-learning พบว่ามคี วาม
แตกตา่ งท่ีโดดเดน่ ในระดบั ทักษะการฟงั ระหวา่ งกลุม่ ทดลองท้ัง 2 กล่มุ อยา่ งไรกต็ ามนักเรียนท้ัง 2 กลุ่ม ประสบ
ความสำเรจ็ ในการพัฒนาการฟงั ของพวกเขา

Segura Alonso ไดว้ ิจยั เรอ่ื ง The importance of teaching listening and speaking

skills ผลการวิจัยคน้ พบวา่ ความสามารถในการฟงั และการพูดเปน็ ทักษะทซี่ ับซอ้ นทตี่ ้องพัฒนา

อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถพฒั นาได้ด้วยการฝึกฝนในหอ้ งเรียนผา่ นกิจกรรมท่สี ่งเสรมิ

ปฏสิ ัมพันธ์ระหวา่ งนกั เรียน การวิจยั น้ีมุ่งเน้นไปทก่ี ารมีสว่ นรว่ มของนักเรยี น ด้วยเนื้อหาการสอนท่ี

มีความบันเทงิ แปลกใหม่ และน่าประหลาดใจ ส่งิ เหลา่ นี้คือ การสร้างแรงจูงใจและเปล่ียนทศั นคติ

เชงิ ลบทม่ี ตี อ่ ภาษาองั กฤษของนักเรยี น

8. กรอบแนวคิดในการวิจัย

ตัวแปรต้น ตวั แปรตาม
การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำ
ความหมายคำศพั ท์ภาษาองั กฤษ โดยใชบ้ ตั รคำ 1. ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน
ศพั ทรูปภาพ (Flash card) ของนักเรยี นชนั้ 2. ทักษะการเรียนรู้ด้วย
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2
ตนเอง
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ 3. ความพงึ พอใจ
(ภาษาอังกฤษ)

โรงเรยี นทุ่งเสลย่ี มชนปู ถมั ภ์

อำเภอทุง่ เสลยี่ ม จังหวัดสุโขทยั

32

บทที่ 3
วิธกี ารดำเนินงานวจิ ัย

การดำเนนิ งานวจิ ัย เร่อื ง การพฒั นาทักษะการอา่ นสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์ภาษาองั กฤษ โดยใช้
บตั รคำศัพทรูปภาพ (Flash card) กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) นักเรียนช้ัน
มธั ยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนทุ่งเสล่ยี มชนูปถมั ภ์ อำเภอทุ่งเสล่ียม จังหวัดสุโขทยั ผู้วจิ ัยได้ดำเนนิ การตามหัวขอ้
ดังตอ่ ไปน้ี

1. ประชากรกลุ่มตัวอยา่ ง
2. เครื่องมือทใ่ี ช้ในการวิจัย
3. ข้ันตอนการสรา้ งและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือในการวิจยั
4. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
5. การวิเคราะห์ข้อมลู และสถิตทิ ี่ใช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล

1. ประชากรกลุ่มตัวอยา่ ง
1.1 ประชากร: นกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 2/3 โรงเรียนทุ่งเสล่ยี มชนูปถมั ภ์ อำเภอทุ่งเสลย่ี ม จงั หวดั

สุโขทัย จำนวน 39 คน
1.2 กล่มุ ตัวอย่าง: นักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2/3 โรงเรียนโรงเรยี นทุ่งเสลี่ยมชนปู ถัมภ์ อำเภอทงุ่ เสลี่

ยม จังหวัดสุโขทัย จำนวน 20 คน ซึ่งนกั เรยี นกลุ่มตัวอย่างได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (purposive
sampling)

2. เครือ่ งมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการวจิ ัยมีท้ังหมด 3 เครอื่ งมือ ประกอบไปด้วย
2.1แผนการจดั การเรียนรู้การพูดและสะกดคำศัพท์ภาษาองั กฤษโดยใช้บตั รคำ (flash card)
2.2แบบทดสอบวดั ความสามารถพูดและสะกดคำศพั ทภ์ าษาองั กฤษกอ่ นและหลังเรียนโดยใช้บัตรคำ

(flash card)
2.3แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนทมี่ ีต่อการจดั การเรียนร้กู ารพูดและสะกดคำศัพท์

ภาษาอังกฤษโดยใช้ (flash card)

33

3. ขั้นตอนการสรา้ งและตรวจสอบคุณภาพเครอื่ งมือในการวจิ ัย
ในการสรา้ งคุณภาพเครอื่ งมือในงานวิจัยครั้งน้ีประกอบไปด้วย

1. แผนการจดั การเรียนรู้ การศึกษาเอกสาร และงานวจิ ัยตา่ งๆ นำมาสังเคราะห์ และสร้างออกมาเป็น
รปู แบบการจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้เพลงสากล

ตารางท่ี 1 แสดงผลการการสังเคราะห์เน้ือหาท่ีใชจ้ ะใช้จดั การเรียนรตู้ ามหลักสตู รแกนกลางการศึกษา
ข้นั พ้นื ฐานพุทธศักราช 2551 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2

ตัวชีว้ ัดช้นั ปี สาระสำคัญ ผลการสังเคราะห์

ต 1.1 ม.2/1 ปฏบิ ัติตามคำขอร้องคำแนะนำคำช้ีแจง ใหผ้ เู้ รยี นได้มีการปฏิบัติจากเร่อื งที่ฟงั เชน่

และอธบิ ายงา่ ยง่ายที่ฟังและอ่าน การพูดเขยี นและการแสดงออกทางท่าทาง

จากเรอื่ งที่ฟังได้

ต 1.1 ม.2/4 เลอื กหวั ข้อเรอ่ื งใจความสำคัญบอก ผเู้ รยี นศึกษาความหมายของคำศพั ท์จาก

รายละเอยี ดสนับสนุน(Supporting เรอ่ื งท่ีฟังและสามารถบอกถึงความหมาย

Detail) และแสดงความคดิ เหน็ ทีเ่ กีย่ วกบั จากเร่อื งท่ฟี งั ท้ังหมดได้

เร่อื งที่ฟังและอ่านพร้อมทง้ั ให้เหตุผลและ

ยกตัวอย่างง่ายงา่ ยประกอบ

ต 1.2 ม.2/4 พดู และเขียนเพ่อื ขอและให้ข้อมูลบรรยาย ผูเ้ รยี นรู้ความหมายจากเรื่องทีฟ่ งั และ

และแสดงความคดิ เห็นเกยี่ วกับเรอื่ งที่ฟงั สามารถอธบิ ายหรือแสดงความคดิ เหน็

หรืออ่านอยา่ งเหมาะสม จากเร่ืองทีฟ่ ังได้อยา่ งเหมาะสม

การจดั ทำแผนการจัดการเรยี นรู้ตามผลการสังเคราะห์เนือ้ หาสาระสำคญั จากหลักสตู รแกนกลาง

การศกึ ษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่2

ออกมาเป็นบทเรียนดังท่ีแสดงในตารางท่ี 2 ดังน้ี

ตารางท่ี 2 ตารางแสดงกำหนดการสร้างบทเรียน

เร่อื ง/เวลา วัตถปุ ระสงค์ กจิ กรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การวดั และการประเมินผล
ศึกษา ขนั้ นำ (Warm up) บัตรคำ นกั เรียนเข้าใจและสามารถ
My Daily ความสามารถด้าน ครูถามนักเรียน กจิ กรรม อธบิ ายส่ิงทฟ่ี ัง และพดู ได้อย่าง
Routine การพูดและสะกด เกี่ยวกบั กจิ วตั ร ประกอบการ ถกู ต้อง
คำศัพท์ ประจำวนั ของนักเรียน เรยี นรู้
ภาษาอังกฤษโดยใช้ และนำเสนอคำศัพท์ ใบงาน
บตั รคำ (flash card หนา้ ช้นั เรยี นโดยเปิด
โอกาสให้นักเรยี นเดา

34

)หลงั จากการเรียน คำศัพท์กจิ วตั ร
การสอนมากขน้ึ ประจำวนั ใน
ภาษาอังกฤษ เชน่
กจิ วัตรประจำวัน
คำศัพทใ์ น
ภาษาอังกฤษคือคำว่า
อะไร(Routines/Daily
routines)
ขนั้ สอน
(Presentation)
ครนู ำเสนอบัตรภาพท่ี
มีคำศัพท์ประกอบ
เกย่ี วกบั กิจวตั ร
ประจำวัน (ตัวอยา่ งใบ
ความรทู้ ่ี 1 เรอื่ ง Daily
Routines) ได้แก่ get
up, shave, take a
bath, get dressed,
cook, have
breakfast, go to
school, study ,
have lunch , play ,
go home , do
homework, have
dinner , watch TV. ,
read, go to bed

นกั เรียนอา่ นออกเสยี ง
ตามครูทีละคำจนครบ

ขน้ั ฝกึ (Practice)
แบง่ นกั เรยี นออกเปน็
กลุม่ ๆ ละ 4 – 5 คน

35

ใหห้ ัวหน้ากลุม่ ออกมา
รบั บัตรภาพ และ

บัตรคำศัพทก์ ลุ่มละ 1
ชดุ พรอ้ มอธบิ ายการ
เล่นเกมตอ่ ภาพกบั
คำศัพท์
2.นักเรยี นแต่ละกลมุ่
ช่วยกนั จบั คภู่ าพกบั
คำศัพท์ไห้ถกู ต้อง
ภายในเวลาทีค่ รู
กำหนด กลุ่มใดจบั คู่
ภาพกับคำศัพท์ได้
ถกู ต้องท่ีสุดเปน็ กลุม่
ชนะ ถา้ นกั เรียนจบั คู่
ภาพกับคำศพั ท์ได้
ถูกต้องเหมือนกนั กลุม่
ใดทที่ ำเวลาน้อยกวา่
ถือเป็นผู้ชนะ

ข้ันปฏิบัติ
(Production)
1. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่ม
อ่านออกเสียงคำศัพท์
พร้อมกันอกี ครั้ง และ
ทบทวนคำศัพท์โดย
การให้

ตัวแทนกลมุ่ ชูภาพและ
ใหส้ มาชิกในกลมุ่ บอก
คำศัพทใ์ หถ้ ูกต้องตาม
ภาพ

36

2.นักเรยี นบนั ทกึ
คำศัพท์ กลุ่มคำ ลงใน
สมุด
3.นกั เรียนทำใบงานท่ี
1 Daily Routines
เขยี นคำศัพท์ใตภ้ าพให้
ถกู ต้อง

ขน้ั สรุป (Wrap up)
1.นักเรยี นรว่ มกันสรุป
คำศัพท์และบอก
ความหมายของกิจวตั ร
ประจำวัน

จากตารางการกำหนดบทเรียนนำมาออกแบบหนว่ ยการเรียนรูแ้ ละวตั ถุประสงคเ์ ปน็ ตารางดังน้ี

ตารางที่ 3 การออกแบบหน่วยการเรียนรแู้ ละวตั ถุประสงค์

หนว่ ยที่ ช่ือหน่วยย่อย/รายละเอียด วตั ถปุ ระสงค์
1. My Daily Routine - นกั เรยี นไดเ้ รยี นรู้คำศพั ท์และความหมายของ
นกั เรยี นได้เรียนรู้คำศัพท์และความหมายของ คำศัพทเ์ ร่อื ง daily routine
คำศัพท์เรือ่ ง daily routine และกิจกรรม - นักเรยี นสามารถพูดและสะกดตำศพั ท์ เร่ือง
ประกอบการเรียนการสอน daily routine และบอกความหมายได้

จากตารางทสี่ ามการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ในวัตถปุ ระสงคผ์ ู้จัดทำวจิ ยั ได้ทำการออกแบบแผนการ
จดั การเรียนรู้จำนวน 1 แผน รวมทงั้ สนิ้ 3 ช่วั โมงหลงั จากนน้ั นำแผนการจัดการเรียนรู้ไปให้ผูเ้ ชย่ี วชาญด้านการ
พัฒนาหลักสตู รและการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษจำนวน 3 ท่านได้พิจารณาลงความเหน็ และให้
คะแนนเพ่ือพจิ ารณาประเมินคณุ ภาพและความเหมาะสมของเครื่องมือ

ตวั แปรทีใ่ ชใ้ นการวจิ ัย
ตวั แปรตน้
การเรียนการสอนโดยใชบ้ ัตรคำ (flash card)
ตวั แปรตาม

37

1. ความสามารถด้านอา่ นและสะกดคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี
2/3 โรงเรยี นทงุ่ เสลยี่ มชนปู ถัมภ์ อำเภอทงุ่ เสลย่ี ม จังหวัดสุโขทยั

2. ความพงึ พอใจของนกั เรยี นนักเรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2/3 โรงเรยี นทุ่งเสล่ียมชนปู ถมั ภ์
อำเภอทุ่งเสลย่ี ม จงั หวดั สโุ ขทยั ที่มีตอ่ การจดั การเรยี นการสอนการอา่ นและสะกด
คำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้บัตรคำรูปภาพ (Flash card)

4. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู

ผวู้ จิ ยั ดำเนนิ การวิจยั เพอ่ื ศึกษาความสามารถการพูดคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใชบ้ ทเพลงซึ่งทำการ

ทดลองและเก็บข้อมลู ในภาคเรียนทป่ี กี ารศึกษา 2565 โดยมีรายละเอยี ดดังต่อไปนี้

4.1ดำเนินการทดสอบก่อนเรียน (pre-test) โดยใช้แบบฝกึ หัดเพ่ือวัดความสามารถการพูด

ภาษาองั กฤษจำนวน 16 ข้อเวลา 16 นาที

4.2 จัดการเรียนการสอนการพดู และสะกดคำศัพท์ภาษาองั กฤษโดยใช้บัตรคำ (flash card) จำนวน 1

แผนแผนละ 1 ชัว่ โมงรวมทั้งสิ้น 1 ช่วั โมง

4.3 ดำเนินการทดสอบหลงั เรียน (post-test) โดยใช้แบบฝกึ หดั เพื่อวัดความสามารถการพดู

ภาษาองั กฤษจำนวน 16 ขอ้ เวลา 16 นาที

4.4 ภาษาองั กฤษโดยใช้บตั รคำพูด (flash card) จำนวน 10 ขอ้ สอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่

มีตอ่ การจดั การเรยี นรู้การพดู และสะกดคำศพั ท์

5. การวเิ คราะหข์ ้อมูลและสถิติทใี่ ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล

5.1 การศึกษาความสามารถการฟังคำศพั ทภ์ าษาอังกฤษมีค่าคะแนนหลังเรียนสูงขึ้นกวา่ ก่อนเรียน

5.2 ความพึงพอใจของนักเรียนมีต่อการจดั การเรียนรู้การฟังคำศัพท์ภาษาองั กฤษโดยใช้บตั รคำ (flash

card) โดยจดั แจงใหเ้ ปน็ ประเภทแบบประเมินความพงึ พอใจออกมาได้ 3 ด้านคือ

1. ดา้ นเนื้อหาสาระ จำนวน 4 ข้อ

2. ดา้ นส่ือและกจิ กรรมประกอบการเรยี นการสอน จำนวน 3 ขอ้

3. ดา้ นการประเมนิ ผลการเรียนรู้ จำนวน 3 ข้อ

โดยใชเ้ กณฑใ์ นการประเมินการจัดการเรยี นรู้ 5 ระดบั ดังน้ี

5 หมายถงึ พงึ พอใจมากทส่ี ุด

4 หมายถงึ พงึ พอใจมาก

3 หมายถงึ พึงพอใจปานกลาง

2 หมายถงึ พึงพอใจนอ้ ย

1 หมายถึง พงึ พอใจน้อยทส่ี ดุ

38

การกำหนดเกณฑใ์ นการประเมินความพึงพอใจ
4.51 – 5.00 หมายถงึ เหน็ ด้วยมากทส่ี ุด
3.51 – 4.50 หมายถึง เหน็ ด้วยมาก
2.51 – 3.50 หมายถงึ เหน็ ดว้ ยปานกลาง
1.51 – 2.50 หมายถงึ เหน็ ด้วยน้อย
1 – 1.50 หมายถึง เหน็ ดว้ ยนอ้ ยที่สุดหรือไม่เหน็ ด้วย

6. ค่าสถิติทใี่ ชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมลู
การวเิ คราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเรจ็ รูปคอมพิวเตอรส์ ถิตทิ ่ใี ช้ในการวิเคราะห์ข้อมลู ในการวจิ ยั ใน

ครง้ั นคี้ ือ
1. ค่าเฉลย่ี (Mean) โดยใช้สูตรดงั นี้
สตู ร = ̅ ∑

n

เมื่อ ̅ แทน คา่ เฉลีย่
∑ แทน ผลรวมของข้อมูลทั้งหมด
n แทน จำนวนขอ้ มลู

2. การหาคา่ เบียงเบนมาตราฐาน (Standard Deviation) โดยใช้สตู รดงั นี้

สตู ร SD. = √∑( − ̅ ) 2
(n - 1)

เมอ่ื = ค่าเฉลี่ยของคะแนนแตล่ ะข้อ
̅ = คา่ เฉล่ียของคะแนน
n = จำนวนของนักเรียน

3. การหาคา่ t-test


สูตร t = √ ∑ 2 − ∑ 2
n-1

เม่ือ D = ค่าความแตกต่างระหวา่ งคะแนนแต่ละคู่
n = จำนวนคู่

39

4. การวิเคราะห์ความแม่นตรงเชิงเน้ือหา ดว้ ยดชั นคี วามสอดคลอ้ ง (IOC)

สตู ร IOC = ∑
n

เมอ่ื X = ค่าระดบั ความแม่นตรง (5, 4, 3, 2, 1)
5 หมายถึง ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์มากท่สี ดุ
4 หมายถึง ตรงตามวัตถปุ ระสงค์มาก
3 หมายถึง ตรงตามวตั ถปุ ระสงคป์ านกลาง
2 หมายถึงตรงตามวัตถปุ ระสงค์น้อย
1 หมายถงึ ตรงตามวัตถุประสงค์นอ้ ยที่สุด

n = จำนวนผูเ้ ชย่ี วชาญ

40

ภาคผนวก

41

การดำเนินงาน

42

43

44


Click to View FlipBook Version