รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ ครึ่งปีแรก (ระหว่างวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๖ ถึง ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๗) รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ ครึ่งปีแรก (ระหว่างวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๖ ถึง ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๗) นายไพบูบู บู ล บู ลย์ย์ ย์ย์ นนทะบุบุ บุ ต บุ ตร ตำ แหน่ง ผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะ ผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ โรงเรียนบ้านเชียงพัง สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑ สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ก คำ นำ รายงานการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่ง ผู้บริหารสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ ครึ่งปีแรก (ระหว่างวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๖ ถึง ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๗) สังกัดสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑ เอกสารเล่มนี้จัดทำ ขึ้นเพื่อใช้ประกอบการประเมิน ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของ นายไพบูลย์ นนทะบุตร ผู้อำ นวยการโรงเรียนบ้านเชียงพัง สังกัดสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑ นายไพบูลย์ นนทะบุตร ผู้อำ นวยการโรงเรียนบ้านเชียงพัง รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ ข สารบัญ เรื่อง หน้า คำ นำ ก สารบัญ ข องค์ประกอบที่ ๑ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำ แหน่ง ๑ ตอนที่ ๑ ระดับความสำ เร็จในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำ แหน่ง ๑ ด้านที่ ๑ ด้านการบริหารวิชาการและความเป็นผู้นำ ทางวิชาการ ๑ ด้านที่ ๒ ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา ๔ ด้านที่ ๓ ด้านการบริหารการเปลี่ยนแปลงเชิงกลยุทธ์และนวัตกรรม ๕ ด้านที่ ๔ ด้านการบริหารชุมชนและเครือข่าย ๖ ด้านที่ ๕ การพัฒนาตนเองและวิชาชีพ ๗ ตอนที่ ๒ ระดับความสำ เร็จในการพัฒนางานที่เสนอเป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาคุณภาพ ๘ ผู้เรียน ครู และสถานศึกษา องค์ประกอบที่ ๒ การมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๑๒ องค์ประกอบที่ ๓ การประเมินการปฏิบัติตนในการรักษาวินัย คุณธรรม จริยธรรม ๑๒ และจรรยาบรรณวิชาชีพ ภาคผนวก
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ ๑ รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา ครึ่งปีแรก (ระหว่างวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๖ ถึง ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๗) ................................................................................... ชื่อผู้รับการประเมิน นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่ง ผู้อำ นวยการโรงเรียน วิทยฐานะ ชำ นาญการพิเศษ อันดับ คศ. ๓ เงินเดือน ๖๙,๐๔๐ สถานศึกษา โรงเรียนบ้านเชียงพัง สังกัด สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑ ชื่อผู้ประเมิน.......................................................................................................................................................................... ตำ แหน่ง................................................................................................................................................................................ องค์ประกอบที่ ๑ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำ แหน่ง ตอนที่ ๑ ระดับความสำ เร็จในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำ แหน่ง ด้านที่ ๑ ด้านการบริหารวิชาการและความเป็นผู้นำ ทางวิชาการ ๑.๑. การวางแผนพัฒนามาตรฐานการเรียนรู้ของผู้เรียน ๑.๑.๒ การดำ เนินงานริเริ่ม พัฒนาดำ เนินการจัดทำ แผนพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา สถานศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำ ปี ๒๕๖๖ ที่สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการสำ นักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑ ภายใต้นโยบาย เรียน ดี มีความสุข ๑ เด็กอุดร ๑ เป็นที่ ๑ ขับเคลื่อนด้วย ๓ ดี ๔ รู้ สู่ ๓ สุข โดยคำ นึงถึงบริบทของสถานศึกษาและความ ต้องการจำ เป็นของผู้เรียนและผู้ที่เกี่ยวข้อง ๑.๑.๒. ผลจากการดำ เนินงาน - ผู้เรียน ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถาน ศึกษาตัวชี้วัด ด้านคุณภาพผู้เรียนในระดับดี - ครู ครูผู้สอนร้อยละ๙๐ มีนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้สอนเชิงรุก(Active Learning) ที่เน้นการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพเป็นสำ คัญ - โรงเรียนบ้านเชียงพัง มีนวัตกรรมในการบริหารจัดการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา มาตรฐานที่ ๒ ระบวนการบริหารและการจัดการอยู่ในระดับคุณภาพ ระดับ ดี ขึ้นไป ๑.๒. การทำ และพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ๑.๒.๑. การดำ เนินงานริเริ่มพัฒนาหลักสูตร จัดทำ หลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับความ ต้องการของผู้เรียนชุมชนและท้องถิ่นโดยมีผู้บริหารสถานศึกษาครู ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีส่วนร่วมในการจัดทำ หลักสูตรมีองค์ประกอบถูกต้องครบถ้วน เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างเต็มความสามารถตาม ศักยภาพ สถานศึกษา ครูมีการนำ หลักสูตรของสถานศึกษาไปปฏิบัติจริงในการจัดการเรียนรู้ มีการนิเทศ ติดตาม การใช้ หลักสูตรมีการนำ ผลการนิเทศ ติดตาม และการประเมินผลการใช้หลักสูตรมาปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ ๒ ๑.๒.๒. ผลจากการดำ เนินงาน - ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามมาตรฐานการ เรียนรู้ ตัวชี้วัดและมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามเกณฑ์ที่ถานศึกษากำ หนดระดับดีขึ้นไป - ครูร้อยละ ๘๐ นวัตกรรม การจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning โดยใช้แผนการ จัดการเรียนรู้แบบ ๕E - โรงเรียนบ้านเชียงพังมีหลักสูตรสถานศึกษาตรงตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ปรับปรุง๒๕๖๓) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด หลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้อง เหมาะสมกับบริบทสภาพ ๑.๓. การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำ คัญและปฏิบัติการสอน ๑.๓.๑. การดำ เนินงานโรงเรียนบ้านเชียงพังมีการส่งเสริมและพัฒนาครูในการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบเชิงรุก Active Learning โดยใช้นวัตกรรมแผนการจัดการเรียนรู้แบบ ๕E ยึดนักเรียนเป็นสำ คัญโดยคำ นึงถึง ความแตกต่างระหว่างบุคคล เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เต็มความสามารถตามศักยภาพพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนที่ตอบ สนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ มีการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลโดยใช้กระบวนการนิเทศภายในที่เข้มแข็ง เป็นระบบและต่อเนื่อง ๑.๓.๒. ผลจากการดำ เนินงาน - ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ มีทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ผ่านการประเมินคุณภาพผู้เรียนตาม หลักสูตร - ครูร้อยละ ๙๐ มีสมรรถนะและทักษะในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเชิงรุก Active Learning มีสื่อ นวัตกรรมและแผนการจัดการเรียนรู้แบบ ๕E จัดการเรียนรู้เพื่อแก้ปัญหาผู้เรียนและพัฒนา ผู้เรียนได้อย่างมีคุณภาพ - โรงเรียนบ้านเชียงพังมีการนิเทศภายในเข้มแข็งเป็นระบบต่อเนื่องผ่านการประเมิน การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับ ดี ๑.๔. การส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาหรือการนำ สื่อนวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้ใน การจัดการเรียนรู้ ๑.๔.๑. การดำ เนินงานโรงเรียนบ้านเชียงพัง มีการริเริ่ม พัฒนา ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูผู้สอน นำ สื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ตรงตามที่หลักสูตรกำ หนดมีสื่อเทคโนโลยีดิจิทัล และนวัตกรรมที่ทันสมัยมีการใช้ปรับปรุงพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่องเช่น Youtube, Obec Content Center, DLTV, DLIT ครูผู้เรียนสามารถใช้สื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาบรรลุตามวัตถุประสงค์ มีการติดตามประเมินผลการ ใช้สื่อนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา และรายงานผล ๑.๔.๒. ผลจากการดำ เนินงาน - ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ เข้าถึงสื่อและมีทักษะการใช้สื่อ เทคโนโลยีในการเรียนรู้ - ครูร้อยละ ๙๐ สามารถใช้สื่อ ผลิตสื่อ และใช้เทคโนโลยีในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สำ หรับผู้เรียนได้ตรงตามจุดประสงค์การจัดการเรียนรู้
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ ๓ - โรงเรียนบ้านเชียงพัง มีสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนรู้ที่ตรง กับความต้องการของผู้เรียน ๑.๕. การนิเทศกำ กับติดตามประเมินผลการจัดการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษาและมีการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา ๑.๕.๑. การดำ เนินงานริเริ่ม พัฒนาส่งเสริมกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพและมีการ นิเทศ กำ กับ ติดตามการประเมินผล การจัดการเรียนรู้ของครู มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่องเป็นประจำ ทุกปี ๑.๕.๒. ผลการดำ เนินงาน - ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ มีผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการศึกษาอยู่ในระดับ ดีขึ้นไป - ครูร้อยละ ๙๐ ที่ได้รับการนิเทศสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ตามมาตรฐานการ ศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ - โรงเรียนบ้านเชียงพังมีระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็งมีผลการประเมินอยู่ใน ระดับ ดี ๑.๖. การศึกษาวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาการจัดการเรียนรู้เพื่อยกระดับคุณภาพของสถาน ศึกษา ๑.๖.๑. การดำ เนินงาน - วิเคราะห์ สภาพปัจจุบันปัญหา ริเริ่ม พัฒนา ส่งเสริม สนับสนุนและปลูกฝังความมี ระเบียบวินัย มีจิตสาธารณะผ่านกระบวนการลูกเสือ เนตรนารี และสภานักเรียนอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน - วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปีที่ผ่านมาส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนการทดสอบความสามารถพื้นฐานระดับชาติ RT, NT และ O-NET เพิ่มขึ้น โดยใช้กระบวนการนิเทศภายใน สถานศึกษา ๑.๖.๒. ผลจาการดำ เนินงาน - ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ มีผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานระดับชาติ RT, NT และ O-NET สูงขึ้น - ครูร้อยละ ๙๐ มีนวัตกรรม คือแผนจัดการเรียนรู้แบบ ๕E เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาการเรียนรู้ของผู้เรียนผ่านกระบวนการ PLC โดยได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการสอนส่งผลให้ผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนเพิ่มขึ้น - โรงเรียนบ้านเชียงพัง เป็นองค์กรที่มีคุณภาพมีระบบการประกันคุณภาพภายในสถาน ศึกษาที่เข้มแข็ง
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ ๔ ด้านที่ ๒ ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา ๒.๑. การบริหารจัดการสถานศึกษาให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ นโยบายและหลัก บริหารบ้านเมืองที่ดี ๒.๑.๑. การดำ เนินงานจัดทำ คู่มือการบริหารจัดการสถานศึกษาให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ นโยบาย และตามหลักบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีและมีการจัดทำ คำ สั่งมอบหมายงานบริหารจัดการ สถานศึกษา ๔ ด้าน งานวิชาการ งานบุคคล งานงบประมาณ การบริหารทั่วไป ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ นโยบาย ตามหลักบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีที่สอดคล้องกับนโนบาย เรียนดี มีความสุข ๒.๑.๒. ผลการดำ เนินงาน - ผู้เรียน ร้อยละ ๘๐ ผู้เรียนได้รับการดูแล แก้ปัญหาและเรียนฟรีอย่างมีคุณภาพลด ความเหลื่อมล้ำ - ครู ร้อยละ ๙๐ รู้หน้าที่ รู้เป้าหมาย รู้วิธีการ และรู้ความสำ เร็จตามภาระงานตาม มาตรฐานตำ แหน่งและภาระงานผ่านเกณฑ์การประเมิน PA ได้สูงกว่าระดับที่คาดหวังทุกด้าน - โรงเรียนบ้านเชียงพัง เป็นองค์กรคุณภาพสามารถดำ เนินงานด้านบริหารงานบุคคล งบประมาณ บริหารทั่วไปอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ๒.๒ การบริหารกิจการผู้เรียนและส่งเสริมพัฒนาผู้เรียน ๒.๒.๑. การดำ เนินงาน การริเริ่ม พัฒนาการบริหารกิจการผู้เรียนและการส่งเสริมพัฒนาผู้เรียน จัดกิจกรรมส่งเสริม พัฒนาผู้เรียนเช่น กิจกรรมแนะแนวชุมนุม กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี สภานักเรียนส่งเสริมและพัฒนา ทั้งด้านทักษะชีวิต และทักษะอาชีพตอบสนองความต้องการและความแตกต่างระหว่างบุคคลของและส่งเสริมพหุปัญญา ของผู้เรียนรายบุคคล ติดตามประเมินผล รายงานผลการดำ เนินการและนำ ผลไปปรับปรุง ๒.๒.๒. ผลการดำ เนินงาน - ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ มีทักษะทางวิชาการ ทักษะชีวิต และทักษะอาชีพ ผ่านการประเมิน คุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตร - ครู ร้อยละ ๙๐สามารถจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรฯ โดยใช้กิจกรรม แนะแนว กิจกรรมชุมนุม สภานักเรียนตอบสนองผู้เรียนรายบุคคล - โรงเรียนบ้านเชียงพัง มีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพทั้งด้านความ ปลอดภัย ทั้งด้านความปลอดภัย โอกาส ประสิทธิภาพ และคุณภาพ ๒.๓. การจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ๒.๓.๑. การดำ เนินงานริเริ่มพัฒนาพัฒนาการจัดระบบและช่วยเหลือผู้เรียนให้มีโอกาสโอกาส ความเสมอภาค และลดความเหลื่อมล้ำ ทางการศึกษา - วิเคราะห์ สภาพปัจจุบัน ปัญหา - ดำ เนินงานคัดกรองและส่งต่อนักเรียนและส่งเสริมพหุปัญญารายบุคคล - โรงเรียนบ้านเชียงพังดำ เนินการให้เด็กออกกลางคัน เด็กตกหล่น กลับเข้าสู่ระบบการ ศึกษาหรือได้รับการศึกษาด้วยรูปแบบที่เหมาะสม
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ ๕ - ผู้เรียนได้รับการช่วยเหลือตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน๕ขั้นตอนอย่างมีส่วนร่วม จากภาคี เครือข่าย หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ครู ผู้ปกครอง ชุมชน - ติดตามและประเมินผล รายงานผลการดำ เนินการและนำ ผลไปปรับปรุง ๒.๓.๒. ผลการดำ เนินงาน - ผู้เรียน ร้อยละ ๘๐ ได้รับการช่วยเหลือ แก้ปัญหาและพัฒนาทักษะทางวิชาการ ทักษะ ชีวิต และทักษะอาชีพ ผ่านเกณฑ์คุณภาพด้านผู้เรียนตามหลักสูตร - ครู ร้อยละ ๙๐สามารถช่วยเหลือนักเรียน โดยใช้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อ พัฒนาผู้เรียน - โรงเรียนบ้านเชียงพัง มีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มีประสิทธิภาพ ด้านที่ ๓ ด้านการบริหารการเปลี่ยนแปลงเชิงกลยุทธ์และนวัตกรรม ๓.๑. การกำ หนดนโยบายกลยุทธ์ การใช้เครื่องมือ หรือนวัตกรรมกรรมทางการบริหาร ๓.๑.๑. การดำ เนินงานจัดทำ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาโดยกำ หนดนโยบาย กลยุทธ์การบริหารจัดการสถานศึกษาริเริ่มพัฒนา จัดทำ แผนปฏิบัติการที่สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ เรียนดี มีความสุข ของสำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน องค์กรคุณภาพ สร้างคนดี มีความสุขและนโยบาย ของสำ นักงานงานเขตพื้นที่ สพป.อุดรธานี เขต ๑ ต้องเป็นที่ ๑ ภายได้นโยบาย เรียนดี มีความสุข ขับเคลื่อนด้วย ๓ ดี ๔ รู้ สู่ ๓ สุข มาสังเคราะห์และสร้างรูปแบบการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเรียนดี มีความสุข ความสุข โดยใช้ CHOR PORS MODEL ๓.๑.๒. ผลการดำ เนินงาน - ผู้เรียน ร้อยละ ๘๐ มีผลการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษา และตัวชี้วัดด้านคุณภาพ ผู้เรียนในระดับดี - ครู ร้อยละ ๙๐ มีนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก Active Learning ยึดผู้เรียน เป็นสำ คัญ ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุข - โรงเรียนบ้านเชียงพัง รูปแบบ มีเป้าหมายและแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ที่สามารถพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดีคนเก่งและมีความสุข ตามเป้าหมายของหลักสูตรของสถานศึกษา ๓.๒. การบริหารการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรมในสถานศึกษาเพื่อพัฒนาสถานศึกษา ๓.๒.๑. การดำ เนินงานบริหาร การเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรมในสถานศึกษาเพื่อพัฒนา สถานศึกษาใช้เครื่องมือหรือนวัตกรรมพัฒนาคุณภาพการศึกษา เรียนดี มีความสุข โดยใช้ CHOR PORS MODEL นำ สู่ ปฏิบัติการบริหารการเปลี่ยนแปลงเปลี่ยนแปลง และนวัตกรรมในสถานศึกษา เพื่อพัฒนาสถานศึกษา ๓.๒.๒. ผลการดำ เนินงาน - ผู้เรียน ร้อยละ ๘๐ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้น มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตร - ครูร้อยละ ๘๐ มีนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ Active Learning ตามมาตรฐาน ตำ แหน่งและวิทยฐานะนำ ไปใช้ในการพัฒนา ปรับปรุงกระบวนการเรียนรู้ของนักเรียนให้บรรลุตามเป้าหมายหลักสูตร
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ ๖ - โรงเรียนบ้านเชียงพัง มีนวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเรียนดี มีความสุข โดยใช้ CHOR PORSMODEL ด้านที่ ๔ ด้านการบริหารชุมชนและเครือข่าย ๔.๑. การสร้างและพัฒนาเครือข่ายเพื่อการเรียนรู้ ๔.๑.๑. การดำ เนินงาน - สร้างและพัฒนาเครือข่ายเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ แสวงหาเครือข่ายเครือข่ายผู้ ร่วมพัฒนาจากมหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี กองบิน ๒๓ ผู้ปกครองชุมชน ศิษย์เก่า คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน อบต.นากว้าง - มีการประชุมผู้ปกครองนักเรียนคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างน้อย ๑ ครั้งต่อภาคเรียน - ข้าร่วมโครงการครูแดร์ จากสถานีตำ รวจภูธรอำ เภอเมืองเพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เกี่ยวกับยาเสพติดสำ หรับนักเรียนทุกคน ๕ เป็นประจำ ทุกปี -ร่วมกับโรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายเพื่อพัฒนาด้านวิชาการ คุณธรรม จริยธรรม หรือ โครงการอื่นๆ พัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน เช่น การแข่งขันกีฬา ค่ายลูกเสือเนตรนารี การประกวด แข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับ กลุ่มโรงเรียนและระดับเขตพื้นที่การศึกษา ๔.๑.๒. ผลการดำ เนินงาน - ผู้เรียน ร้อยละ ๘๐ มีทักษะวิชาการ ทักษะอาชีพ และทักษะชีวิตประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำ วันได้ - ครูร้อยละ ๘๐ มีภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของนักเรียนให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์ที่สถานศึกษากำ หนด - โรงเรียนบ้านเชียงพัง มีภาคีเครือข่ายผู้ร่วมพัฒนาการเรียนรู้สามารถจัดระบบ การให้บริการในสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพและงบสนับสนุนการศึกษา ๔.๒. การจัดระบบให้บริการในสถานศึกษา ๔.๒.๑. การดำ เนินงานระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาให้บริการด้านวิชาการแก่ชุมชน และงาน จิตอาสาเพื่อสร้างเครือข่ายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษามีการระดมทรัพยากรจากเครือข่ายกลุ่มโรงเรียน ชุมชน ผู้ปกครอง อย่างมีส่วนร่วม เช่น การระดมทุนเพื่อการศึกษา การรับมอบทุนการศึกษาสำ หรับนักเรียนยากจน ทุกปีการ ศึกษา ๔.๒.๒. ผลการดำ เนินงาน - ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ เข้าถึงโอกาสทางการศึกษาอย่างมีคุณภาพ สามารถนำ ความรู้ ทักษะด้านวิชาการ ทักษะชีวิต ทักษะอาชีพและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำ วันได้ - ครูร้อยละ ๙๐มีเครือข่ายให้บริการเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของนักเรียนให้ บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่สถานศึกษากำ หนดได้เต็มตามศักยภาพของผู้เรียน - โรงเรียนบ้านเชียงพัง สามารถช่วยเหลือและให้บริการผู้เรียนทุกคนในสถานศึกษา เพื่อลดภาระผู้ปกครองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ ๗ ด้านที่ ๕ การพัฒนาตนเองและวิชาชีพ ๕.๑. การพัฒนาตนเองและวิชาชีพ ๕.๑.๑. การดำ เนินงานมีการพัฒนาตนเองและวิชาชีพอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องเพื่อให้มี ความรู้ ความสามารถทักษะโดยเฉพาะอย่างยิ่งทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย เพื่อการสื่อสาร ทักษะการใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาสมรรถนะทางวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาเรียนรู้ทุกที่ ทุกเวลา (Anywhere Anytime) ทั้ง ทาง Online และการเข้าร่วมประชุมสัมมนา ด้วยวิธีการที่หลากหลายอย่างต่อเนื่องตลอดปีงบประมาณ ๕.๑.๒. ผลการดำ เนินงาน - ผู้เรียน ร้อยละ ๘๐ มีทักษะการใช้ภาษาไทย ภาษา อังกฤษ เพื่อการสื่อสารและ เทคโนโลยีดิจิทัลระดับดีขึ้นไป - ครู ร้อยละ ๘๐มีนวัตกรรมที่ใช้ในการแก้ปัญหา และพัฒนา ผู้เรียนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ - โรงเรียนบ้านเชียงพัง มีนวัตกรรมเพื่อพัฒนาครูและนักเรียน เป็นโรงเรียนต้นแบบ การประกันคุณภาพระดับห้องเรียนด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning รูปแบบ ๕ E ด้วยกระบวนการชุมชน แห่งการเรียนรู้วิชาชีพ PLC ผสานการสร้างบทเรียนร่วมกัน LS (Lesson Study) ที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน ๕.๒. การนำ ความรู้ ทักษะ ที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการบริหาร จัดการสถานศึกษา ที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนครู สถานศึกษา ๕.๒.๑. การดำ เนินงานนำ ความรู้ทักษะและ นวัตกรรมที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ มาพัฒนาการบริหารจัดการ สถานศึกษา - ริเริ่ม พัฒนา โดยนำ ความรู้ที่ได้จากการพัฒนาตนเอง มากำ หนดรูปแบบในการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาโดยกำ หนดนโยบาย จุดเน้นในการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาอย่างเป็นระบบ สอดคล้องกับนโยบายของระทรวงศึกษาธิการ เรียนดี มีความสุข ของสำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน องค์กรคุณภาพ สร้างคนดี มีความสุขและนโยบายของสำ นักงานงานเขตพื้นที่ สพป.อุดรธานี เขต ๑ ต้องเป็นที่ ๑ ภายได้ นโยบาย เรียนดี มีความสุข ขับเคลื่อนด้วย ๓ดี ๔ รู้ สู่ ๓ สุข มาสังเคราะห์และสร้างรูปแบบการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เรียนดี มีความสุข โดยใช้ CHOR PORS MODEL - ส่งเสริมและพัฒนาให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษานำ ความรู้จากการ พัฒนาตนเองมาพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ ๕.๒.๒. ผลการดำ เนินงาน - ผู้เรียน ร้อยละ ๘๐ผ่านเกณฑ์การประเมินตามมาตฐานการศึกษามีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงขึ้น และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ครูร้อยละ ๙๐ ผ่านเกณฑ์การประเมินบันทึกข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ปฏิบัติ ได้สูงกว่าระดับที่คาดหวัง - โรงเรียนบ้านเชียงพัง ผ่านการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – AssessmentReport : SAR) บรรลุค่าเป้าหมายการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อการ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาที่ระดับดี
ตอนที่ ๒ ระดับความสำ เร็จในการพัฒนางานที่เสนอเป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ครู และสถานศึกษา ประเด็นท้าทาย เรื่องที่ ๑ ส่งเสริมและพํฒนาสมรรถนะครูในการจัดการเรียนการสอนแบบ ๕ E เพื่อยกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน RT NT O-NET โดยใช้รูปแบบ CHOR PORS MODEL ๑. วิธิดำ เนินการ การส่งเสริมและพัฒนาสมรรถนะครูให้สามารถจัดการเรียนการสอนแบบ ๕ E เพื่อยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน O-NET/ NT/ RT โดยใช้รูปแบบ CHOR PORS Model ดังนี้ C = Creative planning : ออกแบบและวางแผนอย่างสร้างสรรค์ H = High Education : สร้างความเป็นเลิศทางวิชาการและทักษะต่าง ๆ O = Objective : กำ หนดเป้าหมาย R = Relationship : สร้างความสัมพันธ์ปฏิบัติตามแบบแผนอย่างมีส่วนร่วม รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ ๘ การขับเคลื่อนนโยบายด้วย ช.พ. โมเดล CHORPORS Model + อริยสัจ 4 การขับเคลื่อนนโยบายด้วย ช.พ. โมเดล CHORPORS Model + อริยสัจ 4
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ ๙ P = Participation :การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย O = Organization culture :วัฒนธรรมองค์กรกับการสร้างสังคมสุจริต R = Reflection System :การสะท้อนผลการปฏิบัติงาน S = Smart :ความเป็นเลิศ C = Creative planning ออกแบบและวางแผนอย่างสร้างสรรค์ ๒. ผลลัพธ์ในการดำ เนินการ ๒.๑. เชิงปริมาณ - ผลการประเมินการอ่านเขียน RT นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๕คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๘๔.๓๓ ปีการศึกษา๒๕๖๖ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๙๖.๖๕ เพิ่มขี้นร้อยละ ๗.๒๓ - ผลการทดสอบ NT ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ปีการศึกษา๒๕๖๕ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๗๔.๔๐ปีการศึกษา ๒๕๖๖ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๗๗.๕๑ เพิ่มขี้นร้อยละ ๓.๑๑ - ครูร้อยละ ๘๐ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้โดยใช้ Active Learning ที่ส่งผล ต่อคุณภาพผู้เรียน ๒.๒. เชิงคุณภาพ - ผู้เรียนมีคุณภาพ มีทักษะ สมรรถนะตามหลักสูตรและมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง ขึ้น - ครูเป็นครูมืออาชีพในการจัดการเรียนรู้โดยใช้ Active Learning - สถานศึกษามี Best Practice มีวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษาระดับคุณภาพ ระดับระดับดีเลิศ
ประเด็นท้าทาย เรื่องที่ ๒ ส่งเสริมและพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อพัฒนาการอ่าน ออก เขียนได้ของนักเรียน ๑. วิธีการดำ เนินการให้บรรลุผล Flow Chart แสดงการส่งเสริมและพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อพัฒนาการอ่าน ออกเขียนได้ของนักเรียน รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ ๑๐
ประเด็นท้าทาย เรื่องที่ ๒ ส่งเสริมและพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อพัฒนาการอ่าน ออก เขียนได้ของนักเรียน ๑. วิธีการดำ เนินการให้บรรลุผล Flow Chart แสดงการส่งเสริมและพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อพัฒนาการอ่าน ออกเขียนได้ของนักเรียน ๑.๑. จัดกลุ่มนักเรียนและครูที่ปรึกษา ประชุมชี้แจงการส่งเสริมและพัฒนาการอ่านออกเขียน ได้ของนักเรียน โดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน แต่งตั้งครูรับผิดชอบ ๑.๒. ศึกษาข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคล เพื่อนำ ข้อมูลนักเรียนมาคัดกรองจัดกลุ่ม ด้วยวิธิการ ทดสอบ ศึกษาข้อมูลผลการเรียนชั้นที่ผ่านมา ออกเยี่ยมบ้านรับทราบปัญหาของนักเรียน ๑.๓. คัดกรองวิเคราะห์ข้อมูลจากระเบียนสะสมและผลการเรียนชั้นที่ผ่านมา จัดกลุ่มนักเรียน ออกเป็นกลุ่ม อ่อน ปลานกลาง เก่ง ๑.๔. จัดกิจกรรมส่งเสริม ดังนี้ ๑.๔.๑. กำ หนดวิธีสอนให้ครูสอนภาษาไทย สอนแบบแจกลูกสะกดคำ โดยยึดหลัก - แจกลูก ฝึกจำ - สะกดคำ ย้ำ วิถี- คัดลายมือ ย้ำ อีกที- เขียนตามคำ บอก ทุก สัปดาห์ - ครูสอนภาษาไทยสอนแบบแจกลูกสะกดคำ ยึดหลัก ๔ ข้อ- แจกลูก ฝึกจำ - สะกดคำ ย้ำ วิถี- คัดลายมือ ย้ำ อีกที- เขียนตามคำ บอก - นำ ชุดฝึกพัฒนาการอ่าน การเขียนมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนควบคู่ หนังสือเรียนปกติ - คัดกรองนักเรียน เยี่ยมบ้าน สอนซ่อมเสริม ๑.๔.๒. ขั้นชี้แนะติดตาม - นิเทศติดตามผลการดำ เนินงานอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ประเมินการอ่าน การเขียนของนักเรียนเป็นระยะๆ ๑.๕. การประชุมผู้ปกครองจัดประชุมผู้ปกครองเพื่อนำ ผลการพัฒนาส่งเสริมการอ่านออก เขียนได้ให้ผู้ปกครองรับทราบ สำ รวจความพึงพอใจของผุ้ปกครองในการจัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการอ่านออกเขียน ได้ของนักเรียน ๑.๖. การวัดและประเมินผล - วัดและประเมินผลการอ่าน การเขียนของนักเรียนภาคเรียนละ 2 ครั้ง - สรุปรายงานผลการจัดการเรียนการสอน ๒. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง ๒.๑. เชิงปริมาณ ๒.๑.๑. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี่ที่ ๑, ๒ อ่านออกเขียนคำ พื้นฐานได้ร้อยละ ๙๐ รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ ๑๑
๒.๑.๒. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี่ที่๓ อ่านออกเขียน ประโยค ข้อความสั้นๆได้ร้อยละ ๘๐ ๒.๑.๓. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ อ่านรู้เรื่องและสื่อสารได้ ร้อยละ ๘๐ ๒.๒. เชิงคุณภาพ - นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี่ที่ ๑ อ่านและเขียนคำ พื้นฐานได้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ อ่าน และเขียนประโยคข้อความสั้นๆ ได้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ อ่านรู้เรื่องและสื่อสารได้ องค์ประกอบที่ ๒ การมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา - ความสำ เร็จของการขับเคลื่อนตามนโยบายของสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑ นโยบายเรียนดี มีความสุข เด็กอุดร ๑ ต้องเป็นที่ ๑ โรงเรียนได้ขับเคลื่อนตามนโยบายของสำ นักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษาอุดรธานีเขต ๑ ทุกนโยบาย โดยใช้โมเดล CHORPORS Model ในการขับเคลื่อน ผลลัพธ์ในการดำ เนินการ (ตามเอกสารที่แนบในภาคผนวก) องค์ประกอบที่ ๓ การประเมินการปฏิบัติตนในการรักษาวินัย คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ปฏิบัติตนในการรักษาวินัย คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ไม่เคยถูกลงโทษทางวินัย รักษา วินัย คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพครู รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ ๑๒
ภาคผนวก รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา นายไพบูลย์ นนทะบุตร ตำ แหน่งผู้อำ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำ นวยการชำ นาญการพิเศษ