แลดะอาวิรวชากาศโาลาศสกวต3ร์1261
ธรณีพิบัติภัย
หน่วยการเรียรรู้ที่ 3
เสนอ จัดทำโดย
กฤษณพคุนณทคับรูประโคน
นางสาว รวิภา แก้วใจ
เลขที่14 ม.4/1
การระเบิดของภูเขาไฟ
เนื่องจากใต้ชั้นเปลือกโลกมีหินหนืดที่ร้อนจัดไหลเวียนอยู่ตลอดเวลา เมื่อมีรอย
แยกในหินเปลือกโลก หินหนืดจังดันตัวออกมาตามรอยแยก และด้วยแรงอัดของ
แก๊สที่สะสมความดันไว้ในแมกมา ทำให้แมกมาดันตัวผ่านเปลือกโลก จึงทำให้เกิด
(Volcanic eruption) ภูเขาไฟระเบิด.
ภูเขาไฟมักเกิดขึ้นตามแนวขอบเปลือกโลก ตามแนวเทือกเขาริมฝั่งมหาสมุทรบริเวณรอบๆ
มหาสมุทรแปซิฟิกมีภูเขาไฟจำนวนมาก จนถูกขนานนามว่า "วงแหวนแห่งไฟ" Ring of fire มีลักษณะเป็นเส้น
เกือกม้า ความยาวรวม ประมาณ 40,000 กิโลเมตร
และวางตัวตามแนวร่องสมุทร แนวภูเขาไฟและบริเวณ
ขอบแผ่น เปลือกโลก โดยภูเขาไฟที่ตั้งอยู่ภายในวงแหวน
แห่งไฟทั้งหมด 452 ลูก และเป็นพื้นที่ที่มีภูเขาไฟคุกรุ่นอยู่
กว่า 75% มีประเทศที่อยู่ในพื้นที่ “วงแหวนแห่งไฟ”
ทั้งหมด 31 ประเทศ ได้แก่ เบลีซ คิริบาตี โบลิเวีย เม็กซิโก
บราซิล นิวซีแลนด์ แคนาดา นิการากัว โคลัมเบีย ปาเลา
ชิลี ปาปัวนิวกีนี ฯลฯ
"วงแหวนแห่งไฟ" Ring of fire
ปากปล่องภูเขาไฟ แก๊สต่างๆ ได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์
กรวยปะทุย่อย ไนโตรเจนออกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
และไอน้ำ
ลาวา (lava) คือหินหนืดที่ดันตัวออกมา มีอุณหภูมิประมาณ 900-
1300 องศาเซลเซียส โดยการไหลของลาวาจะขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ
ต่างๆ หากมีแก๊สมากก็จะไหลได้มาก หากมีน้อยก็ไหลก็จะน้อยและช้าลง
หินหนืดแทรกขึ้นตามรอยแยกของหิน
การไหลเวียนของหินหนืดในชั้นเนื้อโลก
การไหลของลาวาทำให้ เกิดแรงสั่นสะเทือน อาจกีดขวางทางน้ำ
สภาพแวดล้อมเปลี่ยน ส่งผลให้เกิดแผ่นดิน ส่งผลให้เกิดน้ำท่วม
ไหว
เกิดแก๊สต่างๆ หากเกิดใต้มหาสมุทร ผลกระทบจากภูเขาไฟระเบิด
ทำให้เกิดมลพิษ อาจทำให้เกิดสึนามิ
ทางอากาศ โทษของภูเขาไฟระเบิด
เกิดคลื่นสึนามิ
ประโยชน์ของภูเขาไฟระเบิด มีควันและแก๊สที่อันตรายต่อชีวิต
เกิดแผ่นดินไหว
เกิดเกาะใหม่ขึ้น เกิดการสูญเสีย
แผ่นดินขยายกว้างขึ้น สภาพอากาศเปลี่ยนแปลง
เป็นแหล่งเกิดน้ำพุร้อน
ดินมีความอุดมสมบูรณ์ด้วยแร่ธาตุ
ไม่ควรหลบอยู่ในอาคารอาจ เตรียมเสบียง ยารักษาโรค เสื้อผ้า เครื่องใช้ สวมใส่หน้ากากอนามัย และ
เกิดการถล่ม ควรหาสถานที่ สื่อสารและอื่นๆที่มีความจำเป็น แว่นตาเพื่อป้องกันเถ้าภูเขาไฟ
หลบภัยและรวมตัวกัน
ขับรถด้วยความระมัดระวัง
รับฟังข่าวเตือนภัยที่ออกโดยหน่วย เมื่อประกาศให้อพยบ
สังเกตการณ์สภาพอากาศ ควรรีบอพยบโดยด่วน
แนวทางการเฝ้าระวังและการปฏิบัติตนให้
ปลอดภัยจากภูเขาไฟระเบิด
(Earthquake) แผ่นดินไหว
เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดจากธรรมชาติและการกระทำของมนุษย์ ทำให้พลังงาน
ศักย์ที่สะสมปล่อยออกมาเป็นพลังงานจลน์ในรูปของคลื่นไหวสะเทือน ซึ่งถ่ายทอด
พลังงานต่อไปยังมวลหินที่อยู่ติดกัน
เปลือกโลกภาคพื้นทวีปเคลื่อนที่แยกจากกัน
เปลือกโลกภาคพื้นทวีปเคลื่อนที่ชนนกัน
คลื่นไหวสะเทือน (Seismic เปลือกโลกภาคพื้นทวีปเคลื่อนที่ชนกับเปลือกโลกภาค
waves) คลื่นความถี่ต่ำที่ พื้นสมุทร
ถ่ายทอดพลังงานผ่านชั้น
เปลือกโลกภาคพื้นมหาสมุทรเคลื่อนที่แยก
หิน จากกัน
เปลือกโลก
จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว เคลื่อนที่สวน
(Epicenter) จุดที่อยู่บริเวณผิวโลก ทางกัน
ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว (focus) มักเกิดตาม
รอยเลื่อนในระดับความลึกต่างๆ จากผิวโลก
สาเหตุแผ่นดินไหวจากธรรมชาติ สาเหตุแผ่นดินไหวจากมนุษย์
การปะทุของภูเขาไฟ การสร้างเขื่อน อ่างเก็บน้ำ
การพุ่งชนของอุ กกาบาต การทำเหมือง
เกิดหลุมยุบ การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ใต้ดิน
แผ่นดินถล่ม
การสูบน้ำใต้ดิน
ขนาดของแผ่นดินไหว (Earthquake magnitude) หมายถึง ปริมาณพลังงานที่ถูกปล่อยออกมาจากจุดศูนย์กลาง
การเกิดแผ่นดินไหวในรูปคลื่นไหวสะเทือน สามารถตรวจวัดได้ด้วยเครื่องวัดความไหวสะเทือน(seismograph) ที่ติดตั้งไว้ที่
สถานีตรวจวัดแผ่นดินไหว แล้วแสดงผลเป็นกราฟเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล โดยมาตรวัดขนาดของแผ่นดินไหว มีดังนี้
1. มาตราริกเตอร์ Richter เป็นการกำหนดตัวเลขเพื่อบอก
ปริมาณของพลังงานแผ่นดินไหวที่ปลดปล่อยออกมาจากแผ่นดินไหว
ครั้งหนึ่ง ซึ่งสามารถคำนวณได้จากแอมพลิจูดการสั่น มาตรานี้ไม่มีค่า
สูงสุด แต่โดยทั่วไปวัดขนาดได้ที่ 0-3 เช่น แผ่นดินไหวขนาด 5.0
ตามมาตราริกเตอร์
2. มาตราโมเมนต์แผ่นดินไหว moment magnitude scale มีวิธีคำนวณ
หาขนาดของแผ่นดินไหวจากพื้นที่การเลื่อนตัวของ รอยเลื่อนและสมบัติของหิน
ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์แผ่นดินไหว และรายงานขนาดแผ่นดินไหว เป็นตัวเลข
เช่น แผ่นดินไหวขนาด 5.0 ตามมาตราโมเมนต์แผ่นดินไหว
ขนาดและความรุนแรงของแผ่นดินไหว ความรุนแรงของแผ่นดินไหว
(earthquake intensity)
หมายถึง การสั่นสะเทือนโดย
บอกระดับความรุนแรงจาก
ลักษณะการสั่นสะเทือนความเสีย
หายต่อมนุษย์ และ สิ่งปลูกสร้าง
เมื่อเกิดแผ่นดินไหว นิยมใช้บอก
ตามมาตราเมอร์คัลลีที่ปรับปรุง
แล้ว (modified mercalli
scale) มีระดับความรุนแรง 12
ระดับ ดังตาราง
คลื่นไหวสะเทือน (seismic waves) หรือคลื่นแผ่นดินไหว (earthquake waves) เป็นคลื่นที่มีความถี่ต่ำซึ่งถ่ายทอด
พลังงานผ่านชั้นหินภายในโลก แบ่งตามลักษณะการเคลื่อนที่ของคลื่นออกเป็น 2ประเภท ได้แก่ คลื่นในตัวกลาง และคลื่น
พื้นผิว
2. คลื่นพื้นผิว(Surface Waves)
หมายถึงคลื่นที่เคลื่อนที่ไปตามพื้น
ผิวของโลก คลื่นชนิดนี้อาจมีผลก
ระทบต่อสิ่งปลูกสร้างเมื่อเกิดแผ่น
ดินไหว
1. คลื่นตัวกลาง(Body Waves) หมายถึงคลื่นที่เคลื่อนที่ผ่านเนื้อของตัวกลาง ซึ่งตัวกลางในที่นี้คือเนื้อโลกนั่นเอง
คลื่นประเภทนี้แบ่งได้อีก 2 ชนิด คือ
1.1 คลื่นปฐมภูมิ (Primary Wave หรือ P-Wave) เป็นคลื่นที่ทำให้ตัวกลางที่คลื่นเดินทางผ่านถูกอัดและขยายใน
ทิศทางเดียวกันกับคลื่น
1.2 คลื่นทุติยภูมิ (Secondary Wave หรือ S-Wave) เป็นคลื่นที่ทำให้ตัวกลางเกิดการเคลื่อนที่ตั้งฉากกับ
ทิศทางของคลื่นคล้ายการสะบัดเชือก
แผ่นดินไหวก่อให้เกิดคลื่นไหวสะเทือน
หลายชนิด ซึ่งนักวิทยาศาสตร์สามารถ
ใช้ผลต่างของระยะเวลาที่คลื่นใช้เดินทาง
มายังเครื่องรับ เพื่ระบุพิกัดขอศูนย์กลาง
การเกิดแผ่นดินไหว
จากการที่คลื่นไหวสะเทือนที่เคลื่อนที่ผ่านโครงสร้างภายในโลกที่มีความหนาแน่น
แตกต่างกันทํให้คลื่นไหวสะเทือนเกิด การหักเหและอัตราเร็วของคลื่น เกิดการ
เปลี่ยนแปลง โดยเหตุนี้ทำให้ บางบริเวณไม่มีคลื่นไหวสะเทือนเคลื่อนที่ผ่าน ซึ่งเป็น
บริเวณที่อยู่ระหว่างมุม 100-140 องศา วัดจากจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวตาม
เส้นรอบวงของโลก โดยบริเวณนี้เรียกว่า เขตอับ (shadow Zone) หรือเขตปลอด
คลื่น S และ D
สึนามิ
สึนามิ คือ คลื่นทะเลที่มีความยาวคลื่นมากกว่า หรือเท่ากับ 10 กิโลเมตร
เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 500 ถึง 1,000 กิโลเมตรต่อชั่วโมงเมื่ออยู่บริเวณกลาง
ทะเล แต่เมื่อเข้าใกล้บริเวณชายฝั่งคลื่นจะมีความเร็วลดลง และก่อตัวสูงขึ้น โดย
(tsunami) อาจมีความสูงมากกว่า 30 เมตร
คลื่นในบริเวณทะเลลึกจะมีความสูง ไม่มาก แต่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง
คลื่นบริเวณใกล้ชายฝั่งมีความสูงมาก แต่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วต่ำ
แผ่นเปลือกโลกใต้ทะเล
เลื่อนตัวอย่างรวดเร็ว
และรุนแรงทำให้พื้นทะเล เกิดคลื่นแผ่กระจายจากจุดกําเนิด คลื่นซัดเข้าสู่ชายฝั่ง สร้างความ
เปลี่ยนแปลงระดับ เสียหาย เป็นบริเวณกว้าง
สาเหตุที่ทำให้เกิดสึนามิ ออกไปยังทุกทิศทาง
2. สนามไร้แผ่นดินไหว (non-scismic tsunami) แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
1) ชนิดที่เกิดจากปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ มีดังนี้ การเกิดแผ่นดิน
ถล่มขนาดใหญ่ใกล้ชายฝั่งทะเล การปะทุอย่างรุนแรงของภูเขาไฟใต้ทะเลหรือ
บนเกาะในทะเล
2) ชนิดที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ ได้แก่ ระเบิดปรมาณูที่เกาะบิกินี
กลางมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งผลกระทบจากการทดลองนั้น ทําให้เกิดความสั่น
สะเทือนของพื้นน่าแล้วทําให้เกิดสึนามิ
1. สนามิจากแผ่นดินไหว (seismic tsunami) เป็นผลมาจากการเกิดแผ่นดินไหวในระดับที่รุนแรงโดยมีจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวอยู่ใต้
พื้นท้องมหาสมุทรหรือที่บริเวณใกล้ชายฝั่งทะเล และมีพลังงานตั้งแต่ 6 ริกเตอร์ขึ้นไป และมีการไหวตัวในแนวดิ่ง
แนวปฏิบัติเมื่อเกิดสึนามิ
หากได้รับสัญญาณเตือนภัย สนามิให้ หากเห็นระดับน้ำทะเล ลดลงผิดปกติ หากเรืออยู่ในทะเล ให้นำเรือไปอยู่
รีบออกจากพื้นที่ เสี่ยงภัยทันที ให้อพยพ ไปอยู่ที่สูง บริเวณกลางทะเลที่มีระดับน้ำลึก
แนวทางป้องกันภัยสึนามิ
หลีกเลี่ยงการก่อสร้าง อาคารบ้าน ศึกษาวิธีการป้องกัน และ ติดตามข่าวสารภัยพิบัติจาก
เรือนบริเวณ พื้นที่เสี่ยงภัย บรรเทาภัยจาก สึนามิ แหล่งต่าง ๆ อย่างสม่ำเสมอ