The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระพุทธศาสนาในภาคใต้ โดย นายภัทรพงศ์ นิโลบล ชั้นปีที่ 2 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ รหัสนักศึกษา 6410440231006 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน(จังหวัดขอนแก่น)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Phatphong2545, 2022-09-15 10:21:05

พระพุทธศาสนาในภาคใต้

พระพุทธศาสนาในภาคใต้ โดย นายภัทรพงศ์ นิโลบล ชั้นปีที่ 2 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ รหัสนักศึกษา 6410440231006 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน(จังหวัดขอนแก่น)

พุทธศาสนานกิ ายหลกั
เร่อื ง พระพทุ ธศาสนาในภาคใต้

นายภัทรพงศ์ นิโลบล
รหัสนักศึกษา ๖๔๑๐๔๔๐๒๓๑๐๐๖
คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาวิชาการสอนภาษาองั กฤษ

เสนอ

ดร.ประชัน ชะชกิ ุล

ช้นิ งานน้เี ป็นสว่ นหนง่ึ ของ
รายวชิ า BU ๕๐๐๕ พระพุทธศาสนานิกายหลัก
มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตอีสาน



คำนำ

หนังสอื เล่มนจี้ ัดทำขึน้ เพื่อเป็นส่วนหน่งึ ของวิชา BU ๕๐๐๕ พระพุทธศาสนานิกายหลกั เพื่อให้
ข้อมูลประกอบการศกึ ษาหาความรใู้ นเร่อื งประวตั แิ ละความเปน็ มาของนกิ ายวชั รยาน (ลัทธพิ ุทธตนั ตระ)
และนกิ ายเถรวาทแบบลงั กาวงศ์ จากพุทธศตวรรษท่ี ๑๓ ถึง ปจั จบุ ัน และบทบาทความสำคัญในประเทศ
ไทย โดยรายงานเลม่ น้ีมเี น้ือหาเก่ียวกับการประวตั ิและความเป็นมาของพระพุทธศาสนา นิกายวชั รยาน
(ลัทธิพุทธตนั ตระ) และนิกายเถรวาทแบบลงั กาวงศ์ จากพุทธศตวรรษท่ี ๑๓ ถงึ ปัจจบุ ัน

ผ้จู ดั ทำคาดหวงั เปน็ อยา่ งยิ่งว่ารายงานเลม่ นจี้ ะมขี ้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผอู้ า่ น นกั ศกึ ษา
นักเรียน หรือผู้ท่ีมีความสนใจในด้านประวัตแิ ละความเปน็ มาของพระพุทธศาสนาในภาคใต้ นกิ าย
นิกายวัชรยาน (ลัทธิพทุ ธตนั ตระ) และเถรวาทแบบลังกาวงศ์ จากพุทธศตวรรษที่ ๑๓ ถงึ ปัจจบุ ัน และ
บทบาทความสำคัญในประเทศไทย

ผ้จู ดั ทำ
ภทั รพงศ์ นิโลบล
(นายภัทรพงศ์ นโิ ลบล )
วันท่ี ๘ สงิ หาคม พ.ศ.๒๕๖๕

สารบัญ ข

เรือ่ ง หน้า

มาจากไหน ใครเอามา ๑
มีลักษณะอยา่ งไร ๒
บนั ทึกในอะไร ๓
ความโดดเด่น ๖
เลอื กเพราะอะไร ๖



พระพทุ ธศาสนาในภาคใต้

มาจากไหน ใครเอามา

ระยะแรกนน้ั ปรากฏร่องรอยอิทธิพลจากแถบรัฐอานธรประเทศ บรเิ วณลุ่มแมน่ ำ้ กฤษณา และ
แมน่ ำ้ โคทาวารี ของประเทศอินเดยี ดั่งพบพระพุทธรูปในแบบศิลปะอมาราวดี ในบริเวณทีม่ คี วามรุ่งเร่ือง
ของนิกายมหาสังฆกิ ะของพระพุทธศาสนานิกายมหายาน ในเวลาต่อมาด้วยเปน็ นิกายที่เร่ิมบชู า
พระพุทธเจา้ มคี วามเชื่อแบบโลกุตระ

พ.ศ. ๑๓๐๐ กษัตริย์แห่งศรีวิชัย ในเกาะสมุ าตราเรืองอาํ นาจ แผ่อาณาเขตเขา้ มาถึงจังหวัดสุ
ราษฎรธ์ านี กษัตรยิ ์ศรวี ิชัยทรงนบั ถือพระพุทธศาสนาฝา่ ยมหายาน จงึ ทาํ ใหพ้ ระพุทธศาสนาฝา่ ยมหายาน
เผยแพรเ่ ขา้ มาในภาคใต้ของประเทศไทย ที่อยูใ่ นอาณาจักรของพระองค์ ดงั มเี จดีย์พระธาตไุ ชยาและพระ
มหาธาตุนครศรธี รรมราชเปน็ ประจกั ษ์พยานถึงบัดนี้

ตอ่ มาอิทธิพลสมยั ราชวงศ์คุปตะและสมยั หลังราชวงศค์ ุปตะเรมิ่ ปรากฏขน้ึ เชน่ เดียวกบั แบบ
ทวารวดี พุทธศลิ ปแ์ บบศรวี ิชัยได้แสดงพทุ ธศาสนานิกายมหายาน นิกายวชั รยาณ ด้วยราชวงศไ์ ศ
เลนทร์ ได้มีการติดตอ่ กบั ราชวงศ์ปาละ แถบรฐั พหิ ารและรัฐเบงกอลของอินเดีย จึงปรากฏนิกายตนั ตระ
มีการปรับตวั เพ่ือแข่งขนั กบั ศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู

ในชว่ งปลายพทุ ธศตวรรษที่ ๑๘ บรเิ วณภาคใต้ตอนบน โดยเฉพาะจงั หวัดนครศรีธรรมราช ไดม้ ี
การเปลี่ยนแปลงครงั้ ใหญ่โดยเปลี่ยนจากนิกายมหายาน มาเปน็ นกิ ายเถรวาทลังกาวงศ์ ด้วยอาณาจกั ร
ลังกา ไดท้ ำการสงั คายนาและรวบรวมนกิ ายทางพระพทุ ธศาสนาเข้าเปน็ หนง่ึ เดียวกัน การฟ้ืนฟู้ในครั้งน้ี
สร้างความเล่อื มใสให้กับดินแดนสุวรรณภมู ิ พวกพระภิกษุไทยซ่งึ ได้ไปบวชแปลง ณ เมืองลงั กากลับมาต้งั
คณะทีเ่ มืองนครศรีธรรมราชก่อนแลว้ ชักชวนพระสงฆช์ าวลังกาตามมาช่วยกนั สร้างพระมหาธาตุท่เี มือง
นครศรีธรรมราชแปลงเป็นรปู พระสถปู อยา่ งลงั กา โดยเฉพาะพระเจ้าจนั ทรภาณุศรีธรรมราช ทรงศรทั ธา
หลักทศพิราชธรรม โดยการเจริญสมั พนั ธไมตรีกับอาณาจักรลงั กา และหย่งั รากลึกตราบมาจนถึงทกุ วนั น้ี



มลี ักษณะอย่างไร

นกิ ายวัชรยานเปน็ ชอื่ หนึง่ ของลทั ธิพุทธตนั ตระ การเข้าถึงธรรมชาติแห่งวชั ระก็คือการเข้าถึง
ธรรมชาติแห่งสุญญตา ตนั ตระเป็นวชั รยาน คือ พาหะอนั เป็นเพชร มุ่งไปท่อี นั ติมสัจจะคือสญั ญ ตา
ลกั ษณะเฉพาะท่ีสำคญั ของวชั รยานคอื ความลี้ลบั เนน้ การสวดมนต์ ใช้มนต์ การเสียสละตน

นกิ ายเถรวาทแบบลังกาวงศ์ มีทัศนะที่วา่ พระพุทธเจ้าไม่ใชเ่ ทวดาหรอื พระเจา้ แต่เปน็ มนุษยท์ ่มี ี
ศักยภาพเหมอื นสามัญชนท่ัวไป สามารถบรรลุสจั ธรรมไดด้ ้วยความวิริยะอุตสาหะ เปน็ แบบอยา่ งท่ีดีของ
พทุ ธศาสนกิ ชนท่ีจะต้องดำเนินตามรอยพระบาท คำสอนของพระพทุ ธองคไ์ มใ่ ช่สงิ่ รีล้ ับท่ียากเกินกว่าจะ
เข้าใจ แตเ่ ปน็ หลักปฏบิ ตั ิในชวี ติ ทที่ กุ คนควรกระทำ คือ ทำความดลี ะเว้นความช่วั ทำจิตใจใหผ้ ่องแผว้
และการทีเ่ ราจะทำสิ่งเหลา่ น้ไี ดน้ น้ั จะต้องมีศลี สมาธิ ปญั ญา เพื่อเปน็ พาหนะนำผโู้ ดยสารขา้ มทะเลแหง่
วัฏฏสงสารไปสู่พระนิพพาน

นกิ ายวัชรยาน
(ลทั ธิพุทธตนั ตระ)

พ.ศ. ๑๓๐๐ - ๑๘๐๐

นิกายเถรวาท
(แบบลงั กาวงศ)์

พ.ศ. ๑๘๐๐ - ปัจจุบัน



บันทกึ ในอะไร

หลกั ฐานทางโบราณคดีท่ีเปน็ ลายลักษณ์อักษร ทีป่ รากฏในจังหวดั นครศรีธรรมราช และจังหวดั
สุราษฏรธ์ านี ได้แก่

จารึกวัดมเหยงค์ (รา้ ง)
เน่อื งจากจารึกหลักน้สี ว่ นตน้ และสว่ น
ปลายหกั หายไป คงเหลอื แต่ส่วนกลาง
ดังนน้ั เนอ้ื หาของเร่ืองในจารึกจึงขาดไป
เป็นช่วงๆ ไม่ติดต่อกัน สรปุ ได้เพียงส้ันๆ
วา่ เปน็ คำกลา่ วถึงระเบยี บ หรือแบบแผน
ในการปฏิบัติธรรมอย่างใดอย่างหน่งึ

จารกึ วดั มหาธาตวุ รมหาวิหาร
เป็นคำจารึกทีฐ่ านของรูปเคารพอย่าง
หนงึ่ ซง่ึ ไม่ทราบว่าเป็นพระพุทธรูป หรอื
เทวรูป โดยกล่าวยกย่องผสู้ รา้ งรูปเคารพ

น้ี



จารกึ วัดเสมาเมือง
ด้านท่ี ๑ เนื้อความตอนตน้ เป็นการ
สรรเสริญความยิง่ ใหญ่ของพระเจ้ากรงุ
ศรีวิชัย ชว่ งต่อมากล่าวถงึ พระบรมราช
โองการให้พระเถระนามว่าชยันตะ สร้าง
ปราสาทอิฐ ๓ หลัง เพ่อื ถวายใหเ้ ปน็ ที่
ประทบั แด่พระมนษุ ยพุทธ พระโพธิสตั ว์
ปทั มปาณี และ พระโพธสิ ัตวว์ ัชรปาณี
ตอ่ มาเม่ือชยันตเถระมรณภาพ ลูกศิษย์
ของทา่ นคืออธิมุกตเิ ถระ ได้สร้าง
ปราสาทอิฐขนึ้ อีก ๒ หลัง ใกล้ๆ กนั ส่วน
ด้านที่ ๒ น้นั กล่าวว่า พระเจ้ากรุงศรี
วชิ ยั พระองคน์ ี้ พระนามว่า “ศรมี หา
ราชา” เปน็ มหากษัตรยิ ใ์ นไศเลนทรวงศ์
ยง่ิ ใหญ่เหนือกษัตริย์ทัง้ ปวง เปรยี บได้ด่ัง

พระวิษณุองคท์ ่ี ๒

จารกึ ฐานพระพุทธรูปนาคปรก
กล่าวถึงเจ้าเมืองครหิ ได้รบั พระราช
โองการจากพระเจ้าศรมี ัตไตรโลกยราช
ภษู นวรรมเทวะใหห้ ลอ่ พระพุทธรูปนี้เม่ือ

พ.ศ. ๑๗๒๖



จารกึ วดั หวั เวยี ง จงั หวดั สุราษฏรธ์ านี
กล่าวถงึ พระเจ้าจนั ทรภานุศรีธรรมราช
ผูค้ รองเมืองตามพรลิงค์ และสืบตระกลู

จากปทมุ วงศ์ วา่ ทรงเป็นกษัตริยท์ ่ี
สนบั สนนุ พระพุทธศาสนา ทรงมรี ูปงาม

และทรงเช่ียวชาญในนติ ศิ าสตร์

จารึกโพธล์ิ ังกา วัดธาตวุ รมหาวิหาร
บรรยายถึงความสง่างามของพญานาค ๒

ตัวที่กำลงั แสดงความเคารพต่อพระ
อาทิตย์ และมีการกล่าวถึงภาพบ้านเมือง

ทอ่ี ย่ใู นเบ้ืองซ้าย



ความโดดเด่น

เปน็ การผสมผสานประวัติศาสตร์ของ ๔ อาณาจกั รนับต้งั แต่ตั้งอาณาจักรศรวี ิชยั -อาณาจักร
นครศรธี รรมราช โดยบรรดากษัตริย์ทรงอปุ ถัมภ์พระพุทธศาสนา และดำรงตนในหลกั ทศพริ าชธรรม

เลือกเพราะอะไร

เพราะพระพุทธศาสนาในภาคใต้มีความเป็นมารอ่ งรอยพระพทุ ธศาสนาท่เี กา่ แกท่ ีส่ ดุ ที่เข้ามาเผย
แผ่ทางภาคใต้ของไทย ปรากฎหลักฐานทางพระพุทธศาสนาในหลากหลายลทั ธนิ ิกายที่แตกต่างกันไปใน
แต่ละช่วงเวลา และเจรญิ เคียงคูก่ นั มากบั ศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู ซง่ึ อิทธิพลกับการเผยแพร่
พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทลัทธลิ ังกาวงศ์ ในอาณาจกั รสุโขทัย-อยุธยา เนือ่ งจากกษัตริยแ์ ควน้
นครศรีธรรมราชไดส้ ง่ และอญั เชญิ พระสงฆจ์ ากลังกาวงศ์เข้ามาเผยแพร่ โดยมีการเจรญิ สัมพันธไมตรี
เรอื่ ยมาจนถึงปจั จุบนั



บรรณานกุ รม

กรมศิลปากร : พระพุทธศาสนาในภาคใต้. จาก https://is.gd/xwITg2
สืบค้นเมอ่ื วันท่ี ๘ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๕

พระพทุ ธศาสนาในอาเซีย : พุทธศาสนาในภาคใต้. จาก https://is.gd/upK6Un
สืบค้นเม่ือวนั ท่ี ๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๕

มหาวทิ ยาลัยศิลปากร : ร่องรอยของคติพทุ ธศาสนานกิ ายมหายานในจังหวดั นครศรีธรรมราชกอ่ นพุทธ
ศตวรรษที่ ๑๙ : ๒๕๕๔. จาก บัณฑติ วทิ ยาลัย วิทยานพิ นธ์ของ นางสาวมณศ์ฑิชา โมสาลียานนท์,
ภาควิชาโบราณคดี สาขาวชิ าโบราณคดี สมัยประวตั สิ มัยประวัติศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

สืบค้นเมื่อวนั ที่ ๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๕
ศาสตราจารย์ ดร.ศักดช์ิ ัย สายสงิ ห์: พุทธศลิ ปไ์ ทยในอาเซียน, ๒๕๖๓. จาก หนังสอื อิเล็กทรอนกิ ส์
Google Books เร่ือง พุทธศิลปไ์ ทยในอาเซียน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์ชัย สายสงิ ห์

สืบคน้ เมอื่ วนั ท่ี ๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๕


Click to View FlipBook Version