The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนชลประทานวิทยาสำนึกใน
พระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าล้นกระหม่อมหาที่สุดมิได้ จึงจัดพิมพ์หนังสือ “พระบาทสมเด็จพระ
ปรมินทรหมาภูมิพลอดุลยเดช” โดยบันทึกพระราชประวัติ และพระราชกรณียกิจในด้านต่างๆ
ตลอดการครองสิริราชสมบัติ ๗๐ ปี พร้อมพระบรมฉายาลักษณ์เพื่อเป็นกตัญญุตาบูชาถวายราช
สักการะ และเผยแผ่พระเกียรติคุณอันล้ำเลิศให้ขจรขจายแผ่ไพศาลไปทั่วโลก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tossawattosua, 2021-12-02 00:19:59

พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนชลประทานวิทยาสำนึกใน
พระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าล้นกระหม่อมหาที่สุดมิได้ จึงจัดพิมพ์หนังสือ “พระบาทสมเด็จพระ
ปรมินทรหมาภูมิพลอดุลยเดช” โดยบันทึกพระราชประวัติ และพระราชกรณียกิจในด้านต่างๆ
ตลอดการครองสิริราชสมบัติ ๗๐ ปี พร้อมพระบรมฉายาลักษณ์เพื่อเป็นกตัญญุตาบูชาถวายราช
สักการะ และเผยแผ่พระเกียรติคุณอันล้ำเลิศให้ขจรขจายแผ่ไพศาลไปทั่วโลก

พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร
มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราชบรมนาถบพติ ร



ทรงสถิตในดวงใจไทยนิรนั ดร์

คำนำ

พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหติ ลาธิเบศรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร
สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๙ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ เป็น
พระมหากษัตริย์ที่ทรงตั้งมั่นอยู่ในทศพิธราชธรรมอย่างแน่วแน่ ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจ
นานัปการ เพื่อความกินดี อยู่ ดีและคุณภาพชีวิตที่ดีของพสกนิกร และความเจริญรุ่งเรืองอย่าง
ยั่งยืนของประเทศชาติ พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสที่ประทานไว้ในโอกาสต่างๆ ล้วน
แล้วแต่เป็นแนวทางในการดำรงชีวิตบนความพอเพียง พอดี และมีภูมิคุ้มกันแก่ชีวิต และเพื่อให้
อาณาประชาราษฎร์ได้อยู่อย่างร่มเย็นเป็นสุข นับเป็นบุญของปวงชนชาวไทยทั้งหลายที่ได้เกิดมา
ภายใต้ร่มพระบารมีของพระมหากษัตริย์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ที่มีสายพระเนตรยาวไกลและ
มีพระราชจริยาวตั รอันงดงาม ทรงเป็นศูนย์รวมใจของชาวไทยทั้งชาติ พสกนิกรไทยตา่ งจงรักภักดี
เคารพ เทิดทูนไว้เปน็ พ่อแหง่ แผ่นดนิ และสถิตแนบแน่นในดวงใจปวงชนชาวไทยชั่วนิรันดร์ เม่ือศุภ
สมัยสำคัญเนื่องในพระองค์เวียนมาทุกครั้ง พสกนิกรทุกหมู่เหล่าต่างสมานฉันท์จัดกิจกรรมเฉลิม
พระเกียรติแสดงความจงรักภักดีโดยพร้อมเพียงภิญโญยิ่งเสมอมา ด้วยสำนึกในพระมหา
กรุณาธคิ ุณอย่างหาท่ีสุดมไิ ด้

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนชลประทานวิทยา สำนึก
ในพระมหากรุณาธิคุณลน้ เกล้าลน้ กระหมอ่ มหาที่สุดมิได้ จงึ จัดพมิ พ์หนังสือ “พระบาทสมเด็จพระ
ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช” โดยบันทึกพระราชประวัติ และพระราชกรณียกิจในด้านต่างๆ
ตลอดการครองสิริราชสมบัติ ๗๐ ปี พร้อมพระบรมฉายาลักษณ์เพื่อเป็นกตัญญุตาบูชาถวายราช
สักการะ และเผยแพรพ่ ระเกียรติคณุ อันล้ำเลิศให้ขจรขจายแผ่ไพศาลไปทวั่ โลก

คณะผูจ้ ดั ทำ
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

โรงเรียนชลประทานวทิ ยา

พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร
มหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราชบรมนาถบพติ ร

\

พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชสมภพในราชสกุล
มหดิ ลอันเปน็ สายหนง่ึ ในราชวงศจ์ กั รี ณ โรงพยาบาลเมาตอ์ อเบิรน์ เมอื งเคมบรดิ จ์ รฐั แมสซาชูเซตส์
สหรัฐอเมริก อันเป็นที่ซึ่งพระบรมราชชนกและพระบรมราชชนนีกำลังทรงศึกษาวิชาการอยู่ เมื่อวันจันทร์
เดือนอา้ ย ข้ึน ๑๒ ค่ำ ปเี ถาะ นพศก จุลศกั ราช ๑๒๘๙ ตรงกับวนั ท่ี ๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๓๗๐

พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นพระโอรสองค์ที่สามในสมเด็จ
เจ้าฟา้ มหดิ ลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหติ ลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
ในกาลต่อมา) และหมอ่ มสงั วาลย์ มหิดล ณ อยธุ ยา (สกลุ เดมิ ตะละภัฎ, สมเด็จพระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี
ในกาลต่อมา) มีพระนามเมื่อแรกประสูติอันปรากฏในสูติบัตรว่า “เบบี สงขลา” ต่อมาคือ พระวรวงศ์เธอ
พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช ๒
พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และ
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนาม
เรยี กพระองค์เปน็ การลำลองว่า “เลก็ ”





ทรงประกอบพระราชพิธรี าชาภิเษกสมรสกับหมอ่ มราชวงศส์ ริ ิกติ ์ิ กติ ิยากร เมือ่ วันท่ี ๒๘ เมษายน
พทุ ธศกั ราช ๒๔๙๓ แล้วสถาปนาเปน็ สมเด็จพระราชินี ตอ่ มาสถาปนาเปน็ สมเด็จพระนางเจา้ ฯ พระบรม
ราชินี พระบรมราชนิ นี าถตามลำดับ

ทรงรบั การพระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก เมื่อวนั ที่ ๕ พฤษภาคม พุทธศกั ราช ๒๔๙๓ พระราชทานพระ
บรมราชโองการแกป่ ระชาชนช่าวไทยวา่ “เราจะครองแผน่ ดนิ โดยธรรม เพอื่ ประโยชนส์ ุขแก่มหาชนชาว
สยาม”

พระโอรสและพระราชธดิ า ๔ พระองค์คอื
๑. ทูลกระหมอ่ มหญิงอบุ ลรตั นราชกญั ญา สริ วิ ฒั นาพรรณวดี,
๒. สมเด็จพระบรมโอรสาธริ าช เจา้ ฟา้ มหาวชริ าลงกรณ สยามมกฎุ ราชกมุ าร,
๓. สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า เจา้ ฟ้ามหาจกั รีสริ นิ ทร รัฐสมี าคณุ ากรปยิ ชาติ สยามบรมราชกมุ ารี,
๔. สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจ้าฟา้ จฬุ าภรณวลยั ลกั ษณ์ อัครราชกมุ าร,ี

พระราชพิธีเฉลมิ พระราชมณเฑียร ในพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก
วนั ที่ ๖ พฤษภาคม ๒๔๙๓



พุทธศกั ราช ๒๔๙๙ มพี ระราชศรทั ธาทรงพระผนวช ตามคตขิ องพทุ ธศาสนิกชนไทย เปน็ เวลา ๑๕ วนั
นบั แตเ่ สด็จเถลงิ ถวลั ยราชสมบัติปกครองราชอาณาจักรไทย ตราบถงึ วันท่ี ๑๓ ตลุ าคม พุทธศกั ราช ๒๕๕๙

เป็นเวลา ๗๐ ปี กล่าวได้ว่าทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงครองสิริราชสมบัติยาวนานที่สุดใน
ประวตั ิศาสตร์ไทย ทรงต้งั มน่ั อยู่ในทศพิธราชธรรม ทรงอทุ ิศกำลงั พระวรกายและกำลังสติปญั ญาปฏิบัติ
พระราชกรณยี กิจอเนกอนันต์ เพื่อประโยชนส์ ุขของปวงอาณาประชาราษฎร์

พระราชพธิ ที รงพระผนวช วนั ที่ ๒๒ ตลุ าคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๙๙

เสด็จเยี่ยมราษฎรทั่วทุกภูมิภาค ตั้งแต่พุทธศักราช ๒๔๙๕ เป็นต้นมา ทรงตระหนักในความเป็นอยู่
ของราษฎรที่ตอ้ งเผชิญปัญหาท่ีทำกินและการดำรงชีพ โดยพึ่งพาธรรมชาติจึงมีพระราชดำริแก้ไขและบรรเทา
ความเดอื ดร้อน ปรากฏเปน็ โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดำรใิ นรชั สมยั มากกวา่ ๔,๖๐๐ โครงการ ประจักษ์
ว่า พระองค์คือกษัตรยิ ์นักพัฒนายิ่งใหญ่แท้จริง ทรงเน้นการพัฒนาอย่างยั่งยืนและการอยู่อย่างสมดุลระหว่าง
มนุษย์กับธรรมชาติ อันได้แก่ โครงการแก้มลิง แก้ปัญหาน้ำท่วม โครงการแกล้งดิน แก้ปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการฝนหลวง แก้ปัญหาภัยแลง้ ธนาคารข้าว ธนาคารโค กระบือ แก้ปัญหาความขาดแคลน การปลูกหญา้
แฝกเพื่ออนุรักษ์ดินและน้ำ ปลูกป่าด้วยวิธีการต่างๆ เพื่อการจัดการทรัพยากร รวมทั้งการสร้างเขื่อน ฝาย
ทำนบกัน้ นำ้ เพื่อความอุดมสมบูรณ์แห่งทรัพยากรของประเทศ ตลอดพระราชทานแนวพระราชดำริไปยงั นานา
ประเทศที่ต้องการความช่วยเหลืออีกด้วย พระอัจฉริยภาพเป็นที่ประจักษ์ไม่เฉพาะต่อคนไทยเท่าน้ัน องค์การ
สากลต่างๆได้ประกาศยกย่องพระเกยี รตคิ ณุ ใหป้ รากฏอย่างแพร่หลายกวา้ งขวางมาโดยตลอด

ทอดพระเนตรโครงการอา่ งเก็บนำ้ ยางชมุ อนั เนอื่ งมาจากพระราชดำริ จังหวดั ประจวบคีรขี นั ธ์
วนั ที่ ๘ พฤศจกิ ายน พุทธศกั ราช ๒๕๔๘



ระหว่างพุทธศักราช ๒๕๓๐ - ๒๕๑๐ เสด็จฯเยือนมิตรประเทศในเอเชีย ยุโรป อเมริกา ออสเตรเลีย
จำนวน ๑๔ ประเทศ เป็นการเจริญทางพระราชไมตรีสร้างชื่อเสียงให้ประเทศเป็นที่รู้จักในสังคมโลก เพราะมี
พระประมุขท่ีทรงพระปรีชาสามารถในวิชาการ ศิลปวัฒนธรรม และองอาจกล้าหาญ สิ่งสำคัญทรงมุ่งหวงั ที่จะ
แสวงหาความรู้ ประสบการณจ์ ากประเทศทเ่ี จรญิ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพ่ีอนำมาประยกุ ต์ให้เหมาะ
กับสภาพแวดล้อมของประเทศไทย เช่น การได้รับความร่วมมือจากประเทศเดนมาร์ก ในด้านผลิตฟาร์มโคนม
เป็นต้น

ระหวา่ งพุทธศกั ราช ๒๕๑๐ - ๒๕๓๐ เสด็จพระราชดำเนนิ ไปทรงเป็นกำลังใจแกท่ หารหาญและเย่ียม
พสกนกิ รในพ้ืนท่ชี ายแดนที่ประสบภยั คกุ คามจากลทั ธคิ อมมิวนสิ ต์ ในฐานะทรงดำรงตำแหนง่ จอมทัพไทย ทรง
เยี่ยมบำรุงขวัญทหาร ตำรวจในพื้นที่สู้รบถึงฐานปฏิบัติการทั่วทุกพื้นที่ โดยมิหวั่นเกรงภยันตรายใดๆ
พระราชทานแนวทางปฏบิ ัตดิ ว้ ยสนั ตวิ ิธี ทรงนำโครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดำรเิ ปน็ ยทุ ธศาสตร์การพัฒนา
ให้ชายแดนเป็นรั้ว ด้านในเป็นศูนย์พัฒนา เป็นแหล่งเรียนรู้ในการประกอบอาชพี ให้บ้านเมืองกลับคืนสู่ความ
สงบ

ดา้ นเกษตรกรรม ทรงคดิ ค้นทางเลอื กใหมใ่ หแ้ ก่เกษตรกรเพ่ือพึ่งพาตนเองอย่างเขม้ แข็ง เรยี กวา่
“เกษตรทฤษฎใี หม่” ดว้ ยแนวพระราชดำริใช้ทด่ี นิ ให้ไดป้ ระโยชน์สงู สดุ

พทุ ธศักราช ๒๕๔๐ ประเทศไทยประสบปญั หาภาวะเศรษฐกจิ ตกต่ำ ไดพ้ ระราชทานหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง ทรงวางแนวทางการดำเนนิ ชวี ติ ใหร้ าษฎร เปน็ ผลให้เกิดการพฒั นาสงั คมและทรพั ยากร
บุคคลอยา่ งมั่นคงยงั่ ยนื

ด้านการศึกษา ทรงมุ่งมั่นพัฒนาคุณภาพชีวิตราษฎร ซึ่งเป็นทรัพยากรของประเทศทุกๆ ระดับ มี
พระราชดำริส่งเสริมสนับสนุนการศึกษาทุกสาขาแก่เยาวชนและประชาชนอย่างทั่วถึง การศึกษาในระบบ
โรงเรยี นทัว่ ประเทศต้ังแตใ่ นเมอื งไปจนถงึ ถิ่นทรุ กันดาร เชน่ โรงเรียนจติ รลดา ในภมู ภิ าค เช่น โรงเรียนเจ้าพ่อ
หลวงอุปถัมภ์ โรงเรียนร่มเกล้า โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ฯลฯ จัดโครงการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
เพื่อแก้ปัญหาขาดแคลนครูและเพิ่มแหล่งศึกษาให้เยาวชนในถิ่นทุรกันดารมีโอกาสเล่าเรียนได้อย่างต่อเนื่อง
การศึกษานอกระบบ ไดแ้ ก่ โรงเรียนพระดาบส และการศึกษาตามอธั ยาศยั คอื โครงการตามพระราชดำริสาขา
ต่างๆ จำนวนมาก จัดทำสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน และพระราชทานทุนการศึกษาอย่างกว้างขวาง เช่น
ทนุ อานันทมหดิ ล ทนุ มลู นิธภิ ูมิพล เป็นตน้

ด้านศิลปวัฒนธรรม มีพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถในการสร้างสรรค์ศิลปะทุกสาขา ทรง
สนพระราชหฤทัยในศิลปวัฒนธรรมของชาติทุกแขนง ทรงเป็นแบบอย่างในการอนุรักษ์มรดกของชาติ ทรง
ฟ้ืนฟูพระราชพิธีพชื มงคลจรดพระนงั คลั แรกนาขวัญ นอกจากน้ยี งั มีพระราชดำรบิ รู ณปฏสิ ังขรณว์ ัดพระศรรี ตั น
ศาสดาราม โปรดใหเ้ ขียนจิตรกรรมฝาผนังพระพุทธรัตนสถาน ทรงอุปถมั ภ์การแสดงโขนละครศิลปะการแสดง
อันเป็นจารีตแบบแผนของชาติ ทรงพระปรีชาปราดเปรื่องในการดนตรี ทรงพระราชนิพนธ์เพลงที่กล่าวได้ว่า
เป็นอมตะเพื่อปวงชนจำนวนมาก เช่น เพลงพรปีใหม่ สายฝน ใกล้รุ่ง แสงเทียน ฯลฯ พระราชนิพนธ์
วรรณกรรมเรื่องพระมหาชนก ทรงแปลเรอ่ื งติโตและนายอินทร์ผู้ปิดทองหลังพระ

ด้านศาสนา ทรงเคร่งครัดและทำนุบำรุงศาสนา ทรงเป็นแบบอย่างที่ล้ำเลิศในการผดุงรักษา
พระพุทธศาสนาให้ประดิษฐานถาวรเจริญรุ่งเรื่องในแผ่นดิน ทรงเป็นองค์อัครศาสนูปถัมภก พระราชทานพระ
บรมราชูปถัมภบ์ ำรงุ ศาสนาอื่นๆในพระราชอาณาจกั ร ใหพ้ สกนิกรทกุ ศาสนาอยูร่ ่วมกันอย่างสันตสิ ขุ

มีพระราชดำริสร้างวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก ให้เป็นวัดแบบอย่าง คำนึงถึงประโยชน์ที่สาน
สัมพันธ์ร่วมกันระหว่าง วัด บ้านและโรงเรียน ที่เรียกว่า “บวร” ให้มีความเรียบง่าย และประหยัด เมื่อใช้
ประโยชนแ์ ละกิจกรรมรว่ มกัน

ด้านสาธารณสุข ทรงตระหนักถึงสุขภาพอนามัยประชาชน กำจัดโรคระบาดที่คุกคามบั่นทอนชีวิต
ราษฎร ได้แก่ โรคเรื้อน วัณโรค โปลิโอ และโรคติดต่อร้ายแรง จัดตั้งหน่วยงานแพทย์หลวง หน่วยแพทย์
พระราชทานทั้งทางบกทางน้ำ หน่วยทันตกรรมเคลื่อนที่พระราชทาน ก่อตั้งมูลนิธิราชประชาสมาสัย และ
มูลนิธิประชานุเคราะห์ ดำเนินงานช่วยเหลือในโอกาสต่างๆ โดยเฉพาะก่อตั้งมูลนิธิชัยพัฒนา ดำเนินการ
ช่วยเหลือประชาชนได้รวดเร็ว ในด้านการแพทย์ ส่งเสริมให้ทุนนายแพทย์สาขาต่างๆ ไปศึกษาเพิ่มเติมใน
ต่างประเทศ เพอื่ นำวิทยาการทเี่ จรญิ มาพัฒนาประเทศ

ด้านการคมนาคม ทรงวางแผนสร้างถนนเพอ่ื ความม่นั คงของประเทศและพัฒนาบา้ นเมอื ง เสน้ ทาง
ขา้ มภูเขาในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ภาคเหนือ ภาคใต้ โดยเฉพาะเส้นทาง สายนา่ น-ปัว-ทุ่งชา้ ง-ปอน-ห้วย
โกร๋น ในพื้นทอ่ี นั ตรายทผ่ี ู้กอ่ การรา้ ยขัดขวาง ทงั้ ทรงแก้ปัญหาจราจรดว้ ยระบบเครือขา่ ย ได้แก่ ถนนวงแหวน
รชั ดาภเิ ษก กาญจนาภเิ ษก โครงขา่ ยถนนจตรุ ทศิ เหนอื -ใต้ ตะวนั ออก-ตะวันตก รบั รองการจราจรขา้ ม
กรุงเทพฯ ถนนวงแหวนอุตสาหกรรม สะพานขนาดใหญ่ขา้ มแมน่ ้ำเจ้าพระยาสองชว่ งท่โี ดดเดน่ สงา่ งาม
สะพานแขวนพระราม ๘ ทางคู่ขนานลอยฟา้ ถนนบรมราชชนนี เป็นตน้

พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร คอื ดวงมณี
ดวงประทีป และดวงใจของชาวไทย ทรงแผ่พระมหาบารมอี ันบรสิ ุทธิ์ไพศาล ทรงร่วมทกุ ข์รว่ มสขุ กบั ปวง
ประชาชาวไทย พระราชทานความรกั ความหว่ งใย เปยี่ มด้วยพระเมตตาอันประมาณมไิ ด้ ทรงท่มุ เทพระ
วิริยะ อุสาหะ พระปรชี าญาณ สรา้ งความสุขสวสั ด์ยิ ่งั ยนื แก่ประชาชนของพระองค์อยา่ งมิทรงรสู้ กึ เหนด็
เหนือ่ ย ชาตไิ ทยจึงก้าวหนา้ รงุ่ เรอ่ื งเป็นลำดบั ทรงเป็นหลกั ชยั นำทางแก่ชาติยาวนานถึง ๗๐ ปี ๔ เดอื น ๗
วนั นับเปน็ ความวิปโยคสุดอาลยั เม่อื พระองคเ์ สด็จสูส่ วรรคาลยั เมื่อวนั พฤหสั บดี ท่ี ๑๓ ตุลาคม
พุทธศกั ราช ๒๕๕๙ ชาวไทยท้ังชาติตา่ งนอ้ มศิรเกลา้ กราบสกั การะพระผูส้ ถติ ในดวงใจตราบนิรนั ดร์



นอ้ มรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ
พระผเู้ สด็จสู่สวรรคาลัย


Click to View FlipBook Version