The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบบันทึกการอ่านจับใจความสำคัญแบบ SQ4R (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 6201105001055, 2022-09-14 03:56:49

แบบบันทึกการอ่านจับใจความสำคัญแบบ SQ4R

แบบบันทึกการอ่านจับใจความสำคัญแบบ SQ4R (1)

แบบบนั ทึก

การอ่านจับใจความแบบ SQ4R

ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๒

นางสาวนงลกั ษณ์ ทองสสี ัน
ตำแหน่ง ครู (ครูผู้สอน)

โรงเรียนวัดท่าไทร(ดิตถานเุ คราะห์)

ชือ่ -นามสกุล...........................................................ชื่อเลน่ ................
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท.ี่ .....................เลขที.่ .................
โรงเรียนวดั ทา่ ไทร(ดิตถานุเคราะห)์

คำนำ
แบบบันทึกการอ่านจับใจความสำคัญ โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค SQ4R รายวิชาภาษาไทย ๓
รหัสวชิ า ท๒๒๑๐1 สำหรับนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ เรอ่ื งหลักและวธิ ีการอ่านเพ่ือจับใจความสำคัญ ผู้เขียนได้
จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญท่ีถูกต้อง ภายใต้แนวคิดการอ่านที่เป็นระบบ
เน้นการอ่านซ้ำๆ จนกว่าจะเข้าใจ สามารถจดจำเรื่องราวที่อ่านได้ และฝึกทักษะทำให้เกิดความชำนาญ
โดยแบบบันทึกการอ่านจับใจความสำคัญนี้สร้างขึ้นเพื่อให้นักเรียนสามารถฝึกปฏิบัติกิจกรรมศึกษาหาความรู้ด้วย
ตนเอง หรอื เป็นกลุ่มร่วมกบั การจัดการเรียน การสอนของครผู ู้สอน
ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แบบบันทึกการอ่านจับใจความสำคัญ โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค
SQ4R จะชว่ ยให้นักเรยี นมีความรู้พื้นฐานในการเรยี นภาษาไทยและพัฒนาทักษะด้านการอา่ นจบั ใจความสำคัญจาก
สื่อต่าง ๆ ได้ดียิ่งขึ้น จนบรรลุจุดมุ่งหมายของหลกั สูตร ทำให้นักเรียนได้ฝกึ ฝนตนเองและ สนุกสนานเพลดิ เพลินไป
กับการทำกิจกรรมต่าง ๆ อย่างมีความสุขในการเรียน มีเจตคติที่ดีต่อวิชาภาษาไทย และเป็นแนวทางในการศึกษา
ที่สูงขึ้นไป ตลอดจนได้รับประโยชน์ในการเรียนรู้และเกิดทักษะในด้านการอ่านจับใจความสำคัญจากสื่อต่าง ๆ
ได้อย่างถกู ต้อง และสามารถคน้ พบองค์ความรูเ้ พื่อประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำวนั ตอ่ ไป

นางสาวนงลกั ษณ์ ทองสสี นั

ใบความรู้ เรอื่ ง การอา่ นจับใจความสำคัญ

ใจความสำคัญ

หมายถึง ใจความทีส่ ำคัญและเดน่ ที่สดุ ในย่อหน้าเป็นแกน่ ของยอ่ หน้าที่สามารถครอบคลุมเนื้อความใน
ประโยคอืน่ ๆ
ใจความรอง หรือ พลความ (พน-ละ-ความ)

หมายถึง ใจความ หรือประโยคท่ีขยายความประโยคใจความสำคัญ เปน็ ใจความสนับสนุนใจความสำคัญให้
ชัดเจนข้นึ อาจเป็นการอธบิ ายใหร้ ายละเอียด ให้คำจำกัดความ ยกตวั อยา่ ง เปรียบเทยี บ หรอื แสดงเหตุผลอย่างถี่
ถ้วน เพ่ือสนับสนนุ ความคดิ

การอ่านจบั ใจความสำคัญ

การอา่ นเพื่อค้นหาสาระสำคัญของเร่ืองทอ่ี า่ น ที่ผเู้ ขยี นต้องการสอ่ื ซง่ึ ในแตล่ ะย่อหนา้ จะมปี ระโยคใจความ
สำคัญเพยี งประโยคเดียว หรืออยา่ งมากไมเ่ กิน ๒ ประโยค

หลักการจับใจความสำคญั
๑. ตง้ั จุดมงุ่ หมายในการอ่านให้ชดั เจน
๒. อ่านเรื่องราวอยา่ งครา่ ว ๆ พอเข้าใจ และเกบ็ ใจความสำคญั ของแตล่ ะยอ่ หนา้
๓. เมื่ออ่านจบใหต้ ้ังคำถามตนเองวา่ เร่ืองท่ีอ่านมีใคร ทำอะไร ท่ีไหน เมื่อไหร่ อยา่ งไร

4. นำสิง่ ท่ีสรุปไดม้ าเรยี บเรียงใจความสำคัญใหมด่ ้วยสำนวนของตนเองเพ่ือให้เกดิ ความสละสลวย
การพิจารณาตำแหน่งใจความสำคัญ ใจความสำคัญของข้อความในแต่ละย่อหน้าจะปรากฏดังน้ี

๑. ประโยคใจความสำคัญอยู่ตอนตน้ ของย่อหน้า
๒. ประโยคใจความสำคัญอยู่ตอนกลางของยอ่ หน้า

๓. ประโยคใจความสำคัญอยู่ตอนทา้ ยของย่อหน้า
๔. ประโยคใจความสำคัญอยู่ตอนต้นและตอนทา้ ยของย่อหนา้
๕. ผูอ้ า่ นสรุปขึน้ เอง จากการอา่ นทั้งย่อหน้า

ใบความรู้ เร่อื ง การอ่านจบั ใจความสำคัญ

การตง้ั คำถามเพอ่ื หาสาระสำคญั ของเร่อื ง
การต้งั คำถามท้งั ก่อนอ่านและขณะอ่าน ชว่ ยให้นกั เรยี นต้งั จดุ ประสงคก์ ารอา่ น เกิดความเข้าใจเรอ่ื ง และสรุป

สาระสำคัญของเรื่องได้ คำถามได้แก่ “ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร ทำไม” การตั้งคำถาม นักเรียนตั้งไว้
มากมาย เรื่องยิ่งยาว คำถามก็ตั้งได้มากขึ้น ดังตัวอย่างข้างล่าง แต่ควรคำนึงถึงคำถามที่มุ่งถามสาระสำคัญของเรื่อง
ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับหัวข้อเรื่องโดยตรง มากว่าคำถามรายละเอียด ซึ่งเกี่ยวกับสิ่งอื่น ๆ ไม่เกี่ยวข้องกับหัวข้อเรื่อง
โดยตรง

“ใคร” คำถาม (ตวั อย่าง)
เรอ่ื งนก้ี ลา่ วถงึ ใคร/อะไร
“ทำอะไร” ใครเป็นบคุ คลสำคญั เรื่องนี้
เรอ่ื งนเ้ี กย่ี วกับอะไร (ความคิด กระทำ เหตุการณ์)
“ที่ไหน” เรอื่ งน้ี ตวั ละคร/บุคคล/สงิ่ มชี ีวิต/ ทำอะไร
“เมอื่ ไร” เหตุเกดิ ที่ไหน
เรือ่ งเกิดเมอ่ื ไร
“อย่างไร” เรื่องเกดิ เวลาใด
(ตัวละคร) เป็นคนอย่างไร
“ทำไม” (ตัวละคร)/(สง่ิ ท่ีกล่าวถึง) ทำอยา่ งไร
ทำไม............จึงเป็นเช่นน้ี
เพราะเหตุใด
เพราะอะไร

ใบความรู้ การจบั ใจความสำคญั

การอา่ นจับใจความสำคญั หมายถึงการอา่ นท่ีมุง่ ค้นหาสาระของข้อความหรอื เร่ือง ความคิดสำคัญของเรื่อง
ท่เี ปน็ สว่ นใจความสำคัญ และส่วนขยายใจความสำคญั ของเรือ่ ง

๑. ส่วนที่เป็นใจความหลักหรอื ใจความสำคัญ หมายถึง ใจความที่สำคัญ และเด่นที่สุดในย่อหน้า เป็นแก่น
ของย่อหน้าที่สามารถครอบคลุมเนื้อความในประโยคอื่น ๆ ในย่อหน้านั้น หรือประโยคที่สามารถเป็นหัวเรื่องของ
ยอ่ หน้าน้นั ได้ ถ้าตดั เนอ้ื ความของประโยคอื่นออกหมด หรือสามารถเปน็ ใจความหรือประโยคเดีย่ ว ๆ ได้โดยไม่ต้องมี
ประโยคอ่นื ประกอบ

๒. ส่วนทเ่ี ปน็ ใจความรองหรือพลความหรอื สว่ นทขี่ ยายใจความหลัก คือ ประโยคทีช่ ่วยขยายความประโยค
ความสำคัญเป็นใจความสนับสนุนใจความสำคัญให้ชัดเจนขึ้น อาจเป็นการอธิบายให้รายละเอียด ให้คำจำกัดความ
ยกตัวอย่าง เปรียบเทียบ หรือแสดงเหตุผลอย่างถี่ถ้วน เพื่อสนับสนุนความคิด ส่วนที่มิใช่ใจความสำคัญ และมิใช่
ใจความรองแต่ชว่ ยขยายความให้มากขึน้ คอื รายละเอยี ด

วิธกี ารอ่านจบั ใจความสำคัญ มดี ังนี้
๑. พิจารณาทีละยอ่ หนา้ หาประโยคใจความสำคัญของแตล่ ะย่อหน้า
๒. ตัดส่วนทีเ่ ป็นรายละเอยี ดออกไดเ้ ชน่ ตวั อยา่ ง สำนวนโวหาร อุปมาอปุ ไมย ตวั เลข สถิตติ ลอดจนคำถาม

หรือคำพดู ของผู้เขียนซ่งึ เป็นสว่ นขยายใจความสำคัญ
๓. สรุปใจความสำคัญดว้ ยสำนวนภาษาของตนเอง

นิทาน

นทิ าน คอื เรอ่ื งราวทเี่ ล่าต่อๆ กนั มาเป็นเวลานานมาแลว้ แต่ไมท่ ราบ แนช่ ดั ว่าเรม่ิ ต้นเล่ากนั มาตั้งแต่เม่ือใด
การเล่านิทานมีจุดหมายก็เพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลิน และให้ความรู้เพื่อสอนให้เป็นคนดีอยู่ในสังคมได้อย่างมี
ความสุข และบางครงั้ กส็ อดแทรกคตเิ พอื่ เป็นข้อคิดและนำไปปฏิบัติ

ประเภทของนิทาน

การแบ่งประเภทของนิทานตามรูปแบบ ของนิทาน และตามเนื้อหาสาระที่เป็นเรื่องราวของนิทาน
แบ่งออกเปน็ ประเภทตา่ ง ๆ ๘ ประเภท คอื

๑. เทพนิยายหรือเรื่องราวปรัมปรา เป็นนิทานหรือนิยายที่เกินเลย ความเป็นจริงของมนุษย์สวนใหญ่เป็น
เร่ืองรวมทีเ่ กย่ี วข้องกบั อภนิ ิหาร

๒. นิทานประจำท้องถิ่นหรือนิทานพื้นบ้าน มักเป็นนิทานที่ถูกเล่าขานตกทอดต่อเนื่องกันมาเป็นเรื่องราว
เกีย่ วขอ้ งกบั ตำนานพ้ืนบา้ น ประวัตคิ วามเปน็ มาของทอ้ งถ่นิ ภเู ขา ทะเล เป็นตน้

๓. นิทานคติสอนใจ เป็นนิทานที่เรียบเรียงเชิงเปรียบเทียบกับชีวิตและความเป็นอยู่ร่วมกันในสั งคมให้
บงั เกิดผลในการดำรงชวี ติ และความเป็นอย่รู ว่ มกนั ใหช้ ่วยเหลอื หรือเมตตา และอยรู่ ว่ มกนั อย่างมคี วามสุข

๔. นทิ านวีรบรุ ุษ เป็นนิทานทก่ี ล่าวอา้ งบคุ คลที่มีความสามารถองอาจ กลา้ หาญ
๕. นทิ านอธบิ ายเหตุ เป็นเรอ่ื งราวของเหตทุ ่เี กิดสิ่งหนงึ่ สิ่งใดและอธบิ ายพร้อมตอบคำถามเร่ืองราวนน้ั ๆ
๖. เทพปกรณัม เป็นนิทานทเ่ี กี่ยวกบความเชอื่ โดยเฉพาะตวั บคุ คลทมี่ ีอภินิหารเหนอื ความเปน็ จริงลกึ ลับ
๗. นิทานที่มีตัวสัตว์เป็นตัวเอก เปรียบเทียบเรื่องราว ที่อยู่ร่วมกันในสังคม สอนจริยธรรม แฝงแง่คิดและ
แนวทางแกไ้ ข เปน็ เรอ่ื งบันเทิงคดที ่ีสนกุ สนาน
๘. นิทานตลกขบขัน เป็นเรื่องเปรียบเทียบชีวิตความเป็นอยู่แต่มีมุขที่ตลก ขบขัน สนุกสนาน ทำให้เกิด
ความรูส้ กึ เป็นสุข

หลกั การอา่ นจบั ใจความสำคญั จากนิทาน

การอา่ นจบั ใจความสำคัญจากนิทานอาจใชห้ ลักการอ่านจบั ใจความสำคัญ เหมอื นการอ่านเรื่องยาวๆ ท่ัวไป
คือเน้นการสรุปสาระสำคญั ของเรื่องในลักษณะการยอ่ ความซ่งึ มีขัน้ ตอนการอ่าน ดงั นี้

๑. ต้งั ใจอ่าน มีสมาธิในการอ่าน

๒. อา่ นเร่อื งราวนั้นๆ ตั้งแตต่ ้นจนจบเรือ่ ง

๓. สรุปหรือจบั ใจความสำคัญ ว่าเป็นเรื่องอะไร มีใคร ทำอะไร กับใคร ท่ไี หน เมื่อไร ทำอย่างไร

๔. ทบทวนความบางตอน หรือสาระบางเร่ืองทีย่ ังเข้าใจ ไมช่ ัดเจนให้เขา้ ใจ

๕. สังเกตดูวา่ ผลสุดทา้ ยของเรือ่ งน้นั ๆ อะไรเกิดขึน้ บ้าง

๖. พิจารณาวา่ เร่อื งมีสาระหรอื ความสำคญั อยทู่ ่ีใดมีแง่คดิ คตธิ รรมหรือคำสอน แก่ผู้อ่านอยา่ งไรบา้ ง

๗. สรุปความคดิ ทำบนั ทึกช่วยจำ ยอ่ ความ ตอบคำถาม หรอื ทำกจิ กรรมตา่ งๆ ตามวตั ถปุ ระสงค์

นิทานเรอ่ื ง “ขูลู นางอั้ว”

กาลครง้ั หนึ่งนานมาแล้วมเี มืองสองเมือง ช่ือเมืองกาสแี ละเมืองกายเป็นเพอ่ื นรกั กนั สัญญาวา่ ถ้ามีพระโอรส
พระธิดาจะให้แตง่ งานกัน แต่เน่อื งด้วยท่ีพระมเหสีของกษัตริยท์ ั้งสองเมืองกำลังทรงพระครรภน์ ัน้ เกดิ การแย่งผลส้ม
เกลี้ยงกัน จึงทำให้พระนางจันทาโกรธพระนางพิมพากาสีเป็นอย่างมาก ถึงขั้นตัดขาดความเป็นมิตรกันกับพระนาง
พิมพากาสี พระมเหสีของกษัตริย์ทั้งสองเมืองทรงประสูติพระโอรสและพระธิดา พระนางพิมพากาสีแห่งเมืองกาสี
ทรงให้กำเนิดพระโอรส นามว่า “ขูลู” เมื่อท้าวขูลูโตขึน้ ทรงมีรูปร่างหน้าตารปู งามราวกับเทพบุตร ส่วนพระนางจนั
ทาแหง่ เมืองกายนครทรงใหก้ ำเนิดพระธิดา นามวา่ “อ้วั เคี่ยม” เมอื่ นางอว้ั โตขนึ้ มีรูปรา่ งหนา้ ตาสละสลวยงดงามราว
กับเทพธิดาเมื่อพระโอรสและพระธิดาของทั้งสองเมืองเจริญวัยขึ้น เป็นหนุ่มสาวรูปงามเต็มที่ พระราชบิดาของ
ทั้งสองหรือเจ้าเมืองผู้เป็นกษัตริย์ของทั้งสองเมืองก็สวรรคต พระนางพิมพากาสีจึงอยากให้ท้าวขูลูมาเป็นกษัตริย์
ปกครองบา้ นเมืองแทนพระราชบิดาทีส่ วรรคตไป สว่ นเมืองกายนครน้นั พระนางจนั ทาผู้เปน็ พระมเหสีขึน้ ครองเมือง
แทนพระสวามีที่สวรรคตไปครัน้ พระนางพิมพากาสอี ยากให้ท้าวขูลู ปกครองเมืองและมีคูค่ รองจึงแนะวา่ เคยสญั ญา
กันกับพระเหสีทางเมืองกายนครว่า ถ้ามีพระโอรสและพระธิดาจะให้แต่งงานกัน ซึ่งเมืองกายนครนั้นมีพระราชธิดา
ชอื่ อั้วเคี่ยม จงึ อยากให้ท้าวขูลเู ดนิ ทางไปยังเมืองกายนครเม่ือทา้ วขลู ูได้ฟังดังน้ัน ก็เกดิ ความคิดไปว่ารูปร่างหน้าตา
ของนางอว้ั นั้นจะเปน็ ไปอยา่ งไร

พอไดเ้ วลาออกเดินทางไปยังเมืองกายนคร ทา้ วขลู ู ก็เดนิ ทางไปยังเมืองกายนคร ซึ่งถนนหนทางเต็มไปด้วย
ป่าทำใหก้ ารเดนิ ทางเปน็ ไปดว้ ยความยากลำบากกว่าจะถงึ เมืองกาย เม่ือมาถงึ เมอื งกายท้าวขูลูกแ็ อบไปพักที่อุทยาน
และได้พบกันกับนางอั้ว เมื่อทั้งคู่ได้พบเจอหน้ากันก็เกิดความรักความผกู พันมีใจเสน่หาใหก้ ันและกันตั้งแต่แรกเห็น
และมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ครั้นเรื่องถึงหูพระนางจันทานางจึงได้ให้คนมาทูลเชิญท้าวขูลู ท้าวขูลูจึงไปพบและ
ทรงเล่าเรื่องความเป็นมาต่างๆ ให้พระนางจันทาฟัง พระนางจันทาจึงจัดการต้อนรับเป็นอย่างดีเมื่อท้าวขูลูเห็นว่า
เปน็ เวลาสมควรแล้วทา้ วขลู จู ึงทลู ขอนางอ้วั และบอกวา่ จะแต่งเครอื่ งราชบรรณาการมาสู่ขอนางอวั้ ตนจะกลับเมือง
ไปท้าวขูลูจึงไปล่ าลานางอั้วเพื่อลากลับเมืองเมื่อท้าวขูลูกลับเมืองไปได้ไม่นาน ข่าวลือเรื่องความงดงามของนางอว้ั
ก็เลื่องลือไปไกลจนถึงเมืองขอม ซึ่งมีกษัตริย์ผู้ปกครองเมือง นามว่า “ขุนลาง” เป็นคนแก่แต่มีใจคิดใฝ่อยากมี
เมียเด็ก จึงส่งเครื่องราชบรรณาการข้าวของต่าง ๆ มายังเมืองกายนครให้พระนางจันทาอย่างสม่ำเสมอ และทูลขอ
นางอว้ั กับพระนางจันทา เนื่องดว้ ยพระนางจนั ทาเห็นว่าขุนลางสง่ เครอ่ื งราชบรรณาการมาบ่อย ๆ ประกอบกับที่ขูลู
หายไปนานและยังขุนเคืองพระนางพิมพากาสีพระมารดาของท้าวขูลู จึงเอ่ยปากรับค ายกนางอั้วให้ขุนลางไปเม่ือ
นางอว้ั ทราบขา่ วว่า พระมารดาของตนจะยกตนให้ขุนลาง กไ็ ม่ยอมแต่งงานกับขนุ ลาง และทรงทูลพระมารดาวา่ ตน
นั้นรักท้าวขูลูแต่เพียงผู้เดียว และจะรอเพียงแค่ท้าวขูลูเท่านั้น เมื่อพระนางจันทาทรงได้ยินตามนั้นก็เกิดการด่าทอ
นางอั้ว ทำให้นางอั้วเสียใจและคิดแก้ไขปัญหานี้ไม่ตก ครั้นเมื่อท้าวขูลูมายังเมืองกายพร้อมด้วย
เครื่องราชบรรณาการ เพือ่ มาสขู่ อนางอวั้ แต่กลับได้ยินข่าววา่ พระนางจนั ทาทรงยกนางอ้วั ใหก้ ับขุนลางกษัตริย์เมือง
ขอมไปแล้ว ก็ทรงเสียใจจึงลักลอบไปพบนางอั้ว นางอั้วก็เล่าความจริงใหฟ้ ัง ท้าวขูลูจงึ กลับเมืองไปด้วยความเสียใจ
เมอ่ื พระนางจนั ทารูข้ ่าววา่ ท้าวขลู ูลักลอบไปหานางอวั้ นางโกรธมากจึงมาด่าทอทุบตนี างอัว้ วา่ ไมร่ จู้ ักรักนวลสงวนตวั

ทำเสื่อมเสียต่าง ๆ นานา ทำให้นางอั้วเสียใจเป็นอย่างมาก เมื่อท้าวขูลูกลับไปยังเมืองกาสีจึงเล่าความจริงให้พระ
มารดาของตนฟัง พระนางพิมพากาสีโกรธมากจึงจดั ให้มีการยกทัพไปยังเมืองกาย เมือ่ พระนางพิมพากาสีมาถึงเมือง
กายพระนางจันทาทราบข่าวก็จัดให้มีการเจรจาและเชิญพระนางพิมพากาสีมาประทับ ในพระตำหนักอย่างดีการ
เจรจาในครงั้ น้ีพระนางจนั ทาได้บอกว่า ตนได้เอย่ ปากตอบตกลงยกนางอ้วั ใหก้ ับขนุ ลางไปแลว้ พระนางพิมพากาสีจึง
ขอให้มีการเสย่ี งทาย ถ้าทา้ วขูลูกบั นางอว้ั เปน็ ค่กู นั จริงกจ็ ะจดั ให้มกี ารแต่งงานกันเกิดข้นึ ถ้าไม่เปน็ คกู่ ันกจ็ ะยกให้ขุน
ลางไป พระนางจันทาจึงจัดให้มีพิธีการเสี่ยงทาย เสี่ยงสายแนนเกิดขึ้น เมื่อเสี่ยงสายแนนก็พบว่าสายแนนของทั้งคู่
นั้น กอดเกี่ยวพันกันแนน่ ในส่วนต้นแต่ปลายนัน้ กลับหันหนแี ยกออกจากกัน จึงท านายว่าทั้งคูน่ ั้นเป็นคู่กัน แต่จะคู่
กันได้ไม่นานต้องตายจากกันเมื่อผลออกมาดังนี้แล้วพระนางพิมพากาสีจึงยกทัพกลับเมืองกาสีไปพร้อมกับท้าวขูลู
ท้าวขูลูเสียใจมากพระนางจันทาจึงจะจดั งานแต่งงานให้ขุนลางกับนางอั้ว นางอั้วนั้นคับแค้นใจและเสยี ใจเป็นอย่าง
มาก จึงตัดสินใจหนีออกจากปราสาทและหวังจะไปผูกคอตายเพื่อหนีการแต่งงานในครั้งนี้ พอถึงสวนอุทยานพระ
นางจงึ เหน็ ต้นจวงจันทน์ขอให้มารับเอาพระนางไปอยู่ดว้ ย ขณะนัน้ รุกขเทวดาท่ีสิงสถิตอยู่ ณ ที่นน้ั จึงบอกกับ พระ
นางให้เสด็จไปทางทิศ ใต้จะมีต้นไม้จวงจันทน์ที่มีผีสิงอยู่ เพราะเราเองทำไม่ได้เพราะมันผิดศีลธรรมและบาปมาก
เมื่อเป็น เช่นนั้น พระนางอั้วเคีย่ มจงึ เสดจ็ ไปต้นไม้จวงจันทน์ผีป่า นางกราบวอนใหโ้ นม้ กิง่ ลงมารับเอาพระนาง ฝ่าย
ไม้จวงจันทน์ผีป่าจึงโน้มกิ่งลงมา พระนางจึงเอาไหมคำผูกกับกิ่งไม้และผูกใส่พระศอและสั่งลา พระมารดาและ
ประชาชน แลว้ พระนางก็อธิษฐานถึงพระอนิ ทราราชขอให้มารบั วญิ ญาณของพระนาง เพ่อื ไปรอท้าวขลู อู ยู่บนสวรรค์
จากนั้นกิ่งไม้จวงจันทน์ผีป่าก็ดีดเอา พระนางสิ้นพระชนม์ในสวนอุทยานนั้น เมื่อพระนางจันทามาหานางอั้วที่
ปราสาทไม่พบจึงสั่งให้คนออกตามหา และเมื่อไปถึงก็พบว่านางอั้วนั้นได้ตายไปเสียแล้ว พระนางจันทาเสียใจเป็น
อย่างมากจนถึงข้ันเป็นลมสลบไป เมื่อท้าวขูลูทราบข่าวการตายของนางอั้วจึงใช้พระขรรค์แทงตัวตายตามนางอั้วไป
พระนางพิมพากาสเี สยี ใจมาก พระนางจนั ทาและพระนางพมิ พากาสีจึงจัดพธิ เี ผาศพท้าวขูลูกับนางอั้วพร้อมกนั เมอื ง
สองเมืองจงึ กลับมามสี ัมพนั ธไมตรีเปน็ มิตรกันตามเดิม และเมือ่ ท้าวขูลกู ับนางอั้วตายไปวิญญาณของทั้งคู่ก็ไปพบกัน
และครองคู่กนั บนสวรรค์

ขนั้ ตอน แบบบันทกึ การอา่ นจบั ใจความสำคัญแบบ SQ4R
บทอา่ นประเภท …………………………………………………………….

รายละเอียด

S : Survey ................................................................................................................... .................................................
สำรวจ ........................................................................................... .........................................................................
................................................................................................................... .................................................
........................................................................................... .........................................................................
................................................................................................................... .................................................
................................................................................................................... .................................................

................................................................................................................... .................................................
........................................................................................... .........................................................................
Q : Question ....................................................................................................................................................................
ตั้งคำถาม ....................................................................................................................................................................
............................................................................................................ ........................................................
................................................................................................................... .................................................

R : Record R : Read
จดบันทกึ การอา่ น
................................................................................................................... .................................................
....................................................................................................................................................................
................................................................................................................... .................................................
................................................................................................................... .................................................
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ขั้นตอน รายละเอยี ด

R : Recite ................................................................................................................... .................................................
สรุปความ ........................................................................................... .........................................................................

................................................................................................................... .................................................

................................................................................................................... .................................................

............................................................................................................ ........................................................

R : Reflect จุดม่งุ หมายของเรอ่ื ง
อภิปราย

แสดงความคดิ เห็น ....................................................................................................................................................................

................................................................................................................... .................................................

........................................................................................... .........................................................................

ขอ้ คดิ หรือความรทู้ ่ไี ด้
................................................................................................................... .................................................
................................................................................................................... .................................................
....................................................................................................................................................................

การนำไปปรบั ใช้ในชวี ิตประจำวนั
................................................................................................................... .................................................
................................................................................................................... .................................................
....................................................................................................................................................................

ขอ้ เสนอแนะอ่ืน ๆ
................................................................................................................... .................................................
................................................................................................................... .................................................

แบบทดสอบทา้ ยบทเรียน
คำช้แี จง : ใหน้ กั เรียนอ่านนทิ านแล้วทำเครื่องหมายกากบาท (X) เลือกคำตอบที่ถูกต้องท่ีสดุ

(ขอ้ ละ ๑ คะแนน รวม ๑๐ คะแนน)
*******************************************************************************************************

๑. ใจความสำคญั ของนทิ านเร่ืองน้ีคืออะไร
ก. ความรักของกษัตรยิ ์
ข. ความรกั ของแมท่ ่ีมตี ่อลกู
ค. ความรักที่พลดั พรากจากพ่อแม่
ง. ความรกั ที่ไมส่ มหวัง เพราะความพยาบาท

๒. พระนางจันทา และพระนางพิมพากาสีบาดหมางกันด้วยเรือ่ งใด
ก. ทะเลาะกันเรือ่ งอาณาเขต
ข. เพราะเกิดการแยง่ ผลสม้ เกลย้ี งกัน
ค. ไมพ่ อใจในเคร่ืองบรรณาการทม่ี อบให้แก่กัน
ง. เพราะพระสวามีของพระนางทง้ั สองไม่ถูกกนั

๓. ท้าวขูลูทรงสืบขา่ วของพระนางอว้ั เค่ียมดว้ ยวธิ ีการใด
ก. ปลอมเปน็ คนใชใ้ นวงั
ข. แอบเข้าไปในอุทยานในราชวัง
ค. แอบแฝงอยู่ในฝูงชน เพื่อสืบขา่ ว
ง. ขออนญุ าตพระนางจันทาเข้าพบ

๔. พระนางจนั ทาทราบข่าวเร่ืองท้าวขลู แู ละพระนางอ้วั เคีย่ ม แล้วทรงทำอย่างไร
ก. ทรงห้ามท้าวขลู ูมาพบพระนางอ้วั เคยี่ มอีก
ข. ทรงดีพระทยั มาก และให้มาสู่ขอพระนางอว้ั เค่ยี ม
ค. พูดจาเหยยี ดหยามท้าวขูลูและไล่ท้าวขลู กู ลบั บา้ นเมือง
ง. ทรงโกรธเคอื งมาก และห้ามพระนางอ้วั เคีย่ มออกจากห้องเด็ดขาด

๕. พระนางจันทาทรงบงั คบั ให้พระนางอ้ัวเคยี่ มทรงอภิเษกสมรสใคร
ก. ขนุ ลาง
ข. ขุนทอง
ค. ขุนล้าน
ง. ขนุ เมอื ง

๖. เหตใุ ดพระนางจันทาจงึ ไม่ยอมยกนางอัว้ เค่ียมใหท้ ้าวขลู ู
ก. เพราะได้รับขันหมากของผู้อ่ืนแล้ว
ข. เพราะถูกใจขุนลาง มากกว่าท้าวขลู ู
ค. เพราะไม่พอพระทัยเรื่องเม่ือคร้งั ต้งั ครรภ์
ง. ขอ้ ก และข้อ ข ถูก

๗. เหตุใดรกุ ขเทวาจึงไม่ให้พระนางอั้วเคีย่ มปลิดพระชนม์ท่ีต้นไมจ้ วงจนั ทนท์ ี่ตนเองสงิ อยู่
ก. เพราะไมม่ ำนาจทาได้
ข. เพราะผดิ ศีลธรรมและบาปมาก
ค. เพราะเกรงอานาจต้นจนั ทนผ์ ีสงิ
ง. เพราะไมต่ ้องการใหพ้ ระนางอวั้ เคีย่ มส้ินพระชนม์

๘. รกุ ขเทวาช้ที างใหพ้ ระนางอั้วเค่ียมไปทใ่ี ด
ก. ตน้ ไมจ้ วงจนั ทนผ์ สี ิงทางทิศใต้
ข. ต้นไม้จวงจนั ทนผ์ สี งิ ทางทิศเหนอื
ค. ต้นไมจ้ วงจันทนผ์ ีสงิ ทางทิศตะวันตก
ง. ตน้ ไมจ้ วงจันทนผ์ ีสงิ ทางทิศตะวนั ออก

๙. พระนางอวั้ เคี่ยมทรงปลดิ พระชนม์พระองค์ดว้ ยวิธใี ด
ก. แทงพระศอดว้ ยกรชิ
ข. ผูกพระศอกับตน้ ไทร
ค. แทงพระศอด้วยพระขรรค์
ง. ผกู พระศอกับต้นไม้จวงจนั ทน์

๑๐. ขอ้ ใดไม่ใช่สาเหตคุ วามรักที่ผิดหวงั ของทา้ วขูลูและพระนางอัว้ เคย่ี ม
ก. ความโลภ
ข. ความแคน้
ค. ความโกรธ
ง. ความชงิ ชัง

ใบความรู้ การจบั ใจความสำคัญ

การอ่านจับใจความสำคัญ หมายถึงการอ่านท่ีมุ่งคน้ หาสาระของข้อความหรือเรื่อง ความคิดสำคัญของเรื่อง ที่เป็นส่วน
ใจความสำคัญ และส่วนขยายใจความสำคญั ของเรือ่ ง

๑. ส่วนที่เป็นใจความหลักหรือใจความสำคัญ หมายถึง ใจความที่สำคัญ และเด่นที่สุดในย่อหน้า เป็นแก่นของย่อหน้า
ที่สามารถครอบคลุมเนื้อความในประโยคอื่น ๆ ในย่อหน้านั้น หรือประโยคที่สามารถเป็นหัวเรื่องของย่อหน้านั้นได้
ถ้าตดั เนือ้ ความของประโยคอ่ืนออกหมด หรอื สามารถเปน็ ใจความหรือประโยคเดย่ี ว ๆ ไดโ้ ดยไมต่ ้องมีประโยคอ่นื ประกอบ

๒. ส่วนทเ่ี ป็นใจความรองหรือพลความหรือสว่ นท่ีขยายใจความหลัก คอื ประโยคท่ีช่วยขยายความประโยคความสำคัญ
เปน็ ใจความสนับสนุนใจความสำคัญให้ชัดเจนข้ึน อาจเปน็ การอธบิ ายใหร้ ายละเอยี ด ใหค้ ำจำกัดความ ยกตวั อยา่ ง เปรียบเทียบ
หรอื แสดงเหตผุ ลอย่างถี่ถว้ น เพ่อื สนับสนนุ ความคิด สว่ นที่มใิ ช่ใจความสำคัญ และมิใชใ่ จความรองแต่ช่วยขยายความให้มากข้ึน
คือรายละเอยี ด

วิธกี ารอ่านจบั ใจความสำคัญ มดี งั นี้
๑. พจิ ารณาทีละยอ่ หน้า หาประโยคใจความสำคัญของแต่ละยอ่ หน้า
๒. ตัดส่วนที่เป็นรายละเอียดออกได้เช่น ตัวอย่าง สำนวนโวหาร อุปมาอุปไมย ตัวเลข สถิติตลอดจนคำถามหรือคำพูด

ของผูเ้ ขยี นซง่ึ เปน็ ส่วนขยายใจความสำคัญ
๓. สรปุ ใจความสำคัญด้วยสำนวนภาษาของตนเอง

ขา่ ว

ข่าว ( News ) คือการรายงานเหตุการณ์หรือเรื่องราวที่เกิดขึ้น ซึ่งอยู่ในความสนใจของประชาชน ข่าวที่ดีต้อง
มีความสำคัญ มีความน่าสนใจ โครงสร้างสำคัญของข่าวแบ่งเป็น ๓ ส่วน มีพาดหัวข่าว ความนำ เนื้อข่าว การนำเสนอข่าว
ต้องตรงไปตรงมา ประเภทของข่าวโดยทว่ั ไป แบ่งออกได้เป็น ๒ กลุม่ ดังนี้

๑. ข่าวหนัก ( Hard news ) คือ ข่าวทม่ี เี นื้อหาสาระหนักสมองและมีความสำคัญเก่ียวข้องกับคนสว่ นใหญ่ เช่น
ขา่ วการเมือง ขา่ วเศรษฐกิจและสงั คม ข่าวการศกึ ษา ฯลฯ

๒. ข่าวเบา ( Soft news ) คือ ข่าวที่มีเนื้อหาสาระเบาสมองมุ่งให้ความตื่นเต้นเพลิดเพลินแก่ผู้อ่านมากกว่า
อย่างอื่น แม้จะมีความสำคัญและผลกระทบต่อวิถีชีวิตของตนส่วนใหญ่น้อยกว่าข่าวหนักแต่ชาวบ้านสนใจมากกว่า เช่น ข่าว
อาชญากรรม ขา่ วบันเทิง ขา่ วกฬี า ฯลฯ

การอา่ นจบั ใจความสำคญั ข่าว

การรายงานข่าวโดยทั่วไปมุ่งเสนอสาระสำคัญอย่างตรงไปตรงมาเพื่อให้อ่านจับใจความได้รวดเร็วที่สุด โครงสร้างและ
รูปแบบของการเขียนข่าวจะมีส่วนชี้แนะการจับใจความให้ถูกต้องและรวดเร็วได้มาก แนวทางการอ่านจับใจความข่าวอย่างมี
ประสทิ ธิภาพจึงควรพิจารณาดงั น้ี

๑. พาดหัวขา่ ว เปน็ จุดบอกใจความสำคัญที่สุดของขา่ วไดช้ ัดเจนและรวดเรว็ เพราะจะประมวลหวั ใจของข่าวทั้งหมดมา
เสนอไว้อยา่ งสนั้ ๆ เปน็ อันดบั แรก หากได้ใจความสำคัญชัดเจนเพียงพอแก่ความต้องการแล้ว ไม่ต้องอ่านส่วนอ่ืนอกี ก็ได้

๒. ความนำหรือวรรคนำ เป็นส่วนต่อเน่ืองจากพาดหัวขา่ ว ความนำหรือวรรคนำจะเปน็ การสรุปใจความสำคัญของขา่ ว
ทั้งหมดไวอ้ ย่างสน้ั ๆ และชดั เจนท่ีสุด ฉะน้นั ถา้ มีเวลาในการอา่ นขา่ วน้อยหรือไม่ต้องการรายละเอียดของขา่ ว เพยี งการอ่านพาด
หวั ข่าวและความนำ หรอื วรรคนำก็สามารถจับใจความสำคัญของขา่ วไดแ้ ลว้

๓. เนื้อข่าว นับเป็นรายละเอียดทีข่ ยายใจความสำคญั ของขา่ วเท่านั้น แต่ถ้าต้องการเพียงใจความสำคัญของขา่ วโดยไม่
สนใจรายละเอียดมากนัก ไม่ต้องอ่านเนื้อข่าวเลยก็ได้ อย่างไรก็ตามในบางครั้งการพาดหัวข่าวและการเขียนความนำหรือวรรค
นำมุ่งเรียกร้องความสนใจของผู้อ่านเกินไป จนทำให้ประเด็นข่าวเปลีย่ นไป หากได้ตรวจสอบจากเนือ้ ข่าวท้ังหมดอีกครัง้ ก็จะทำ
ให้สามารถจบั ใจความข่าวไดอ้ ยา่ งแม่นยำขึน้

ทีม่ า : แววมยรุ า เหมอื นนิล, การอา่ นจบั ใจความ (กรุงเทพมหานคร : สุวีรยิ าสาสน์, ๒๕๔๑),

ขา่ ว มดคันไฟอิวิคตา้

ขา่ ว มดคนั ไฟอิวิคต้า

มดคันไฟตัวใหม่ หรอื มดคนั ไฟอวิ คิ ตา้ (Solenopsis invicta) มถี นิ่ กำเนดิ อยใู่ นทวปี อเมริกาใต้ ตอ่ มาได้แพร่กระจายไป
เกอื บทั่วโลก และเร่มิ ขยายพันธุเ์ ข้ามาในเอเชียเมื่อสองถึงสามปนี พ้ี บได้ในไตห้ วันและ ฮ่องกง และคาดวา่ จะเข้ามาสู่ประเทศไทย
ในไม่ช้านี้ มดคันไฟอิวคิ ต้าสามารถปรับตัวและขยายพันธุ์ได้อยา่ งรวดเร็ว

จนประเทศที่มีการระบาดของมดคันไฟอิวิคต้าต้องมีการจัดตั้งศูนย์เตือนภัยขึ้น มา เพื่อยับยั้งการขยายพันธุ์ บรรเทา
ความเดือดร้อนของผู้ท่ีโดนต่อย และเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากการกัดกินพืชผักต่าง ๆ มดคันไฟอิวิคต้าชอบสร้างถ่ินอาศัย
บริเวณทีม่ ีน้ำไหลเวียน มีปริมาณ น้ำฝนมากกว่า 550 มิลลิเมตรต่อปี อาทิ พื้นที่การเกษตร สวนป่า ทุ่งหญ้า ฝั่งแม่น้ำลำคลอง
ชายฝั่งทะเล ทะเลทราย และสนามกอล์ฟ มักสร้างถิ่นอาศัยแบบเป็นรังหรือเป็นจอมโดยใช้มูลดิน ซึ่งจะมีเส้นผ่าศูนย์กลาง
มากกว่า 1 เมตร ความสูงประมาณ 4-24 นิ้ว ส่วนมดคันไฟที่มีอยู่ในไทยจะสร้างรังเรียบ ๆ กับพื้น ไม่มีจอม และมีจำนวน
ประชากรมากถึง 500,000 ตวั ตอ่ รัง ขณะท่ีมดคันไฟธรรมดาจะมีเพยี ง 10,000 ตัวต่อรงั สำหรบั รปู รา่ งหน้าตาภายนอกของ
มดคันไฟอิวิคต้านี้แทบจะไม่มีความแตกต่างจากมด คันไฟที่พบเห็นในประเทศไทย แต่จะมีผิวลำตัวเรยี บและสดใสกว่า และถ้า
สังเกตให้ดีจะเห็นว่ามีฟันตรงกลางริมฝีปากบน ซึ่งส่วนใหญ่จะมองด้วยตาเปล่าไม่ค่อยเห็นต้องอาศัยแวน่ ขยายช่วย... รศ.ดร.เด
ชา ววิ ัฒน์วิทยา แห่งภาควชิ าชีววทิ ยาปา่ ไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เลา่ ใหฟ้ ังถงึ เรื่องของมดคนั ไฟอิวคิ ตา้

มดคันไฟตัวใหม่นี้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศเพราะอาณาจักรของมดชนิดนี้ ชอบทำลายอย่างมาก พวกมันจะ
ครอบคลุมอาณาเขตบ้านเนื่องจากมดชนิดนี้มีจำนวนมากและรุกราน การขาดศัตรูธรรมชาติจึงทำให้ประชากรเพิ่มขึ้นอย่าง
รวดเร็ว มดคันไฟตัวใหม่นี้จะเข้าโจมตีไข่นก และสัตว์เลื้อยคลานที่อายุน้อยจำนวนมาก และในพื้นที่ที่มีมดชนิดนี้สูงมากจะเข้า
ทำลายสตั วเ์ ลย้ี งลูกด้วยนมขนาดเล็ก เชน่ พวกสัตว์ฟันแทะ และยังล่ากลุม่ ผง้ึ ทห่ี ากนิ เดีย่ ว ๆ ด้วย

สำหรับผลกระทบตอ่ มนุษย์นั้นพบวา่ เหล็กในจากมดชนดิ นี้มีพิษสะสมทำใหเ้ กิดอาการไหม้และคันอย่างรุนแรง พิษจะ
ออกฤทธอิ์ ยนู่ านเปน็ ช่วั โมงและเป็นเม็ดตุ่มพองซงึ่ กลายเปน็ หนองสีขาว เม่ือตมุ่ หนองนีแ้ ตกกส็ ามารถมีแบคทเี รีย เข้าไปและเป็น
แผลเป็น บางคนท่ีมอี าการแพ้อยา่ งรุนแรงจะก่อให้เกิดอาการหมดสตแิ ละเสียชวี ิตได้ มดชนิดน้ีมีความกา้ วร้าวสูงมากเม่ือมันต่อย
จะ ฉีดสารพิษกลุ่ม alkaloid ทำให้เนื้อเยื่อตาย มีรายงานว่าทางตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกามีประชาชนประมาณ
25,000 คน ท่ตี ้องหาหมอเพอ่ื รกั ษาจากการโดนต่อยของมดชนดิ น้ี และด้วยวิธีการโจมตเี หย่อื แบบรมุ ต่อยเป็นร้อย ๆ ตัว ทำให้
เหยอ่ื ท่มี ีขนาดไมใ่ หญ่มากได้รับบาดเจ็บถึงขั้นวกิ ฤติได้เลย

ในสหรัฐอเมริกามดชนิดนี้สร้างความเสียหายทางการเกษตรได้ในวงกว้าง ด้วยการเข้าไปทำลายระบบรากของพืช เช่น
ถั่วเหลือง พืชตระกูลส้ม ข้าวโพด กะหล่ำ มันฝรั่ง ถั่วลิสง ทานตะวัน ข้าวฟ่าง มะเขือ ถั่วเขียว เป็นต้น และทำความเสยี หายใน
เครื่องมือการเกษตร สัตว์เลี้ยง สัตว์ป่า พื้นที่สาธารณะ อุปกรณ์ไฟฟ้า คอมพิวเตอร์ รถยนต์ ปัจจุบัน มดชนิดนี้สร้างความ
เสียหายมาก กวา่ 320 ล้านเอเคอร์ ใน 12 รัฐทางตะวนั ออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกาและเปอรโ์ ตรโิ ก อยา่ งไรก็ตามในอเมริกา
มดคันไฟชนิดนี้เป็นตัวห้ำหั่นที่ดีเยี่ยมในธรรมชาติ และเป็นการควบคุมทางชีววิธีสำหรับศัตรพู ืชหลายชนิด เช่น หนอนเจาะต้น
ออ้ ย มวนท่เี ปน็ ศัตรขู า้ ว แมลงหางหนบี เพลี้ยออ่ น ด้วงงวง หนอนคืบถ่ัวเหลือง หนอนกินใบฝ้าย ต่อสน แตม่ ดชนิดนีก้ ย็ งั เป็นตัว
ทำลายแมลงพวกผสมเกสร เช่น ผ้ึงทส่ี รา้ งรังใตด้ ิน และยังกนิ เมล็ด ใบ ราก เปลอื ก น้ำหวาน น้ำเลยี้ ง เชือ้ รา และมูลต่าง ๆ เป็น
อาหารด้วย ซึ่งจะสร้างมูลค่าความเสียหายต่ออุตสาหกรรมการเกษตรนับพันล้านบาทต่อปี ซึ่งขณะนี้มีแนว โน้มสูงที่มดคันไฟ
ชนดิ น้จี ะเขา้ มาในประเทศไทยดว้ ยการติดมากบั เรือสนิ คา้ หรือ การขนส่งอน่ื ๆ

ท่ีมา : https://www.sanook.com/news.

ข้นั ตอน แบบบนั ทกึ การอ่านจับใจความสำคญั แบบ SQ4R
บทอา่ นประเภท …………………………………………………………….

รายละเอยี ด

S : Survey ................................................................................................................... .................................................
สำรวจ ........................................................................................... .........................................................................
................................................................................................................... .................................................
................................................................................................................... .................................................
........................................................................................... .........................................................................
................................................................................................................... .................................................

................................................................................................................... .................................................

Q : Question ....................................................................................................................................................................
ต้ังคำถาม ................................................................................................................... .................................................
................................................................................................................... .................................................

.................................................................................................... ................................................................

R : Read
การอ่าน

................................................................................................................... .................................................

................................................................................................................... .................................................

R : Record ........................................................................................... .........................................................................
จดบันทึก ................................................................................................................... .................................................
................................................................................................................... ................................................ .

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขั้นตอน รายละเอยี ด

R : Recite ................................................................................................................... .................................................
สรุปความ ................................................................................................................... .................................................
........................................................................................... .........................................................................
................................................................................................................... .................................................
................................................................................................................... .................................................

R : Reflect จุดม่งุ หมายของเร่อื ง
อภิปราย

แสดงความคดิ เห็น ....................................................................................................................................................................

................................................................................................................... .................................................

....................................................................................................................................................................

ขอ้ คดิ หรอื ความรู้ท่ีได้
................................................................................................................... .................................................
................................................................................................................... .................................................
........................................................................................... .........................................................................

การนำไปปรับใช้ในชีวติ ประจำวนั
................................................................................................................... .................................................
................................................................................................................... .................................................
....................................................................................................................................................................

ขอ้ เสนอแนะอ่ืน ๆ
................................................................................................................... .................................................
................................................................................................................... .................................................

แบบทดสอบท้ายบทเรยี น
คำชแ้ี จง : ให้นักเรียนอ่านข่าวแลว้ ทำเครื่องหมายกากบาท (X) เลอื กคำตอบทถ่ี ูกต้องท่สี ุด
**************************************************************************************************

๑. ใจความสำคัญของขา่ วเร่ืองนีค้ อื อะไร
ก. ถ่นิ กำเนดิ
ข. การขยายพันธ์
ค. ผลกระทบ
ง. จำนวนมดคนั ไฟ

๒. มดคนั ไฟอิวคิ ต้า (Solenopsis invicta) มีถิน่ กำเนิดอยู่ท่ใี ด
ก. อเมริกาใต้
ข. ไต้หวนั
ค. ฮอ่ งกง
ง. ไทย

๓. มดคันไฟอิวิคต้าชอบสร้างถนิ่ อาศยั บรเิ วณใด
ก. บอ่ น้ำขงั
ข. เสาบา้ น
ค. พ้นื ทก่ี ารเกษตร
ง. บ้านเรอื น

๔. มดคนั ไฟตวั ใหมน่ กี้ ่อใหเ้ กิดผลกระทบต่อระบบนิเวศอย่างไร
ก. ทำใหฝ้ นไม่ตกตามฤดูกาล
ข. การขาดศัตรธู รรมชาตจิ งึ ทำใหป้ ระชากรเพมิ่ ขนึ้ อย่างรวดเรว็
ค. ทำรา้ ยสัตวใ์ หญใ่ ห้หมดไป
ง. ถกู ทุกขอ้

๕. ผลกระทบตอ่ มนุษย์ ทำให้เกดิ อาการอย่างไร
ก. ไข้สงู
ข. อาเจยี น
ค. เมอื่ ยเนอื้ เมือ่ ยตวั
ง. ผิวไหม้และคนั อย่างรนุ แรง

๖. มดชนดิ นีส้ ร้างความเสยี หายทางการเกษตรไดใ้ นวงกวา้ ง ดว้ ยการเข้าไปทำลายอะไรของพืช
ก. ราก
ข. ลำตน้
ค. ใบ
ง. ผล

ใบความรู้ การจบั ใจความสำคัญ

การอ่านจับใจความสำคัญ หมายถึงการอ่านที่มุ่งค้นหาสาระของข้อความหรือเรื่อง ความคิดสำคัญของเรื่องที่เป็นส่วน
ใจความสำคัญ และสว่ นขยายใจความสำคญั ของเรอ่ื ง

๑. ส่วนที่เป็นใจความหลักหรือใจความสำคัญ หมายถึง ใจความที่สำคัญ และเด่นที่สุดในย่อหน้า เป็นแก่นของย่อหน้า
ที่สามารถครอบคลุมเนื้อความในประโยคอื่น ๆ ในย่อหน้านั้น หรือประโยคที่สามารถเป็นหัวเรื่องของย่อหน้านั้นได้ ถ้าตัด
เนือ้ ความของประโยคอ่ืนออกหมด หรือสามารถเป็นใจความหรอื ประโยคเดย่ี ว ๆ ไดโ้ ดยไม่ตอ้ งมปี ระโยคอน่ื ประกอบ

๒. สว่ นท่ีเปน็ ใจความรองหรือพลความหรือสว่ นท่ีขยายใจความหลัก คอื ประโยคทช่ี ่วยขยายความประโยคความสำคัญ
เป็นใจความสนับสนนุ ใจความสำคัญใหช้ ัดเจนข้ึน อาจเปน็ การอธบิ ายให้รายละเอียด ใหค้ ำจำกัดความ ยกตัวอย่าง เปรียบเทียบ
หรือแสดงเหตุผลอย่างถี่ถว้ น เพอื่ สนับสนนุ ความคิด สว่ นที่มิใชใ่ จความสำคญั และมใิ ชใ่ จความรองแต่ชว่ ยขยายความให้มากข้ึน
คือรายละเอยี ด

วิธกี ารอ่านจับใจความสำคญั มีดงั น้ี
๑. พิจารณาทีละย่อหนา้ หาประโยคใจความสำคัญของแต่ละย่อหนา้
๒. ตัดส่วนที่เป็นรายละเอียดออกได้เช่น ตัวอย่าง สำนวนโวหาร อุปมาอุปไมย ตัวเลข สถิติตลอดจนคำถามหรือคำพูด

ของผเู้ ขียนซง่ึ เป็นส่วนขยายใจความสำคญั
๓. สรุปใจความสำคญั ดว้ ยสำนวนภาษาของตนเอง

บทความ

บทความ หมายถึง ข้อเขียนซึ่งอาจจะเป็นรายงานหรือการแสดงความคิดเห็น มักตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ วารสาร
สารานกุ รม เปน็ ตน้ บทความจึงเป็นความเรยี งประเภทหนึ่งซงึ่ มจี ุดประสงคห์ ลายลกั ษณะ เชน่ เพ่อื แสดงความรู้ เสนอขอ้ เทจ็ จริง
ความคิดเห็น ตั้งข้อสังเกต วิเคราะห์วิจารณ์ ฯลฯ โดยต้องเขียนอย่างมีหลักฐาน มีเหตุผล น่าเชื่อถือ หากมีข้อเสนอแนะใด ๆ
ต้องเปน็ ในทางทส่ี รา้ งสรรค์

ประเภทของบทความ

ประเภทของบทความแบ่งตามเนื้อหาบทความได้เป็น ๑๑ ประเภท ได้แก่
๑. บทบรรณาธกิ าร เป็นบทความแสดงความคิดเห็นลกั ษณะหน่งึ ทเี่ ขียนข้นึ เพ่ือแสดงแนวคิดหลกั ของหนงั สือพิมพฉ์ บับ
น้นั ๆ ต่อเร่อื งใดเรอ่ื งหนึ่ง
๒. บทความสัมภาษณเ์ ป็นบทความท่เี ขยี นขึน้ จากการสัมภาษณบ์ ุคคลเกี่ยวกับความคิดเห็นต่อเรื่องใดเร่ืองหนง่ึ หรอื
หลายเรือ่ ง หรอื เก่ียวกบั ชีวิตของบคุ คลนั้นหรอื จากการสัมภาษณ์บุคคลหลายคนในหัวข้อเดียวกนั

๓. บทความแสดงความคิดเห็นทั่ว ๆ ไป มีเนื้อหาหลายลักษณะ เช่น หยิบยกปัญหาเหตุการณ์หรือเรื่องที่ประชาชน
สนใจมาแสดงความคิดเห็น หรือผู้เขียนเสนอความคิดเห็นสนับสนุน หรือคัดค้าน หรือทั้งสนับสนุนและคัดค้านความคิดเห็นใน
เร่อื งเดยี วกันของคนอน่ื ๆ เป็นต้น

๔. บทความวิจารณ์เขียนเพื่อแสดงความคิดเห็นในเชิงวิจารณ์เรื่องราวที่ต้องการวิจารณ์ด้วยเหตุผลและหลักวิชาเป็น
สำคญั

๕. บทความวิเคราะหเ์ ป็นบทความแสดงความคิดเห็นอย่างหนง่ึ ซ่ึงผู้เขยี นจะพิจารณาเรื่องใดเร่ืองหนึง่ ที่เผยแพร่มาแล้ว
อย่างละเอียด โดยแยกแยะให้เห็นส่วนต่าง ๆ ของเรื่องนั้น ผู้เขียนเสนอความคิดและวิเคราะห์เหตุการณ์เรื่องราวน้ันอย่าง
ละเอียด แสดงข้อเท็จจริงเหตุผลเพื่อให้ผู้อ่านได้ความรู้ ความคิดเห็นเพิ่มเติม เกิดความคิดที่ชัดเจนยิ่งขึ้นแบ่งเป็นบทความ
วเิ คราะหข์ ่าวและบทความวเิ คราะหป์ ัญหา

๖. บทความสารคดีทอ่ งเทย่ี ว มีเนอื้ หาแนวบรรยายเลา่ เรอ่ื งเกีย่ วกบั สถานทที่ ่องเที่ยวต่าง ๆ ทม่ี ีทัศนยี ภาพสวยงามหรือ
มคี วามสำคญั ในดา้ นตา่ ง ๆ เพอื่ แนะนำใหผ้ อู้ า่ นร้จู ักสถานทที่ อ่ งเทยี่ ว ชกั ชวนใหส้ นใจไปพบเหน็ สถานทน่ี นั้ ๆ

๗. บทความกึ่งชวี ประวัตเิ ป็นการเขียนบางส่วนของชีวิตบุคคลเพื่อใหผ้ ูอ้ ่านทราบโดยเฉพาะคุณสมบัติหรอื ผลงานเดน่ ที่
ทำใหบ้ คุ คลน้ันมีชื่อเสียง ประสบความสำเร็จในชวี ิตเพื่อชื่นชม ยกยอ่ งเจา้ ของประวัตแิ ละชี้ใหผ้ ู้อ่านได้แง่คิดเพื่อเป็นแนวทางใน
การดำเนนิ ชวี ิต

๘. บทความรอบปีเป็นบทความที่มีเนื้อหาแนวบรรยาย เล่าเรื่องเกี่ยวกับเรื่องราวเหตุการณ์พิธีการในเทศกาลหรือ
วนั สำคญั เช่น วนั สำคัญทางศาสนา ทางประวตั ศิ าสตร์ทางวัฒนธรรม เก่ียวกบั บคุ คลสำคญั เป็นต้น

๙. บทความให้ความรู้ทั่วไป ผู้เขียนจะอธิบายให้ความรูแ้ ละคำแนะนำในเรื่องทั่ว ๆ ไปที่ใช้ในการดำเนินชวี ิตประจำวัน
เชน่ มารยาทการเข้าสังคม การแตง่ กายให้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคลกิ ภาพ เคล็ดลบั การครองชีวติ คู่ เป็นตน้

๑๐. บทความเชิงธรรมะ จะอธิบายข้อธรรมะให้ผู้อ่านเข้าใจได้ง่าย หรือให้คติในแนวทางการดำเนินชีวิตตาม
แนวพระพทุ ธศาสนา เสนอหาทางแกป้ ัญหาตามแนวพทุ ธปรัชญา

๑๑. บทความวิชาการ มีเนื้อหาแสดงข้อเท็จจริง ข้อความรู้ทางวิชาการเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง
โดยเฉพาะ

บทความ เรื่อง ขา้ วกลอ้ งเพาะงอก

ข้าวกล้องเพาะงอก คืออะไร
ขา้ วกลอ้ งเพาะงอก คอื ข้าวกล้องท่นี ำมาแช่น้ำเพื่อทำใหง้ อก ซึ่งข้าวกลอ้ งที่จะนำมาแช่น้ำ ตอ้ งผ่านการกะเทาะเปลือก

มาไม่เกิน 2 สัปดาห์ ในขณะที่เมล็ดข้าวกล้องเริ่มงอก สารอาหารที่เก็บสะสมไว้ในเมล็ดข้าวจะถูกย่อยสลายโดยกระบวนการ
ทางชีวเคมี โดยสารอาหารพวกคาร์โบไฮเดรตจะถูกย่อยสลายได้เป็นคาร์โบไฮเดรตที่มีโมเลกุล เล็กลง และน้ำตาล
ส่วนสารอาหารพวกโปรตีนจะถูกย่อยสลายได้เป็นกรดอะมิโน และมีการสะสมสารเคมีที่สำคัญ เช่น แกมมาออริซานอล
(Gamma-Oryzanol) และโดยเฉพาะสารแกมมา อะมิโนบิวทิริก แอซิต (Gamma Amino butyric acid; GABA) ซึ่งจาก
งานวิจัยของสถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พบว่าข้าวกล้องเพาะงอกมีปริมาณสาร
GABA สูงมากกว่าข้าวกล้องปกติ 15.2-19.5 มิลลิกรัมต่อ 100 กรัมจะเห็นได้ว่าสารอาหารที่สำคัญในข้าวกล้องเพาะงอกไม่
แตกต่างไปจากข้าวกลอ้ ง ปกติเพียงแตว่ ่าข้าวกลอ้ งงอกจะมปี รมิ าณของสาร GABA เพมิ่ สูงขน้ึ

สาร GABA นั้น เป็นกรดอะมิโนที่ผลิตจากกระบวนการ decarboxylation ของกรดกลูตามิก สาร GABA ช่วยทำให้
เกิดการรักษาสมดุลในสมอง ทำให้เกิดความผ่อนคลาย ช่วยลดความดันโลหิต ลดอาการอัลไซเมอร์ และช่วยในการเจริญเติบโต
ทำให้เกิดการสร้างเนื้อเยื่อในร่างกาย เนื่องจากสาร GABA ไปกระตุ้นต่อมไร้ท่อให้ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนที่ช่วยใน
การเจริญเติบโต ดังนั้นการเลือกซื้อข้าวเพื่อบริโภคในครั้งต่อไปขอแนะนำให้เลือกซื้อ ข้าวกล้องเพาะงอก เพราะให้คุณค่า
ทางอาหารท่ีสูงกวา่ ขา้ วกลอ้ งปกติ
คุณค่าทางอาหาร ประโยชน์และสรรพคุณของข้าวกลอ้ งเพาะงอก

ข้าวกล้องเพาะงอกมคี ุณคา่ ทางอาหารที่สงู มาก ทำใหส้ ว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกายทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังน้ี
- สารต้านอนุมูลอิสระกล่มุ ฟีโนลคิ (phenolic compouds) ชว่ ยยับยง้ั การเกิดฝ้า ชะลอความแก่
- สารออริซานอล (orizanal)ลดอาการผิดปกติของวยั ทอง
- สารกาบา (GABA) ชว่ ยปอ้ งกนั โรคอัลไซเมอร์ หรอื โรคสญู เสียความทรงจำ ชว่ ยผอ่ นคลายทำจิตใจสงบหลับสบาย ลด
ความเครียดวิตกังวล ลดความดนั โลหิต
- ใยอาหาร (food fiber) ชว่ ยควบคมุ ระดับนำ้ ตาลในเลือด ปอ้ งกันมะเรง็ ลำไส้
- วิตามินอี (vitamin E) ลดการเหี่ยวยน่ ของผิว

ข้าวกล้องเพาะงอกมอี ะไรดีกวา่ ขา้ วขาว
- สาร GABA ช่วยทำให้เกิดการรักษาสมดุลในสมอง ทำให้เกิดความผ่อนคลาย ช่วยลดความดันโลหิต

ลดอาการอัลไซเมอร์ และช่วยในการเจริญเติบโต ข้าวกล้องเพาะงอกมีวิตามนิ บี 1 มากกว่าข้าวขาวประมาณ 4 เท่า ถ้ากินเป็น
ประจำ จะปอ้ งกนั โรคเหนบ็ ชา

- วติ ามินบี 2 มมี ากจะปอ้ งกนั โรคปากนกกระจอก
- วิตามินบีรวม มมี ากกว่าจะป้องกัน และบรรเทาอาการอ่อนเพลยี และขาไม่มแี รง อาการปวดแสบและเสยี วในขา ปวด
น่อง ปวดกล้ามเนื้อ ลิ้นแตกหรือมแี ผล ริมฝีปากเจ็บหรือมแี ผล โรคผิวหนัง บางชนิดโรคปลายประสาทอักเสบ และโรคเก่ียวกบั
ระบบประสาทบางชนดิ
- วติ ามินบรี วม ยังบำรงุ สมอง ทำให้เรยี นเก่งขน้ึ และเจรญิ อาหาร
- ธาตุเหล็ก มมี ากเป็น 2 เท่า ชว่ ยป้องกนั โลหิตจาง
- แคลเซยี ม มมี ากกว่า จะทำให้กระดกู แขง็ แรง ช่วยปอ้ งกันไม่ให้เป็นตะคริว
- ไขมนั มีมากกวา่ ใหพ้ ลังงานแกร่ า่ งกาย
- กากอาหาร มีมากกว่าจะชว่ ยปอ้ งกันทอ้ งผูก และมะเร็งลำไสใ้ หญ่
- เกลือแร่และวิตามินต่างๆ ในข้าวกล้อง มีรวมกัน 20 กว่าชนิด มีหน้าที่ทำให้การทำงานของส่วนต่างๆ ของร่างกาย
ทำงานอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและเสริมสร้างสว่ นที่สกึ หรอ
- โปรตีน มมี ากกว่าช่วยเสรมิ สร้างส่วนที่สกึ หรอ
- แป้ง (คาร์โบไฮเดรต) มีน้อยกว่าข้าวขาว ช่วยลดความอ้วน ส่วนคนที่ผอมจะสมบูรณ์ขึ้น เนื่องจากได้รับสารอาหาร
ต่างๆ ท่มี ีประโยชน์เพิ่มข้ึน
- มผี ลทำให้สุขภาพจิตและสตปิ ัญญาดขี ึ้น เพราะสุขภาพกายดขี ้นึ
นอกจากนี้ยังเหมาะสำหรับกลุ่มคนทีก่ ำลังไดเอตอยู่ เนื่องจากเปลือกที่มีเยื่อบางๆ หุ้มติดกับเนื้อขา้ วอยู่จะเหนียว แตก
ตวั ยาก ซ่ึงเย่ือนี้ไม่สามารถยอ่ ยได้ในร่างกายเราทำให้ไม่ได้รบั พลงั งานจากคารโ์ บไฮเดรต มพี ื้นทีส่ ัมผัสกบั น้ำย่อยน้อยกว่าในข้าว
ขาว ทำให้อินซูลินที่หลั่งออกมาน้อย ร่างกายก็เลยใช้พลังงานจากไขมัน ซึ่งต่างจากข้าวขาวธรรมดาที่ปกติก็มีพื้นที่สัมผัสกับ
น้ำย่อยในร่างกายเยอะอยู่แล้ว พอรับประทานข้าวขาวเข้าไป ก็ยิ่งสัมผัสกับน้ำย่อยมากขึ้นทำให้ได้รับน้ำตาลกลูโคสมาก เม่ือ
อินซูลินหลั่งออกมาก็จะนำกลูโคสเข้าไปทำให้ร่างกายหยุดใช้พลังงานจากไขมันแล้วหันมาใช้พลังงานจาก คาร์โบไฮเดรตแทน
นั่นเอง
วิธีการเลอื กข้าวกล้องเพาะงอกและการเก็บรักษา
ถงุ ปิดสนิท ไม่มรี อยแหว่งตรงปลายเมลด็ ข้าวมสี ีข่นุ กว่าขา้ วขาว และหากมสี ีเขียวอ่อนๆ ติดอยู่ แสดงว่าใหม่สดเพิ่งเก็บ
เกยี่ วมาใหม่ๆ ไม่ถกู ขัดสที งิ้ ไป ขา้ วตอ้ งอบหรือตากแหง้ สนิท ไม่มกี ลิ่นอับชนื้ หรือข้ึนรา บรรจุในถุงสะอาด ระบุสถานท่ี วนั เดือน
ปที ผ่ี ลติ ควรเกบ็ ในท่ีสะอาด มดิ ชิด ไมม่ มี อดหรือแมลงสาบ ซอ้ื ปริมาณทรี่ ับประทานหมดภายใน 2 – 3 สัปดาห์ เน่ืองจากอายุ
จะส้ันกวา่ ข้าวขาว ซ่ึงเกดิ ความช้ืนง่ายทำใหเ้ กดิ เชือ้ ราได้

ท่ีมา : www.facebook.com/ขา้ วหงษ์ทองไลฟ์ ขา้ วอร่อยเพื่อสุขภาพ.

ขัน้ ตอน แบบบันทึกการอ่านจบั ใจความสำคญั แบบ SQ4R
บทอา่ นประเภท …………………………………………………………….

รายละเอียด

S : Survey ................................................................................................................... .................................................
สำรวจ ................................................................................................................... .................................................
........................................................................................... .........................................................................
................................................................................................................... .................................................
................................................................................................................... .................................................
............................................................................................................ ........................................................

................................................................................................................... .................................................
........................................................................................... .........................................................................
Q : Question ....................................................................................................................................................................
ตง้ั คำถาม ....................................................................................................................................................................
............................................................................................................ ........................................................
................................................................................................................... .................................................

R : Record R : Read
จดบนั ทึก การอา่ น
................................................................................................................... .................................................
....................................................................................................................................................................
................................................................................................................... .................................................
................................................................................................................... .................................................
........................................................................................... .........................................................................

ขั้นตอน รายละเอียด

R : Recite ................................................................................................................... .................................................
สรุปความ ........................................................................................... .........................................................................

................................................................................................................... .................................................

................................................................................................................... .................................................

............................................................................................................ ........................................................

R : Reflect จุดมุ่งหมายของเรอ่ื ง
อภิปราย

แสดงความคดิ เห็น ....................................................................................................................................................................

........................................................................................... .........................................................................

................................................................................................................... .................................................

ข้อคดิ หรือความรู้ที่ได้
................................................................................................................... .................................................
....................................................................................................................................................................
................................................................................................................... .................................................

การนำไปปรบั ใช้ในชวี ิตประจำวนั
................................................................................................................... .................................................
....................................................................................................................................................................
................................................................................................................... .................................................

ขอ้ เสนอแนะอื่น ๆ
................................................................................................................... .................................................
........................................................................................... .........................................................................

แบบทดสอบทา้ ยบทเรียน
คำชแี้ จง : ให้นกั เรียนอา่ นข่าวแล้วทำเครอ่ื งหมายกากบาท (X) เลือกคำตอบที่ถูกต้องท่สี ดุ
**************************************************************************************************

๑. ข้าวกลอ้ งเพาะงอก คือ อะไร

ก. ขา้ วสาร ข. ข้าวท่ีนำมาแช่นำ้ เพื่อทำให้งอก

ค. ข้าวที่หุงสกุ แล้ว ง. ขา้ วทีร่ อการเกบ็ เกยี่ ว

๒. ใจความสำคัญของเร่อื งคืออะไร

ก. วธิ กี ารปลูกข้าวกล้องเพาะงอก ข. วิธีการนำมาประกอบอาหาร

ค. ประโยชน์ของขา้ วกลอ้ งเพาะงอก ง. ขอ้ ก และ ข ถูก

๓. สาร GABA ท่ีอยใู่ นขา้ วกล้อง คืออะไร

ก. วติ ามินเอ ข. วติ ามนิ บี

ค. เกลอื แร่ ง. กรดอะมโิ น

๔. สาร GABA มีประโยชน์ตอ่ รา่ งกาย ยกเว้นข้อใด

ก. ทำให้เกดิ การรักษาสมดุลในสมอง ข. ทำให้เกิดความผ่อนคลาย

ค. ทำให้กระดกู แข็งแรง ง. ทำให้ลดอาการอลั ไซเมอร์

๕. ข้าวกลอ้ งเพาะงอกมีคุณค่าทางอาหารทีส่ ูงมาก ทำให้ส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกายทำงานไดอ้ ย่างมี

ประสิทธภิ าพ ยกเว้นคุณคา่ ข้อใด

ก. สารต้านอนมุ ูลอสิ ระกล่มุ ฟีโนลิค (phenolic compouds) ช่วยยับยง้ั การเกิดฝ้า ชะลอความแก่

ข. ใยอาหาร (food fiber) ชว่ ยควบคมุ ระดบั นำ้ ตาลในเลือด ป้องกันมะเร็งลำไส้

ค. วติ ามินซี (vitamin C) ชว่ ยให้รา่ งการสดช่นื

ง. วิตามินอี (vitamin E) ลดการเห่ยี วยน่ ของผวิ

๖. วธิ ีการเลือกขา้ วกล้องเพาะงอก ควรเลือกอย่างไร

ก. เมลด็ ขา้ วสีใส แวววาว ข. ปลายเมลด็ ข้าวมสี ขี ่นุ

ค. เลด็ ท่ีหักเปน็ ท่อน ๆ ง. เมลด็ ท่ีไม่มีปลายข้าวตดิ อยู่

๗. วธิ ีการเกบ็ รักษาขา้ ว ควรเก็บไวใ้ ห้ดี ยกเวน้ ข้อใด

ก. ขา้ วต้องอบหรอื ตากแหง้ สนิท ไมม่ ีกล่ินอับช้นื หรือข้นึ รา

ข. บรรจุในถงุ สะอาด

ค. ควรเกบ็ ในท่ีสะอาด มิดชิด ไม่มีมอดหรือแมลงสาบ

ง. ซ้อื มาในจำนวนมาก ๆ เพ่ือให้สามารถกนิ ไดน้ าน

๘. จากบทความ นกั เรียนคิดว่าคนไทยควรตระหนักถึงส่งิ ใด

ก. สุขภาพร่างกาย และประโยชนข์ องข้าว ข. ชว่ ยอุดหนนุ ผลผลติ ของชาวนา

ค. การอนุรักษ์ขา้ ว ง. ไม่มขี ้อถูก

ใบความรู้ การจับใจความสำคัญ

การอ่านจับใจความสำคัญ หมายถึงการอ่านท่ีมุ่งคน้ หาสาระของข้อความหรือเรือ่ ง ความคิดสำคัญของเรือ่ ง ที่เป็นส่วน
ใจความสำคัญ และสว่ นขยายใจความสำคัญของเรื่อง

๑. ส่วนท่ีเปน็ ใจความหลกั หรือใจความสำคัญ หมายถงึ ใจความที่สำคัญ และเดน่ ทีส่ ุดในย่อหน้า เป็นแก่นของย่อหน้าท่ี
สามารถครอบคลมุ เน้ือความในประโยคอน่ื ๆ ในยอ่ หนา้ นั้น หรือประโยคทีส่ ามารถเปน็ หวั เร่อื งของย่อหน้านน้ั ได้ ถา้ ตัดเน้ือความ
ของประโยคอ่นื ออกหมด หรือสามารถเปน็ ใจความหรือประโยคเด่ยี ว ๆ ได้โดยไมต่ อ้ งมปี ระโยคอื่นประกอบ

๒. ส่วนทเ่ี ป็นใจความรองหรือพลความหรือส่วนท่ีขยายใจความหลัก คือ ประโยคทช่ี ่วยขยายความประโยคความสำคัญ
เป็นใจความสนับสนุนใจความสำคัญใหช้ ัดเจนข้ึน อาจเป็นการอธิบายใหร้ ายละเอยี ด ใหค้ ำจำกดั ความ ยกตวั อยา่ ง เปรียบเทียบ
หรือแสดงเหตผุ ลอย่างถ่ีถว้ น เพ่ือสนบั สนุนความคิด สว่ นที่มิใช่ใจความสำคัญ และมิใชใ่ จความรองแตช่ ่วยขยายความให้มากขึ้น
คือรายละเอยี ด

วิธีการอ่านจับใจความสำคัญ มีดังน้ี
๑. พจิ ารณาทีละยอ่ หน้า หาประโยคใจความสำคัญของแตล่ ะยอ่ หน้า
๒. ตัดส่วนที่เป็นรายละเอียดออกได้เช่น ตัวอย่าง สำนวนโวหาร อุปมาอุปไมย ตัวเลข สถิติตลอดจนคำถามหรือคำพูด

ของผู้เขียนซึ่งเป็นส่วนขยายใจความสำคญั
๓. สรปุ ใจความสำคญั ดว้ ยสำนวนภาษาของตนเอง

เรื่องส้ัน

เรื่องสน้ั คอื เรอื่ งทีเ่ ล่าอยา่ งสั้น ๆ มขี นาดความยาวของเรื่องท่ีไม่กำหนดตายตัว แต่ตอ้ งใช้คำไม่มากนัก โครงเรื่องก็
ตอ้ งไมม่ คี วามซบั ซ้อนจนเกนิ ไป สามารถอ้นจบไดใ้ นเวลาอนั ส้ัน แนวคิดของเรื่องกม็ ีเพียงแนวคดิ เดียว

ลักษณะของเรอ่ื งส้ัน
เรื่องสั้นเป็นงานเขียนประเภทบันเทิงคดีที่เกิดขึ้นในเมืองไทยประมาณรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

(รชั กาลท่ี ๔) โดยไดแ้ บบอยา่ งมาจากตะวนั ตก จึงมลี ักษณะ ดง้ น้ี
ความยาวเร่ืองสั้นต้องมีความยาวพอประมาณ อ่านจบได้ในเวลาไมเ่ กิน ๕๐ นาที ตามขาดมาตรฐานของเรื่องส้นั รุน่

เก่าควรมีจำนวนตำ ๔,๐๐๐ - ๕,๐๐๐ คำ แต่ถ้าเป็นเรื่องสั้นสมัยใหม่ จัดเป็นเรื่องสั้นขนาดยาวอาจมีจำนวนคำได้ถึง
๑๐,๐๐๐ คำ

ต้องมคี วามหนาแน่น หมายถึง ตอ้ งใชส้ ำนวนโวหาร การสรา้ งฉาก ตัวละคร บทสนทนา ฯลฯ ใหก้ ระชับรดั กุมและ
มีประโยชน์ต้อการดำเนินเรื่องมากทีส่ ดุ

- โครงเรื่อง (Plot) เรื่องสั้นควรมีโครงเรื่องเดียว ไม่ซับซ้อนเป็นข้อขัดแย้งกันระว่างตัวละครและต้องจบลงด้วยผล
อย่างใดอย่างหนงึ่

- แก่นของเรอื่ งหรือแนวคดิ เรือ่ งส้นั ควรม่งุ สอนแนวคดิ หรอื แกน่ ของเร่อื งเพยี งอยา่ งเดียว
- ตวั ละคร เรือ่ งส้ันควรมีตัวละครนอ้ ยตัวคอื ไม่ควรเกิน ๔ ตวั
- ฉาก เรอื่ งส้ันมฉี ากทีเ่ กดิ จากพฤติกรรมของตวั ละคร คือเหมาะกบั ตวั ละคร และสภาพแวดล้อม
- ตอนจบของเรื่อง (Climax) ตอนจบของเรื่องสั้นมักให้ความรู้แก่ผู้อ่านถึงความสมบูรณ์ของเนื้อหา
มี ๒ แบบ คือ จบอยา่ งธรรมดา และจบแบบหลีกความคาดหมาย หรอื จบแบบหก้ มมุ

ชนิดของเรือ่ งส้นั แบง่ ออกเป็น ๔ ชนิด คือ
๑. เรื่องสั้นประเภทแสดงแนวคิด (Theme Story) คือ ผู้เขียนมีอุดมคติหรือต้องการชี้ใผู้อ่านเห็นความจริงอย่างใด

อย่างหนึ่งของชีวิต
๒. เรื่องสั้นประเภทผูกเร่ือง (Plot Story) เรื่องสั้นประเภทนี้มีโครงเรื่องซับซ้อนนา่ ฉงน และจบชนิดที่ผูอ้ ่านคาดคดิ

ไม่ถงึ หรอื นกึ ไมถ่ งึ ว่าจะจบแบบน้นั
๓. เรื่องสั้นประเภทที่เพ่งเล็งจะแสดงลักษณะของตัวละคร (Character Story) เป็นเรื่องสั้นประภทที่ผู้เขียนถือตัง

ละครเป็นใหญ่ และต้องการจะเสนอลักษณะอยา่ งหน่งึ ชองคนเป็นสำคัญ
๔. เรื่องสั้นประเภทที่ถือฉากเป็นสำคัญ (Atmophere Story) เป็นการเขียนบรรยายสถานที่แห่งหนึ่งซึ่งมีลักษณะท่ี

ทำใหเ้ กดิ ความรู้สึกนกึ คดิ ไปตามพฤติกรรมและตวั ละครมีอดุ มคติ หรือต้องการชใ้ี หเ้ ห็นความจริงอย่างน่งึ ของชีวิต

เรอ่ื งสนั้ เรอื่ งก่อกองทราย

วนั องั คารท่ี 15 มนี าคม พ.ศ. 2559
ตอน เพ่ือนบุณย์

เพื่อนบุณย์เป็นเรื่องราวของพระภิกษุ 2 รูปที่เคยเป็นเพื่อนรักกันมาก่อน เดิมหลวงตาเป็นไอ้แคล้วผู้ซึ่งดื่มเหล้า
และเลน่ การพนันเป็นชีวิตจิตใจ แลว้ วนั หน่ึงความเปล่ียนแปลงคร้ังใหญ่ในชีวติ ของแคล้วและครอบครวั ก็เกิดข้ึนเมื่อเพ่ือนท่ีเคย
รักกันมาแต่อดีตมาเยี่ยมเยียนที่บ้านและร้องขอบิณฑบาตความแหลกเหลวทั้งหลายของแคล้วเพื่อตัวนายแคล้วและลูกเมียให้
พ้นจากนรก หลังจากนั้นนายแคล้วก็ได้บวชเป็นพระแคล้วจนได้กลายเป็นหลวงพ่อแก่ ๆ พำนักอยู่ในกุฏิเก่า ๆ เลี้ยงไก่แจ้
แจกจ่ายชาวบ้านที่มาขอ ส่วนพระมหาที่เคยเป็นเพื่อนรักกันกับหลวงพ่อเดี๋ยวนี้กลายเป็นท่านอาจารย์ผู้ที่ความศักดิ์สิทธิ์มี
ชอื่ เสียงโด่งดังไปท่ัวสารทศิ มผี ู้คนตา่ งฐานะ ตา่ งเพศ ตา่ งวยั จากท่วั ทกุ ทศิ มงุ่ หน้ามาส่วู ัดไม่ขาดสาย ดว้ ยจุดประสงค์ตา่ ง ๆ นานา
เชน่ ขอหวย ขอนำ้ มนต์ของขลังต่าง ๆ สว่ นค่าตอบแทนที่ท่านอาจารย์ได้รับจากคนเหล่านั้นทน่ี ำมาถวายก็เต็มไปด้วยสิ่งอำนวย
ความสะดวกต่าง ๆ ทำให้พระมหาที่เคยเป็นเพ่ือนร่วมใบบุญกับนายแคลว้ ในอดีตกลายเป็นท่านอาจารย์ท่ีหลงงมงายในทางโลก
อาศยั อยูบ่ นกฏุ ิเป็นตึกหลังใหญท่ ่ีมไี ฟฟ้าใชม้ ีส่ิงอำนวยความสะดวกมากมายทผ่ี ู้คนนำมาถวายเช่น โทรทศั น์ โทรศัพท์ พัดลม ฯ
ท่านอาจารย์ในตอนนี้เปลี่ยนเป็นคนละคนกับท่านมหาที่นายแคล้วเคยเคารพและศรัทธา ท่านอาจารย์เคยพูดกับหลวงพ่อว่า
ในเมอื่ ชาวบา้ นมศี รัทธานำมาถวายเราก็รบั ไว้ถึงอย่างไรก็ได้กบั วดั แต่สำหรับหลวงพ่อเห็นวา่ สง่ิ ของเหล่านั้นมันมากเกนิ ไป

วันหนึ่งหลังจากหลวงพ่อกับจากไปสวดงานศพของมรรคนายกขณะนั้นเวลาก็ประมาณเกือบเที่ยงคืนหลวงพ่อได้
มองไปทางตึกใหญ่เห็นไฟเปิดอยู่แต่เงียบสงัดจึงสงสัยเพราะปกติท่านอาจารย์จะปิดไฟตั้งแต่สี่ทุ่มหลวงพ่อจึงเข้ าไปดูในตึก
ภาพที่หลวงพ่อเห็นแล้วตกใจยิ่งนักก็คือข้าวของภายในตึกเกลื่อนกลาดและท่านอาจารย์นอนจมกองเลือดอยู่หน้าพระประธาน
ใหญ่

ขัน้ ตอน แบบบนั ทึกการอา่ นจับใจความสำคญั แบบ SQ4R
บทอ่านประเภท …………………………………………………………….

รายละเอียด

S : Survey ................................................................................................................... .................................................
สำรวจ ................................................................................................................... .................................................
........................................................................................... .........................................................................
................................................................................................................... .................................................
................................................................................................................... .................................................
............................................................................................................ ........................................................

................................................................................................................... .................................................
........................................................................................... .........................................................................
Q : Question ....................................................................................................................................................................
ตง้ั คำถาม ....................................................................................................................................................................
............................................................................................................ ........................................................
................................................................................................................... .................................................

R : Record R : Read
จดบันทึก การอา่ น
................................................................................................................... .................................................
................................................................................................................... .................................................
........................................................................................... .........................................................................
................................................................................................................... .................................................
................................................................................................................... .................................................

ขน้ั ตอน รายละเอียด

R : Recite ................................................................................................................... .................................................
สรุปความ ........................................................................................... .........................................................................

................................................................................................................... .................................................

................................................................................................................... .................................................

............................................................................................................ ........................................................

................................................................................................................... .................................................

R : Reflect จดุ มุ่งหมายของเร่ือง
อภิปราย

แสดงความคดิ เห็น ....................................................................................................................................................................

................................................................................................................... .................................................

........................................................................................... .........................................................................

ขอ้ คิดหรอื ความรทู้ ่ีได้
................................................................................................................... .................................................
................................................................................................................... .................................................
....................................................................................................................................................................

การนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวนั
................................................................................................................... .................................................
................................................................................................................... .................................................
....................................................................................................................................................................

ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ
................................................................................................................... .................................................
................................................................................................................... .................................................

แบบทดสอบทา้ ยบทเรยี น
คำชี้แจง : ให้นักเรียนอา่ นข่าวแล้วทำเคร่ืองหมายกากบาท (X) เลือกคำตอบท่ีถูกตอ้ งทสี่ ดุ
**************************************************************************************************
๑. ใจความสำคญั ของเรื่องส้ัน เรื่อง เพ่ือนบุญ คืออะไร

ก. ความโลภ
ข. บาป-บุญ
ค. การทำบุญ
ง. ความเชอื่
๒. เพอ่ื นบญุ กลา่ วถงึ ใคร
ก. แมช่ ี
ข. สามเณร
ค. พระภิกษุ
ง. ชาวบา้ น
๓. นายแคล้วบวชเปน็ พระดว้ ยสาเหตใุ ด
ก. แกบ้ น
ข. เพ่อื ลกู เมีย
ค. หนีความยากจน
ง. หาความสงบทางธรรม
๔. ใครพฤติกรรมไมเ่ หมาะสม หากนิ กบั ความเช่ือของชาวบ้าน
ก. พระแคล้ว
ข. พระมหา
ค. ชาวบ้าน
ง. ถกู ทุกขอ้
๕. พระมหามชี ่อื เสียงโด่งดงั ด้วยการทำส่งิ ใด
ก. เลขหวย
ข. นำ้ มนต์
ค. ของขลัง
ง. ถกู ทุกขอ้
๖. พระมหามรณภาพด้วยสาเหตใุ ด
ก. แก่ชรา
ข. หวั ใจวายเฉียบพลัน
ค. ถกู ทำร้าย
ง. ขอ้ ก และ ข ถูก


Click to View FlipBook Version