The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rateepansuwan53, 2022-07-30 23:47:35

Coding Achievement Awards

Coding Achievement Awards

1



คำนำ

รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของเอกสารประกอบการพิจารณาขอรับรางวัล การคัดเลือกผลงานดีเด่น
Coding“CODING Achievement Awards” ประเภทรายการผลงานครูดีเด่นUnplugged Coding ระดับ
ประถมศึกษา โดยมีจุดประสงค์ เพื่อการศึกษาความรู้ที่ได้จากเรื่องการสะกดคำโดยใช้สัญลักษณ์ ซึ่งรายงานนี้มี
เน้ือหาเกีย่ วกบั การสะกดคำในรายวิชาภาษาไทยชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1

ผู้จัดทำได้เลือก หัวข้อนี้ในการทำรายงาน เนื่องมาจากเป็นเรื่องที่น่าสนใจ ผู้จัดทำต้องขอขอบพระคุณ
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนวัดก่ิงแก้ว(เทวะพัฒนาคาร) ผูใ้ ห้ความรู้ และแนวทางการศึกษา ขอบพระคุณบุคลากร โณง
เรียนวัดกิ่งแก้ว (เทวะพัฒนาคาร)ทุกท่าน ที่ให้ความช่วยเหลือมาโดยตลอด ผู้จัดทำหวังว่ารายงานฉบับนี้จะให้
ความรู้ และเปน็ ประโยชน์แก่ผูอ้ ่านทุก ๆ ท่าน

ราตรี แป้นสุวรรณ

สารบัญ ข

คำนำ ก
สารบัญ ข
ประเดน็ ที่ ๑ การวิเคราะหก์ ารดำเนนิ การจัดการเรยี นรู้ Coding อย่างเปน็ ระบบ 1 – 20
ประเดน็ ท่ี ๒ แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ีเป็นแบบอย่างทีด่ ี 21 – 34
ประเด็นที่ 3 หลกั ฐานการจดั การเรยี นรู้ Coding 35
ประเดน็ ท่ี 4 หลกั ฐานผลทีเ่ กิดจากการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ Coding 37 - 38
ภาคผนวก

1

ประเด็นท่ี 1 การวเิ คราะหก์ ารดำเนินการจดั การเรียนรู้ Coding อย่างเปน็ ระบบ
๑. วเิ คราะห์ปัญหา/ความจำเปน็ ในการจัดการเรียนการรู้

จากการวิเคราะห์สภาพปัญหาการเรียนการสอนที่เกี่ยวกับการคิด จากแผนปฏิบัติการประจำปี
แบบประเมินรายวิชา คะแนนเฉลี่ยผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ประจำปีการศึกษา ๒๕6๔ และคะแนนเฉลี่ยผลการประเมินการทดสอบความสามารถ
พน้ื ฐานของผู้เรยี นระดับชาติ (National Test : NT) ประจำปกี ารศึกษา ๒๕6๔ จัดเป็นปญั หาใหญส่ รปุ ได้ดงั น้ี

1. บริบทของโรงเรียนทจ่ี ำเป็นตอ้ งรบั นักเรียนเข้าเรียนในระดับชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ น้ัน ส่วนใหญเ่ ป็น
นักเรียนที่มีระดับความรู้ปานกลาง และอ่อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักเรียนที่เข้าเรียนระดับชั้น
ประถมศึกษาปที ่ี 1 ท่มี ีพ้นื ฐานการเรียนจากระดบั ชนั้ อนุบาล ทจ่ี ัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์

2. ครูผู้สอนไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสอน เน้นให้นักเรียนท่องจำ พยัญชนะไทย สระและ
คำศัพท์ มิได้ปลูกฝังให้มีกระบวนการคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา นักเรียนจึงขาดทักษะในการวางแผน
การทำงานและไม่มีความอดทนท่จี ะขบคิดปัญหาเปน็ เวลานาน ๆ

จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น นักเรียนจึงควรมีลักษณะเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีทักษะ
ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ตามการจัดการเรียนรู้ จากแผนปฏิบัติงานประจำปี จึงจำเป็นอย่างยิง่ ที่ตอ้ งมี
ทักษะการคิดในชั้นเรียน การคิดและการสอนคิดจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งการจัดการศึกษาที่ต้องพัฒนาและ
ฝึกฝนจนเกิดเป็นทักษะติดตัวนักเรียนไปตลอดชีวิต การคิดอย่างมีจุดมุ่งหมาย มีทิศทาง มีกระบวนการท่ี
ดี รอบคอบ จะทำให้ได้คำตอบหรือบทสรุปที่มีคุณภาพ เชื่อมโยงไปสู่การกระทำหรือการดำรงชีวิตที่เหมาะสม
ของแต่ละบุคคลต่อไป เป้าหมายของการเรียนการสอนเพื่อให้นักเรียนเกิดพุทธพิสัยขั้นสูงหรือความความคิด
ระดับสูง หรือความคิดระดับสูง (Higher Order Thinking) ซึ่งประกอบด้วยระดับความคิดที่เน้นการ
นำไปใช้ การวเิ คราะห์
การสงั เคราะห์ และการประเมินค่า ผเู้ รยี นก็ยงั ไมเ่ ปน็ ไปตามความต้องการของสงั คม

จากปัญหาดังกล่าว จะเห็นว่าการสอนคิดหรือสอนให้เกิดทักษะการคิดให้ตัวผู้เรียนเป็นปัญหา
สำคัญ ครูผู้สอนต้องตระหนักและร่วมมือกันคิดหาแนวทางพัฒนาการเรียนการสอนเพื่อสร้างให้นักเรียนคิด
เป็น แม้ว่าการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้นักเรียนคิดเป็นและมีกระบวนการการคิดจะเป็นเรื่องยากแต่ก็
เปน็ สิ่งทีพ่ ัฒนาฝึกฝนไดโ้ ดยกระบวนการทางการศกึ ษา (ชัยวฒั น์ วรรณพงษ์ และคณะ, 2543 : 1)

ร่องรอยหลกั ฐาน
กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Unplugged มีการพูดถึงกันมากในปัจจุบัน กิจกรรมการเรียนรู้แบบ

Unplugged เป็นแนวคิดการจัดการเรียนการสอนคอมพิวเตอร์เพื่อสร้างความเข้าใจหลักการพื้นฐานของ
คอมพวิ เตอร์และตรรกศาสตร์ ผ่าน กจิ กรรมการเลน่ โดยไม่ใช้คอมพิวเตอร์ เชน่ กระดานเกม การลำาดับขั้นตอน
การเรียนโค้ดดง้ิ ผา่ นกระดาษ เพ่ือเปน็ สื่อในการเรียนรูห้ ลกั การของคอมพวิ เตอร์ โดยกระตุน้ ใหผ้ ้เู รยี นเรยี นร้อู ย่าง
สนุกสนาน และสามารถฝึก ทักษะการแก้ปัญหา การใช้ความสร้างสรรค์ การคิดอย่างเป็นระบบ และทักษะการ
สื่อสาร ซึ่งเป็นพื้นฐานท่ี เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ เช่น การเขียนคำสั่ง การเขียนโปรแกรม การลำดับการ
ทำงาน การใช้คอมพิวเตอร์ วิทยาการแบบพ้ืนฐาน การตรวจสอบความผิดพลาดของโปรแกรม เป็นต้น กิจกรรม
การเรยี นรูแ้ บบ Unplug มงุ่ ให้ผเู้ รยี นมีความเข้าใจแนวคิดพื้นฐานของตรรกศาสตร์และคอมพิวเตอร์ ให้เข้าใจถึง
เทคนิคขั้นพื้นฐานของ คอมพิวเตอร์ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมสู่การต่อยอดตามความสนใจของผู้เรียนใน
อนาคต

2

กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Unplugged ได้รับความสนใจอย่างมากทั่วโลกเพราะด้วยการจดั การ เรียนรู้ท่ี
เปลย่ี นไป และอยากใหผ้ ้เู รยี นเรียนรหู้ ลักการทำงานดา้ นตรรกศาสตร์ของคอมพิวเตอร์ แตด่ ้วย ขอ้ จำกัดในการใช้
งานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Unplugged จึงตอบสนองผู้เรียนได้ดีกว่าการเรียนรู้โดยใช้
คอมพิวเตอร์จริง โดยการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมแบบลงมือทำกระตุ้นการคิด และการแก้ปัญหาของ ผู้เรียน มี
หนังสือที่ชื่อว่า CS Unplugged ซีเอส อันปลั๊ก โปรแกรมเสริมสมรรถนะและขยายความสามารถ ของเด็กระดับ
ประถมศึกษาที่เขียนโดย Tim Bell กับ Ian H. Witten และ Mike Fellows และมีฉบับ ภาษาไทยที่ แปลโดย
คณาจารย์และนิสิตนักศึกษาของสถาบันเทคโนโลยนี านาชาตสิ ริ นิ ธร มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ โดยหนังสือเล่มน้ี
ได้นำเสนอกจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบ Unplugged ไวม้ ากมาย เช่น การคำนวณเลขฐานสอง
การแมปปิ้งและกราฟ การจัดเรียง และการเข้ารหัส ซึ่งจะช่วยในการเรียนรู้และเข้าใจ การทำงานของ
คอมพวิ เตอร์ ผเู้ รยี นต้องแก้ปญั หาดว้ ยความคิดสรา้ งสรรค์ และยงั ชว่ ยใหน้ ักเรียนคดิ แบบคอมพวิ เตอร์

ข้อมูลสถานศึกษา/ที่ต้งั /บริบทสถานศึกษา

โรงเรียนวดั กงิ่ แกว้ (เทวะพัฒนาคาร) รหสั โรงเรียน 10 หลกั : 1011020056 รหัส Smis 8 หลกั :
11020056 , รหัส Obec 6 หลัก : 570068 ตั้งอยู่เลขที่ 300 หมู่ที่ 13 ถนนกิ่งแก้ว ตำบลราชาเทวะ
อำเภอบางพลี จงั หวดั สมุทรปราการ รหสั ไปรษณีย์ 10540 สงั กดั สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษา
สมุทรปราการ เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร โทรศพั ท์ 02-178-
2 3 3 4 โ ท ร ส า ร 0 2 - 7 3 8 - 8 4 9 1 Email Address : wking@samutprakan2 com , Website :
www.watkingkaew.ac.th , Facebook : www.facebook.com/watkingkaewschoolsp2/ เปิดสอนระดับช้ัน
ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ถึงระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 วัน-เดอื น-ปี ก่อตงั้ : 16 มิถุนายน 2472

1. สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียน มีลักษณะเป็นชุมชนที่อาศัยเช่าที่ดินของวัดกิ่งแก้วแบ่งเช่าเป็นห้อง
แถวขนาดเล็ก และเป็นท่ีตั้งโรงงานอุตสาหกรรม สถานที่ใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ไดแ้ ก่ โรงงานอุตสาหกรรม และ
สถานที่ราชการ เชน่ สถานีอนามยั ประจำตำบลราชาเทวะ ศนู ยเ์ ด็กเลก็ ประจำอบต. วดั ก่งิ แก้ว โรงพยาบาลจุฬารัตน์
9 องค์การบริหารส่วนตำบลราชาเทวะ นิคมอุตสาหกรรมอัญธานี สนามบินสุวรรณภูมิ และสถานีตำรวจสุวรรณ
ภมู ิ อาชพี หลักของชุมชน คอื ทำงานรบั จา้ งในโรงงาน สว่ นใหญน่ บั ถือศาสนาพุทธ ประเพณี/ศลิ ปวัฒนธรรมท่ีเป็นที่
รู้จักโดยท่วั ไป คือ งานประเพณรี ับบวั ของอำเภอบางพลี ประเพณีนมัสการหลวงปู่เผือก และประเพณีตามวันสำคัญ
ทางพระพทุ ธศาสนา

2. ผู้ปกครองนักเรียนส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น อาชีพหลัก คือ ทำงานรับจ้างใน
โรงงาน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจ ฐานะทางยากจน/รายได้โดยเฉลี่ยต่อครอบครัวต่อปี
60,000 บาท จำนวนคนเฉลย่ี ต่อครอบครัว 5 คน

การสำรวจขอ้ มูลผเู้ รยี น/สารสนเทศของผู้เรยี น

1. หอ้ งสมดุ มีขนาด 224 ตารางเมตร จำนวนหนงั สอื ในหอ้ งสมดุ 15,000 เลม่ การสบื คน้ ข้อมูลจาก

อินเทอร์เน็ต และการยืม-คืนหนังสือ ใช้ระบบ ICT จำนวนนักเรียนที่ใช้ห้องสมุดในปีการศึกษาที่รายงานเฉล่ีย

200 คนตอ่ วนั

2. ห้องคอมพวิ เตอร์

- ใช้เพ่อื การเรียนการสอน จำนวน 90 เครอ่ื ง

- ใช้เพอ่ื การบรหิ ารจัดการ จำนวน 22 เครอ่ื ง

จำนวนนกั เรยี นที่สบื ค้นข้อมูลทางอินเตอรเ์ นต็ ในปีการศึกษาท่ีรายงานเฉลีย่ 423 คน/วัน

3

3.จำนวนนกั เรยี น และบคุ คลากร

แสดงจำนวนนักเรียนจำแนกตามระดบั ชน้ั ทเ่ี ปิดสอน และอตั ราส่วน จำนวนครู
(ขอ้ มลู ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2565)

ระดบั ช้นั จำนวนนักเรยี น จำนวน รวม(คน)
เพศ หอ้ งเรียน
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 50
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 2 ชาย หญงิ 2 62
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 23 27 3 63
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 35 27 2 75
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 5 32 31 3 73
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 33 42 3 75
36 37 2 398
รวมระดับประถมศึกษา 48 27 15 112
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 207 191 3 98
ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 2 52 60 3 86
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 53 45 4 296
45 41 10
รวมระดับมธั ยมศกึ ษา 150 146 694
25
รวมทั้งหมด 357 337

หมายเหตุ

อตั ราสว่ น จำนวนครู : จำนวนนักเรียน

ระดบั ประถมศกึ ษา 1 : 15

ระดบั มธั ยมศกึ ษา 1 : 16

จำนวนครูสายผ้สู อนทั้งหมด 52 คน(รวมครอู ตั ราจา้ งและพนักงานราชการ)

จำนวนครทู สี่ อนระดบั ประถมศึกษา 28 คน

จำนวนครทู ี่สอนระดับมัธยมศึกษา 19 คน

ครูพ่ีเล้ียงเด็กพเิ ศษ 1 คน

4

การวิเคราะหผ์ ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน/ผลการทดสอบระดบั ชาติ
ตารางรายงานผลการสอบ RT ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564

๑) คะแนนเฉลยี่ ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอา่ นของผ้เู รียน (Reading Test : RT)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕6๔

ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอา่ นของผู้เรยี น (Reading Test: RT)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 256๔

ร้อยละ 100 การอา่ นรูเ้ รื่อง รวม 2 ด้าน
้รอยละ 80
60
40
20

0 การอ่านออกเสยี ง

ระดับโรงเรยี น 74.88 89.69 82.28

ระดบั เขตพื้นที่ 62.94 70.03 66.52

ระดับจังหวดั 64.01 70.23 67.16

ระดบั สงั กัด สพฐ. 69.04 72.3 70.67

ระดบั ประเทศ 69.95 72.79 71.38

2) ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading
Test : RT) ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕6๔ จำแนกตามระดบั คุณภาพ

ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นของผเู้ รยี น (Reading Test : RT)
ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 1 ปกี ารศึกษา 256๔ จาแนกตามระดับคุณภาพ

120 การอา่ นออกเสยี ง การอ่านร้เู รือ่ ง รวม 2 ด้าน
100 53.84 96.15 76.92
80 40.38 3.84 23.07
60 5.76 0 0
40 0 0 0
20

0

ดมี าก
ดี
พอใช้
ปรบั ปรุง

5

๒. การวิเคราะห์ผูเ้ รยี นรายบุคคล เพอ่ื จดั การเรยี นรใู้ หเ้ หมาะสมกับผู้เรยี น
การสร้างเครื่องมือสำหรับนำมาทดสอบหรือตรวจสอบผู้เรียน เพื่อใช้เป็นข้อมูลสำหรับวิเคราะห์

ผู้เรียนถือเป็นเรื่องที่มีความจำเป็นและมีความสำคัญมาก ซึ่งสามารถทำได้หลายแนวทาง แต่ในที่นี้ ผู้สอนเลือก
ปฏิบัตแิ บบงา่ ย ๆ 2 แนวทาง ดงั น้ี

แนวทางที่1 นำผลการประเมินปลายปกี ารศกึ ษาท่ผี ่านมา ตลอดท้ังขอ้ มลู ดา้ นตา่ ง ๆทค่ี รู
ไดเ้ กบ็ รวบรวมไว้นำมาวิเคราะหแ์ ยกแยะตามเกณฑท์ ่ีกำหนดไว้ 3 ระดับ คอื
ระดับที่ 1 ตอ้ งปรบั ปรุงแก้ไข
ระดับท่ี 2 ปานกลาง (ผ่านเกณฑ)์
ระดบั ท่ี 3 ระดับดี – ดีมาก

การดำเนินการแยกแยะข้อมูลของนักเรยี นเป็นรายบคุ คลในแตล่ ะด้าน แล้วนำมากรอกข้อมลู ลงในแบบวิเคราะห์
ผู้เรียนรายบคุ คล จากนั้นได้ประมวลผลข้อมูลสรปุ กรอกลงในแบบสรุปผลการวิเคราะห์ผู้เรียนเมือ่ ได้ขอ้ สรุปแลว้
นำไปกำหนดแนวทางในการแก้ไขนักเรยี นท่ีควรปรับปรุงเร่ืองต่าง ๆ ในแต่ละด้านตอ่ ไป

แนวทางที่2 ครูผู้สอนสร้างเครื่องมือหรือแบบทดสอบเอง ให้เหมาะสมกับเร่ืองที่จะวิเคราะห์ผู้เรียนใน
แต่ละด้าน เช่น การวัดความรู้ความสามารถ หรือความพร้อมด้านสติปัญญา ควรใช้แบบทดสอบ ส่วนการ
ตรวจสอบความพร้อมพฤติกรรม ด้านรา่ งกายและจติ ใจ ด้านสังคม ควรใช้แบบสังเกต หรอื แบบสอบถาม

6

รอ่ งรอยหลักฐาน

แบบสรปุ ผลการวเิ คราะห์ผเู้ รียน ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 1/2 ปกี ารศกึ ษา 2565

โรงเรยี นวดั ก่งิ แกว้ (เทวะพัฒนาคาร)

ดา้ นท่ี รายการวเิ คราะห์ ดี ปานกลาง ปรบั ปรงุ หมาย
เหตุ
ผูเ้ รยี น จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ

1 ด้านความรู้ ความสามารถ 11 42.30 9 34.61 7 26.92

และ ประสบการณท์ างภาษา

1) ความรู้พืน้ ฐาน

2) ความสามารถในการแก้ปัญหา

3) ความสนใจ /สมาธใิ นการเรียน

2 ความพรอ้ มดา้ นสติปัญญา 11 42.30 9 34.61 7 26.92

1) ความคดิ ริเร่ิม สร้างสรรค์

2) ความมีเหตุผล

3) ความสามารถในการเรยี นรู้

3 ความพร้อมดา้ นพฤติกรรม 21 80.76 4 15.38 1 3.84

1) กลา้ แสดงออก

2) การควบคุมอารมณ์

3) ความมุ่งมนั่ ขยนั หมั่นเพียร

4 ความพรอ้ มดา้ นร่างกาย จติ ใจ 26 100 - - - -

1) สขุ ภาพร่างกายสมบูรณ์

2) การเจรญิ เติบโตสมวัย

3) มีสขุ ภาพจิตดี

5 ความพร้อมด้านสังคม 24 92.30 2 7.69 - -

1) การปรับตัวเข้ากับผอู้ ่นื

2) การชว่ ยเหลือ เสยี สละแบ่งปนั

3) มีระเบียบวินัย เคารพกฎ กติกา

ลงชอื่ …………………………..ครูผสู้ อน
(นางสาวราตรี แป้นสวุ รรณ)

7

ตาราง รอ้ ยละของนักเรียนที่มคี ะแนนเฉล่ียผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนแต่ละรายวชิ าระดับ
ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 1 – 6 ปีการศึกษา 2564

สรปุ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 – 6 จำนวน ร้อยละ
นักเรียนที่ นกั เรยี นท่ี
วชิ า จำนวน จำนวนนกั เรยี นทีม่ ีผลการเรียนรู้ ได้ระดับดี
นักเรียน เกรด เกรด ได้ระดบั ดี ข้นึ ไป
ภาษาไทย เกรด เกรด เกรด เกรด เกรด เกรด 3.5 4 ข้ึนไป
คณติ ศาสตร์ 0 1 1.5 2 2.5 3

วิทยาศาสตร์และ 402 6 7 2 15 20 80 88 184 352 87.56
เทคโนโลยี
402 6 4 29 32 72 71 74 114 331 82.34
สังคมศึกษา
ประวตั ิศาสตร์ 402 6 15 13 33 94 78 59 104 335 83.33
สุขศึกษาและพล
402 6 2 7 9 32 70 152 124 346 86.07
ศกึ ษา 402 6 4 5 15 32 124 105 111 340 84.58
ศิลปะ 402 6 1 1 3 19 37 94 241 372 92.54
การงานอาชพี
ภาษาอังกฤษ 402 612 2 21 89 68 213 370 92.04
รวม 402 620 6 9 75 90 214 379 94.28
คดิ เปน็ ร้อยละ 402 6 13 12 18 98 76 56 123 353 87.81
3,618 54 49 71 133 397 700 786 1428 3,178 87.84
100 1.49 1.35 1.96 3.68 10.97 19.35 21.72 39.47
87.84

รอ้ ยละของนักเรยี นท่ีมีเกรดเฉลย่ี ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นทุกวชิ าในระดบั ดี ข้นึ ไป
ระดับช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ปีการศึกษา 2564

87.81 87.84 87.84 87.56 82.34 83.33
94.28 92.04 92.54 84.58 86.07

ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์และ สังคมศึกษา ประวตั ิศาสตร์ สุขศึกษาและ
ศิลปะ การงานอาชีพ เทคโนโลยี รวม คดิ เป็นร้อยละ พลศึกษา

ภาษาอังกฤษ

8

- วเิ คราะหเ์ กย่ี วกับผ้เู รียนรายบุคคล SDQ /การแบ่งกลุ่มนักเรยี นรูปแบบตา่ ง ๆ เพื่อพัฒนาตามศกั ยภาพ
ของผู้เรียน

1. กลุ่มเก่ง หมายถึง นักเรียนที่มผี ลการเรียน ในระดับ มากกว่า 3.76 – 3.93 เป็นผู้ที่มีร่างกาย และ
จิตใจที่สมบูรณ์ ตามเกณฑ์ที่กำหนด มีสภาพครอบครัวที่สนับสนุนในการเรียน มีความรู้พื้นฐานพร้อมใน
การพฒั นาในการเรียนรายวชิ านี้ อย่างเตม็ ความสามารถ มจี ำนวน 13 คนรอ้ ยละ 32.5

2. กลุ่มพอใช้ หมายถึง นักเรียนที่มีผลการเรียนในระดับ 3.40 – 3.75 เป็นผู้ที่มีร่างกาย และจิตใจที่
สมบูรณ์ ตามเกณฑ์ที่กำหนด มีสภาพครอบครัวที่สนับสนุนในการเรียน มีความรู้พื้นฐานในระดับหนึ่ง พร้อมใน
การพฒั นาในการเรียนรายวชิ านี้ มจี ำนวน 13 คน รอ้ ยละ 32.5
3. กลุ่มเน้นการพัฒนา หมายถึง นักเรียนที่มีผลการเรียนในระดับต่ำกว่า 2.35 – 3.38 เป็นผู้ที่มีร่างกาย และ
จิตใจไม่สมบูรณ์ตามเกณฑ์ที่กำหนด มีสภาพครอบครัวที่ไม่เอ้ืออำนวยในการเรยี น มีความรู้พื้นฐานไม่ถึงเกณฑ์
ท่กี ำหนดพร้อมในการพฒั นาในการเรยี นรายวิชานี้ มจี ำนวน14 คนรอ้ ยละ 35

หมายเหตุ: การจำแนกกลุ่มผู้เรียนสามารถอิงจากเกณฑ์ระดับผลการเรียนหรืออิงกลุ่ม ขึ้นอยู่กับดุลย
พินจิ ของครผู ้สู อน

- วิเคราะหเ์ ก่ียวกบั ความตอ้ งการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ดา้ นการจดั การเรยี นรู้ทน่ี ักเรียนชนื่ ชอบ
ตารางแสดงผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ด้านการจดั การเรียนรู้ทน่ี ักเรียนช่ืนชอบ

รายการการจัดการเรียนรู้ อนั ดับ 1 อนั ดบั 2 อนั ดบั 3

แบบบรรยาย จำนวนคน รอ้ ยละ จำนวนคน ร้อยละ จำนวนคน รอ้ ยละ
อภิปราย 11 27.5 -- 25
แผนผัง -- 25 11 27.5
คำถาม 1 2.5 9 22.5 --
โครงงาน -- 6 15 --
บทบาทสมมติ -- 1 2.5 --
ทดลอง -- -- 25
กลุ่ม 25 11 27.5 8 20
บูรณาการ 5 12.5 -- 6 15
ระดมสมอง -- -- --
สาธติ 1 2.5 1 2.5 25
ลงมอื ทำ 5 12.5 1 2.5 25
แหลง่ เรยี นรู้ 8 20 4 10 6 15
ค้นหาความรู้ตนเอง 25 1 2.5 1 2.5
5 12.5 4 10 --

จากตารางพบว่า นกั เรียนสว่ นใหญ่ชอบการเรียนรู้แบบบรรยายซ่ึงถูกเลือกเป็นอันดบั 1 อันดบั ตอ่ มา คือ
การเรียนรู้แบบทดลอง และสุดท้ายคือการเรียนรู้แบบอภิปราย ซึ่งทั้งสามรายการล้วนแต่เป็นการเรียนรู้แบบ
ด้ังเดมิ

9

๓. การวิเคราะห์เพ่ือออกแบบการจัดการเรียนรู้ Coding

การวิเคราะห์แนวทางการออกแบบจัดการเรียนรู้ Coding ที่มีการวิเคราะห์ด้าน หลักสูตร/เนื้อหา/
จุดประสงค/์ รปู แบบหรือเทคนิควธิ สี อน ท่สี ามารถ นำมาใชแ้ ก้ปญั หาผ้เู รียน ทสี่ อดคลอ้ งกับศักยภาพ และบริบท
ของผู้เรียน สถานศึกษา และท้องถิ่น โครงการส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะด้านโค้ดดิ้งสู่สังคมดิจิทัล ใน
อนาคต (2562) โดยสำส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล หรือ DEPA กระทรวงดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคม ได้มี
นโยบายสง่ เสริมและสนับสนุนใหเ้ ยาวชนไทยสนใจ ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์เพื่อพฒั นาทักษะพื้นฐานดา้ นการ
คิดวิเคราะห์การแก้ปัญหา และใช้ความคิดสร้างสรรค์ซึ่งทักษะเหล่านี้จำเป็นและเป็นประโยชน์ต่อยอดไปสู่ การ
พัฒนาทักษะดิจิทัลขั้นสูงเพื่อเป็นการตอบรับ การพัฒนาทักษะแก่คนรุ่นใหม่จึงมีการบรรจุ สาระวิทยาการ
คำนวณไว้ในหลกั สูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. 2560) เพื่อให้
ผ้เู รียนได้เรยี นรู้ วทิ ยาการคอมพิวเตอร(์ Computer Science) พฒั นาทกั ษะดา้ นโคด้ ดิง้ ทท่ี ำให้เกดิ ความสามารถ
ในการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นขั้นเป็นตอน และใช้เทคโนโลยีในการพัฒนานวัตกรรม เมื่อโลกเข้าสู่ยุคดิจิทัล
หุ่นยนต์และ AI เข้ามามีสว่ นสำคัญในโลกธุรกจิ และ การผลิต ดงั นั้น “ภาษา” สำคัญในโลกยุคตอ่ ไปจะเป็นภาษา
ที่ใช้สื่อสารทำความ เข้าใจและจัดการกับระบบคอมพิวเตอร์ทกั ษะความเข้าใจเรื่องโค้ดและระบบ การเขียนโค้ด
(Coding)จึงเป็นทักษะสำคัญ โค้ดดิ้ง(Coding) เป็นการใช้ชุดคำสั่ง หรือสัญลักษณ์เพื่อสื่อถึงลำดับขั้นตอน การ
ทำงานบางอย่างที่เราต้องการ ซึ่งมีหลายรูปแบบ ทั้งการใช้ชุดคำส่ังที่ไม่ต้อง ใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
(unplugged) เช่น การใช้บัตรคำสั่งด้วยข้อความหรือ สัญลักษณ์ที่มนุษย์เข้าใจได้ง่าย และการใช้ชุดคำสั่งที่ต้อง
ใช้คอมพิวเตอร์ (plugged) เช่น การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น Basic Python
Java C หรือ Pascal เป็นต้น โดยสามารถเลือกใช้ได้ 7 ตามความเหมาะสมกับชิ้นงาน หรือความถนัด ของ
ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในกระบวนการ เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ได้ ซอฟต์แวร์หรือนวัตกรรมที่มาช่วย
แก้ปัญหา ตามที่ต้องการ จำเป็นต้องมีทักษะการคิด เชิงคำนวณ (Computational Thinking) มาช่วยแก้ปัญหา
ด้วยการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลเป็นขั้นตอนและมีลำดับ วิธีคิด เพื่อหาวิธีการแก้ปัญหาในรูปแบบที่สามารถ
นำไปประมวลผลได้อย่าง มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังสามารถนำทักษะการคิดเชิงคำนวณไปใช้แก้ปัญหา ใน
ศาสตร์อื่น ๆ และปัญหาในชีวิตประจำวันได้ด้วย วิธีคิดแบบวิทยาการคำนวณ จึงไม ่ใช ่แค ่เพียงการเขียน
โปรแกรมคอมพิวเตอร์แต่มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้คิด และเชื่อมโยงปัญหาต่าง ๆ จนสามารถคิดแก้ไขปัญหาได้อย่าง
เป็นระบบและ นำมาโค้ดดิ้ง (Coding) คือ การเขียนโค้ดด้วยภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อนำไปพัฒนา นวัตกรรมใน
การแก้ไขปัญหาหรือสร้างสรรค์นวัตกรรมอื่น ๆ การโค้ดดิ้ง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอนในวิชา
วิทยาการคำนวณ จะทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และมีทักษะในการคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาเป็นขั้นเป็นตอน และเป็น
ระบบ สามารถประยกุ ต์ใชค้ วามรดู้ า้ นวทิ ยาการคอมพิวเตอรเ์ ทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารมาแก้ปัญหาท่ี
พบในชีวิตจรงิ หรือพัฒนานวัตกรรม ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ นโยบายในการขบั เคล่ือนการจัดการเรียนร้โู ค้ดดงิ้ ใน
โรงเรียน ทำให้เกิด ความร่วมมือของหน่วยงานต่าง ๆ อาทิศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ คอมพิวเตอร์
แห่งชาติ (เนคเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ(สวทช.) สำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ.) ในการพฒั นา ครู และบุคลากรทางการศึกษา โดยมีโครงการที่จัดข้นึ เพ่ือพัฒนาขีด
ความสามารถในการจัดการสอน Coding ให้มีประสิทธิภาพ เช่น โครงการ KruKid Contest ซึ่งเป็นโครงการที่
ส่งเสริมให้เกิดการประยุกต์ใช้บอร์ด 8 KidBright เป็นชุดสื่อการเรียนการสอนในโรงเรียน ส่งเสริมให้เกิดการ
เขยี น เพอื่ โคด้ ด้ิงและนำผลงานทีพ่ ัฒนามาใช้งานจรงิ

10

ร่องรอยหลักฐาน
-วิเคราะห์เพื่อออกแบบที่แสดง ถึงสาระสำคัญของการจัดการเรียนรู้ ด้าน Coding ในหัวข้อท่ี

เกี่ยวกับ การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ เป็นขั้นตอน เหตุผลเชิงตรรกะ แนวคิด เชิงคำนวณ การเขียน
โปรแกรม หรอื หัวข้ออืน่ ท่มี ีการบูรณาการ

- วเิ คราะห์หลักสตู รแกนกลางพทุ ธศกั ราช 2551 และมาตรฐานการเรียนรู้ และตวั ช้ีวัดฯ ฉบบั ปรับปรงุ
พ.ศ. 2560/ หลักสตู รสถานศึกษา / หลักสูตรท้องถิ่น ใหเ้ หมาะกับผเู้ รียน

ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง

สาระที่ ๑ การอา่ น

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความร้แู ละความคดิ เพือ่ นำไปใช้ตัดสินใจ แกป้ ัญหาในการดำเนิน

ชีวติ และมีนิสยั รกั การอ่าน

ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.๑ ๑. อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และขอ้ ความ การอ่านออกเสียงและบอกความหมายของคำ คำคล้องจอง

สน้ั ๆ และข้อความท่ปี ระกอบดว้ ย คำพนื้ ฐาน คอื คำทใี่ ชใ้ น

๒. บอกความหมายของคำ และข้อความที่อา่ น ชีวิตประจำวัน ไม่นอ้ ยกว่า ๖๐๐ คำ รวมท้ังคำทใ่ี ชเ้ รยี นรู้ใน

กลุ่มสาระการเรยี นรอู้ ่นื ประกอบดว้ ย

- คำทม่ี ีรปู วรรณยุกต์และไม่มีรูปวรรณยุกต์

- คำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา

- คำทมี่ ีพยัญชนะควบกลำ้

- คำท่ีมีอักษรนำ

๓. ตอบคำถามเกย่ี วกบั เร่ืองที่อา่ น การอา่ นจบั ใจความจากสื่อตา่ งๆ เช่น
๔. เล่าเรอ่ื งยอ่ จากเร่ืองที่อา่ น - นิทาน
๕. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อา่ น - เร่ืองสนั้ ๆ
- บทร้องเล่นและบทเพลง

- เรอื่ งราวจากบทเรยี นในกล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทยและ
กลุม่ สาระการเรยี นรอู้ ืน่

11

ชน้ั ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง

๖. อ่านหนงั สือตามความสนใจ อย่างสม่ำเสมอ การอ่านหนังสือตามความสนใจ เชน่
และนำเสนอเรื่องท่ีอา่ น - หนังสอื ทนี่ กั เรยี นสนใจและเหมาะสมกับวยั
- หนงั สอื ทค่ี รแู ละนกั เรียนกำหนดรว่ มกัน

๗. บอกความหมายของเครื่องหมาย หรือ การอา่ นเคร่ืองหมายหรือสญั ลกั ษณ์ ประกอบดว้ ย

สัญลักษณส์ ำคัญท่มี ักพบเห็นในชวี ติ ประจำวัน - เคร่อื งหมายสญั ลกั ษณต์ ่าง ๆ ที่พบเหน็ ในชีวติ ประจำวนั

- เครือ่ งหมายแสดงความปลอดภัยและแสดงอันตราย

๘. มมี ารยาท ในการอา่ น มารยาทในการอ่าน เช่น
- ไม่อา่ นเสียงดังรบกวนผอู้ ื่น
- ไมเ่ ล่นกันขณะทีอ่ ่าน

สาระที่ ๒ การเขียน

มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบ

ตา่ งๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นควา้ อย่างมีประสิทธิภาพ

ชน้ั ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.๑ ๑. คดั ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด การคดั ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรปู แบบการเขียนตัว

อกั ษรไทย

๒. เขียนสอื่ สารดว้ ยคำและประโยคงา่ ยๆ การเขยี นส่ือสาร

- คำทใ่ี ชใ้ นชีวิตประจำวนั

- คำพน้ื ฐานในบทเรยี น

- คำคลอ้ งจอง

- ประโยคง่าย ๆ

๓. มีมารยาทในการเขยี น มารยาทในการเขยี น เช่น

- เขยี นใหอ้ า่ นง่าย สะอาด ไม่ขีดฆา่

- ไมข่ ดี เขยี นในที่สาธารณะ

- ใชภ้ าษาเขียนเหมาะสมกบั เวลา สถานท่ี และบคุ คล

สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพดู

มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟังและดอู ย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และความรูส้ ึกในโอกาส

ตา่ งๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์

ชน้ั ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.๑ ๑. ฟงั คำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัตติ าม การฟังและปฏบิ ัติตามคำแนะนำ คำส่งั ง่าย ๆ

๒. ตอบคำถามและเลา่ เร่ืองที่ฟังและดู ท้ังที่ การจับใจความและพูดแสดงความคิดเห็น ความร้สู กึ จากเรอ่ื ง

เปน็ ความรูแ้ ละความบนั เทิง ทฟี่ งั และดู ท้งั ท่เี ปน็ ความรู้และความบนั เทงิ เชน่

๓. พูดแสดงความคิดเหน็ และความรูส้ กึ จาก - เร่อื งเลา่ และสารคดีสำหรับเด็ก

เร่อื งที่ฟังและดู - นทิ าน

- การต์ นู

- เรอื่ งขบขนั

ชนั้ ตัวช้วี ัด 12
๔. พูดสือ่ สารไดต้ ามวัตถุประสงค์
สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
๕. มมี ารยาทในการฟงั การดู และการพดู การพูดสือ่ สารในชวี ิตประจำวัน เช่น
- การแนะนำตนเอง
- การขอความชว่ ยเหลอื
- การกลา่ วคำขอบคุณ
- การกลา่ วคำขอโทษ
มารยาทในการฟงั เช่น
- ตั้งใจฟงั ตามองผู้พูด
- ไมร่ บกวนผอู้ ื่นขณะท่ีฟัง
- ไม่ควรนำอาหารหรือเครื่องด่มื ไปรับประทานขณะที่ฟัง
- ให้เกยี รติผู้พูดด้วยการปรบมือ
- ไมพ่ ูดสอดแทรกขณะที่ฟัง
มารยาทในการดู เชน่
- ต้งั ใจดู
- ไม่สง่ เสียงดงั หรอื แสดงอาการรบกวนสมาธิของผู้อ่ืน
มารยาทในการพดู เช่น
- ใชถ้ ้อยคำและกริ ยิ าท่สี ภุ าพ เหมาะสมกับกาลเทศะ
- ใชน้ ำ้ เสยี งนุ่มนวล
- ไม่พดู สอดแทรกในขณะทผี่ ู้อื่นกำลงั พูด

สาระท่ี ๔ หลักการใช้ภาษาไทย

มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา

ภูมปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ิของชาติ

ช้ัน ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.๑ ๑. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต์ พยญั ชนะ สระ และวรรณยกุ ต์

และเลขไทย เลขไทย

๒. เขยี นสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ การสะกดคำ การแจกลกู และการอา่ นเป็นคำ

มาตราตวั สะกดท่ีตรงตามมาตราและไมต่ รงตามมาตรา

การผันคำ

ความหมายของคำ

๓. เรียบเรยี งคำเป็นประโยคง่าย ๆ การแตง่ ประโยค

๔. ต่อคำคล้องจองงา่ ยๆ คำคล้องจอง

13

สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม

มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคดิ เหน็ วจิ ารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คุณค่าและนำมา

ประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ จรงิ

ชนั้ ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.๑ ๑. บอกข้อคิดท่ีไดจ้ ากการอ่านหรอื การฟงั วรรณกรรมรอ้ ยแกว้ และร้อยกรองสำหรบั เด็ก เชน่

วรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรบั เด็ก - นทิ าน

- เร่อื งสนั้ ง่าย ๆ

- ปริศนาคำทาย

- บทร้องเลน่

- บทอาขยาน

- บทรอ้ ยกรอง

- วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรยี น

๒. ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนด และบท บทอาขยานและบทร้อยกรอง

ร้อยกรองตามความสนใจ - บทอาขยานตามที่กำหนด

- บทร้อยกรองตามความสนใจ

จดั ทำคำอธิบายรายวิชา 14

คำอธิบายรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย
เวลาเรยี น 200 ชวั่ โมง
ท 11101 ภาษาไทย(ประยุกตว์ ิชาวทิ ยาการคำนวณ)
ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 1

ศึกษาและฝึกอ่านออกเสียงคำพื้นฐานที่ใช้ในชีวิตประจำวัน รวมทั้งคำที่ใช้เรียนรู้ในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้อื่น บอกความหมายของคำและข้อความที่อ่าน อ่านจับใจความจากสื่อต่าง ๆ แล้วสามารถ
ตอบคำถาม เล่าเรื่องย่อ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอ
และนำเสนอเรอื่ งที่อ่าน อา่ นเครื่องหมายหรือสญั ลักษณ์ที่พบเหน็ ในชีวติ ประจำวนั และมมี ารยาทในการอ่าน คัด
ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่าย ๆ และมี
มารยาทในการเขียน ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่าย ๆ และปฏิบัติตาม จับใจความจากเรื่องท่ีฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้
และความบันเทิง โดยตอบคำถาม เล่าเรื่อง พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึก พูดแนะนำตนเอง ขอความ
ช่วยเหลือ กล่าวคำขอบคุณ ขอโทษ และมีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด บอกและเขียนพยัญชนะ สระ
วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่าย ๆ และต่อค ำ
คล้องจองง่าย ๆ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก และ
ท่องจำบทอาขยานตามทก่ี ำหนดและบทรอ้ ยกรองตามความสนใจ

กิจกรรมการเรียนรู้เน้นให้ผู้เรียนฝึกทักษะการฟัง การดู และการพูด ด้วยการฟังนิทาน สังเกตภาพ
สำรวจสิ่งรอบตัว สนทนาจากประสบการณ์ ทายปริศนา เล่นเกม และร้องเพลง โดยสอดแทรกกิจกรรม
ใหฝ้ ึกฝนการอา่ นและการเขียน

การแกป้ ัญหาโดยการลองผิดลองถกู การเปรยี บเทยี บ การเขียนโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้ซอฟตแ์ วร์หรือ
สื่อ การใช้งานอุปกรณ์เทคโนโลยีเบื้องต้น การใช้งานซอฟต์แวร์เบื้องต้น ใช้การสืบเสาะหาความรู้ สังเกต
สำรวจตรวจสอบโดยใช้เครอ่ื งมอื อย่างงา่ ย รวบรวมขอ้ มูล บันทึก และอธิบายผลการสำรวจตรวจสอบ เพอื่ ให้เกิด
ความรคู้ วามเข้าใจ มีทักษะกระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตร์ข้ันพ้นื ฐานและมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ ใน
ด้านการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารเบื้องต้น สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์
สามารถทำงาน รว่ มกับผ้อู ืน่ แสดงขั้นตอนการแก้ปญั หาอยา่ งง่าย เขยี นโปรแกรมโดยใช้ส่ือ

เพื่อให้เกิดความเข้าใจหลักภาษา เกิดทักษะในการใช้ภาษาสื่อสาร สามารถนำไปใช้
ในชีวติ ประจำวันได้ มคี วามชื่นชม เห็นคุณคา่ ภูมิปัญญาไทย และภูมใิ จในภาษาประจำชาติ

15

- วิเคราะห์ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง/เน้ือหา/จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เพื่อจัดทำ
หลกั สตู รสถานศึกษา / หลกั สตู รทอ้ งถ่ิน ให้เหมาะกบั ผเู้ รียน

โครงสร้างรายวชิ าพื้นฐาน ภาษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1

ลำดบั ที่ ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู/้ สาระสำคัญ เวลาเรยี น นำ้ หนกั
ตวั ช้ีวัด (ช่ัวโมง) คะแนน

1 ภาษาพาที บทที่ 1 ท 1.1 ป.1/1 การเรียนร้คู ำ ผู้เรียนตอ้ งเรียนรู้ 10
ท้งั ในดา้ นองคป์ ระกอบ หลักการ
ใบบัวใบโบก ท ๓.๑ ป.๑/๑ อา่ นแจกลูกสะกดคำ ความหมาย
และหลกั การใช้ จึงจะสามารถนำ
ท ๔.๑ ป.๑/๑ คำไปใช้ไดถ้ ูกตอ้ งตามสถานการณ์
โดยประยุกต์ใช้รว่ มกับรายวชิ า
ท ๔.๑ ป.๑/๒ วทิ ยาการคำนวณ

ท ๕.๑ ป.๑/๑

2 ภาษาพาที บทท่ี 2 ท ๑.๑ ป.๑/๑ การฝึกอ่านคล่อง ต้องหมั่นฝึกฝน 10
อยู่เป็นประจำ เริ่มจากการฝึก
ภูผา ท ๑.๑ ป.๑/๗ อ่านคำที่คล้องจองกัน อ่านแล้ว
จะทำให้เกิดความเพลิดเพลิน
ท ๒.๑ ป.๑/๗ สนุกสนาน มีนิสัยรักการอ่านโดย
ท ๔.๑ ป.๑/๑ ประยุกต์ใช้ร่วมกับรายวิชา
วิทยาการคำนวณ
ท ๔.๑ ป.๑/๒

3 ภาษาพาที บทท่ี 3 ท ๑.๑ ป.๑/๑ การฝึกทักษะทางด้านภาษาต้อง 10
เริ่มต้นจากการฟังก่อน แล้วเริ่ม
เพอ่ื นกัน ท ๑.๑ ป.๑/7 ฝึกออกเสียงตาม ถ้าฝึกฟังและคำ
คล้องจองกัน แล้วฝึกอ่านแล้วทำ
ท ๒.๑ ป.๑/๗ ใ ห ้ เ ก ิ ด ค ว า ม เ พ ล ิ ด เ พ ลิ น
สนุกสนาน มีนิสัยรักการอ่านโดย
ท ๓.๑ ป.๑/๒ ประยุกต์ใช้ร่วมกับรายวิชา
วทิ ยาการคำนวณ
ท ๔.๑ ป.๑/๑

ท ๔.๑ ป.๑/๒

4 ภาษาพาที บทที่ 4 ท ๑.๑ ป.๑/๑ การเรียนรู้คำ ผู้เรียนต้องเรียนรู้ 10
ตามหา ท ๒.๑ ป.๑/๗ ทั้งในด้านองค์ประกอบ หลักการ
ท ๓.๑ ป.๑/๓ อ่านแจกลูกสะกดคำ ความหมาย
ท ๔.๑ ป.๑/๑ และหลักการใช้ จึงจะสามารถนำ
ท ๔.๑ ป.๑/๒ คำไปใชไ้ ด้ถกู ตอ้ งตามสถานการณ์
โดยประยุกต์ใช้ร่วมกับรายวิชา
วทิ ยาการคำนวณ

16

- จดั ทำประมวลผลรายวิชา

คำอธบิ ายรายวิชา

ท 11101 ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1 เวลาเรยี น 200 ช่ัวโมง

ศึกษาและฝึกอ่านออกเสียงคำพื้นฐานที่ใช้ในชีวิตประจำวัน รวมทั้งคำที่ใช้เรียนรู้ในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้อื่น บอกความหมายของคำและข้อความที่อ่าน อ่านจับใจความจากสื่อต่าง ๆ แล้วสามารถ
ตอบคำถาม เล่าเรื่องย่อ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอ
และนำเสนอเรอ่ื งที่อ่าน อา่ นเครื่องหมายหรือสญั ลักษณ์ที่พบเหน็ ในชีวิตประจำวนั และมมี ารยาทในการอา่ น คัด
ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่าย ๆ และมี
มารยาทในการเขียน ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่าย ๆ และปฏิบัติตาม จับใจความจากเร่ืองที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้
และความบันเทิง โดยตอบคำถาม เล่าเรื่อง พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึก พูดแนะนำตนเอง ขอความ
ช่วยเหลือ กล่าวคำขอบคุณ ขอโทษ และมีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด บอกและเขียนพยัญชนะ สระ
วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่าย ๆ และต่อคำ
คล้องจองง่าย ๆ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก และ
ทอ่ งจำบทอาขยานตามทก่ี ำหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ

กิจกรรมการเรียนรู้เน้นให้ผู้เรียนฝึกทักษะการฟัง การดู และการพูด ด้วยการฟังนิทาน สังเกตภาพ
สำรวจสิ่งรอบตัว สนทนาจากประสบการณ์ ทายปริศนา เล่นเกม และร้องเพลง โดยสอดแทรกกิจกรรม
ใหฝ้ ึกฝนการอา่ นและการเขยี น

การแก้ปญั หาโดยการลองผิดลองถูก การเปรยี บเทยี บ การเขยี นโปรแกรมอยา่ งงา่ ยโดยใชซ้ อฟตแ์ วร์หรือ
สื่อ การใช้งานอุปกรณ์เทคโนโลยีเบื้องต้น การใช้งานซอฟต์แวร์เบื้องต้น ใช้การสืบเสาะหาความรู้ สังเกต
สำรวจตรวจสอบโดยใชเ้ ครื่องมอื อยา่ งง่าย รวบรวมข้อมลู บันทกึ และอธบิ ายผลการสำรวจตรวจสอบ เพือ่ ให้เกิด
ความรู้ความเข้าใจ มที กั ษะกระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตร์ขั้นพ้นื ฐานและมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ใน
ด้านการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารเบื้องต้น สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์
สามารถทำงาน รว่ มกับผู้อ่นื แสดงขนั้ ตอนการแก้ปัญหาอย่างง่าย เขียนโปรแกรมโดยใช้สื่อ

เพื่อให้เกิดความเข้าใจหลักภาษา เกิดทักษะในการใช้ภาษาสื่อสาร สามารถนำไปใช้
ในชีวติ ประจำวนั ได้ มีความช่ืนชม เห็นคุณค่าภูมปิ ญั ญาไทย และภมู ิใจในภาษาประจำชาติ

รหสั ตัวช้ีวัด
ท 1.1 ป. 1/1, ป. 1/2, ป. 1/3, ป. 1/4, ป. 1/5, ป. 1/6, ป. 1/7, ป. 1/8
ท 2.1 ป. 1/1, ป. 1/2, ป. 1/3
ท 3.1 ป. 1/1, ป. 1/2, ป. 1/3, ป. 1/4, ป. 1/5
ท 4.1 ป. 1/1, ป. 1/2, ป. 1/3, ป. 1/4
ท 5.1 ป. 1/1, ป. 1/2

รวมทั้งหมด 22 ตัวช้ีวัด

17

โครงสร้างรายวชิ าพน้ื ฐาน ภาษาไทย
ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 100 ช่ัวโมง

ลำดบั ท่ี ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนร้/ู สาระสำคัญ เวลาเรียน นำ้ หนกั
ตวั ช้วี ดั (ชว่ั โมง) คะแนน

1 ภาษาพาที บทท่ี 1 ท 1.1 ป.1/1 การเรียนรู้คำ ผ้เู รยี นตอ้ ง 10
เรียนรูท้ ้ังในดา้ นองค์ประกอบ
ใบบัวใบโบก ท ๓.๑ ป.๑/๑ หลกั การอ่านแจกลูกสะกดคำ
ความหมายและหลกั การใช้
ท ๔.๑ ป.๑/๑ จงึ จะสามารถนำคำไปใช้ได้
ถูกต้องตามสถานการณ์โดย
ท ๔.๑ ป.๑/๒ ประยุกตใ์ ช้รว่ มกับรายวิชา
วิทยาการคำนวณ
ท ๕.๑ ป.๑/๑

2 ภาษาพาที บทท่ี 2 ท ๑.๑ ป.๑/๑ การฝึกอ่านคลอ่ ง ต้องหม่นั 10
ฝกึ ฝนอยเู่ ปน็ ประจำ เริ่มจาก
ภผู า ท ๑.๑ ป.๑/๗ การฝกึ อ่านคำที่คล้องจองกัน
อา่ นแล้วจะทำให้เกิดความ
ท ๒.๑ ป.๑/๗ เพลิดเพลินสนุกสนาน มนี ิสัย
ท ๔.๑ ป.๑/๑ รกั การอ่านโดยประยุกต์ใช้
ร่วมกับรายวชิ าวิทยาการ
ท ๔.๑ ป.๑/๒ คำนวณ

3 ภาษาพาที บทที่ 3 ท ๑.๑ ป.๑/๑ การฝึกทักษะทางด้านภาษา 10
ต้องเริ่มต้นจากการฟังก่อน
เพ่อื นกนั ท ๑.๑ ป.๑/7 แล้วเริ่มฝึกออกเสียงตาม ถ้า
ฝึกฟังและคำคล้องจองกัน
ท ๒.๑ ป.๑/๗ แล้วฝึกอ่านแล้วทำให้เกิด
ความเพลิดเพลินสนุกสนาน มี
ท ๓.๑ ป.๑/๒ นิสัยรักการอ่านโดย
ประยุกต์ใช้ร่วมกับรายวิชา
ท ๔.๑ ป.๑/๑ วิทยาการคำนวณ

ท ๔.๑ ป.๑/๒

4 ภาษาพาที บทท่ี 4 ท ๑.๑ ป.๑/๑ การเรียนรู้คำ ผู้เรียนต้อง 10
ตามหา ท ๒.๑ ป.๑/๗ เรียนรู้ทั้งในด้านองค์ประกอบ
ท ๓.๑ ป.๑/๓ หลักการอ่านแจกลูกสะกดคำ
ท ๔.๑ ป.๑/๑ ความหมายและหลักการใช้
ท ๔.๑ ป.๑/๒ จึงจะสามารถนำคำไปใช้ได้
ถูกต้องตามสถานการณ์โดย
ประยุกต์ใช้ร่วมกับรายวิชา
วทิ ยาการคำนวณ

18

โครงสร้างเวลาเรียน วชิ าภาษาไทย
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรียน 100 ช่ัวโมง

หน่วยการเรียนรู้ เวลาเรียน(ชั่วโมง)

ภาษาพาที 1
บทท่ี 1 ใบบวั ใบโบก 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ร้จู กั คำนำเร่ือง 1
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 การอา่ นใบบัวใบโบก 1
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 การอา่ นวเิ คราะห์คำ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 การอา่ นเพ่ิมเตมิ ความรู้ 1
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 5 การอา่ นสะกดคำ 1
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 6 อา่ นคล่องร้องเลน่ 1
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 7 ชวนทำชวนคดิ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 ปริศนาคำทาย 1
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 9 ลองคิดลองทำ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 10 อกั ษรกลาง
1
รวม 1
1
ภาษาพาที 1
บทที่ 2 ภูผา 1
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 รูจ้ กั คำนำเร่ือง 1
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2 การอา่ น 1
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 การอ่านวเิ คราะห์คำ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 การอ่านเพ่ิมเติมความรู้ 1
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 5 การอ่านเลขไทย 1
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 6 การอ่านสะกดคำ 10
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 7 อา่ นคล่องร้องเล่น
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 8 ชวนกนั ประดิษฐ์ 1
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 9 ร้องเล่นเตน้ ระบำ 1
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 10 ฝกึ เขยี น 1
1
รวม 1
1
ภาษาพาที 1
บทที่ 3 เพื่อนกัน
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 รจู้ ักคำนำเรื่อง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 การอา่ นบทอา่ น
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 3 การอ่านวเิ คราะห์คำ
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 การอา่ นพยญั ชนะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การอ่านเลขไทย
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 การอ่านสะกดคำ
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 7 อา่ นคล่องร้องเล่น

19

หนว่ ยการเรียนรู้ เวลาเรยี น(ชัว่ โมง)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 ชวนฟังชวนร้อง 1
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 9 ระบำเสียงสตั ว์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 ฝกึ เขยี น 1
10
รวม
1
ภาษาพาที 1
บทท่ี 4 ตามหา 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 รู้จักคำนำเร่ือง 1
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 2 การอ่านบทอา่ น 1
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 3 การอ่านวิเคราะห์คำ 1
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 การอ่านพยญั ชนะและสระ 1
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 5 การอ่านเลขไทย 1
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 6 การอา่ นสะกดคำ 1
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 7 อา่ นคล่องร้องเล่น 1
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 8 ชวนพดู ชวนฟงั
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 9 การอา่ นทบทวน 10
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 10 ฝึกเขียน

รวม

20

- จัดทำหนว่ ยการเรยี นรู้ (แผนหน่วยการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการจดั การเรยี นร้กู บั ประเด็นที่ 2 แผนการ
จัดการเรียนรู้ทเ่ี ปน็ แบบอย่างท่ีดี อาจจดั ทำเป็น QR Code)

21

ประเด็นท่ี 2 แผนการจดั การเรียนรู้ท่เี ป็นแบบอย่างทดี่ ี

๑. การกำหนดจดุ ประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้ (K)
นกั เรยี นสามารถบอกวธิ ีการอ่านสะกดคำ โดยใช้สญั ลกั ษณ์สะกดคำได้
ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ (P)
นกั เรยี นสามารถอ่านสะกดคำ โดยใช้สญั ลกั ษณส์ ะกดคำได้
ด้านคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
- เพื่อให้นักเรียนใฝ่เรียนรู้

ตวั อย่างร่องรอยหลักฐาน

- วิเคราะห์ มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวชีว้ ดั /ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวัง/เน้ือหา/จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เพื่อจดั
กจิ กรรมการเรยี นรู้ ใหเ้ หมาะกบั ผู้เรยี น
1. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ชีว้ ัด
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความรู้และความคิดเพอ่ื นำไปใชต้ ัดสนิ ใจ แก้ปัญหาใน
การดำเนินชวี ิต และมนี สิ ยั รกั การอา่ น
ตัวช้วี ดั ท 1.1 ป.1/1 อ่านออกเสยี งคำ คำคล้องจอง และขอ้ ความส้ัน ๆ
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา
ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัตขิ องชาติ
ตวั ชว้ี ดั ท ๔.๑ ป.๑/๑ บอกและเขยี นพยัญชนะ สระ วรรณยุกตแ์ ละเลขไทยบูรณาการกลุ่มสาระการเรยี นรู้
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณในการแก้ปญั หาท่ีพบในชีวติ จริงอย่างเปน็ ขนั้ ตอนและเปน็
ระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาไดอ้ ย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ ร้เู ทา่ ทัน และมีจริยธรรม
ตวั ชว้ี ดั ว 4.2 ป.1/2 แสดงลำดบั ข้นั ตอนการทำงานหรือการแกป้ ญั หาอยา่ งง่าย โดยใช้ภาพ สญั ลกั ษณห์ รือ
ข้อความ

22

2. สาระสำคญั
การอา่ นสะกดคำทปี่ ระสมด้วยสระตา่ ง ๆ ถือเป็นพ้นื ฐานของการอ่านเบ้ืองต้น ก่อนทจ่ี ะนำไปสกู่ ารอา่ นคำทม่ี ี
ตวั สะกดตรงตามมาตราและไมต่ รงตามมาตราในขัน้ ต่อไป การเรยี นรคู้ ำ ผู้เรยี นตอ้ งเรยี นรู้ทง้ั ในด้าน
องค์ประกอบ หลักการอ่านแจกลกู สะกดคำ ความหมายและหลกั การใช้ จึงจะสามารถนำคำไปใช้ไดถ้ ูกต้องตาม
สถานการณ์
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้ (K)
นักเรียนสามารถบอกวธิ ีการอ่านสะกดคำ โดยใช้สัญลักษณ์สะกดคำได้
3.2 ดา้ นทักษะและกระบวนการ (P)
นกั เรียนสามารถอ่านสะกดคำ โดยใชส้ ญั ลักษณส์ ะกดคำได้
3.3 ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A)
- เพื่อให้นักเรียนใฝเ่ รียนรู้
- เพ่อื ใหน้ ักเรยี นรกั ความเปน็ ไทย
4. สาระการเรยี นรู้
๕.๑ สาระการเรยี นร้แู กนกลาง
พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์
การสะกดคำ การแจกลกู และการอ่านเป็นคำ

๒. การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้

กิจกรรมการเรยี นรู้

ขั้นนำเข้าสู่บทเรยี น
๑. ครูตั้งคำถามเพื่อกระตนุ้ ความสนใจของผเู้ รียนว่า “นกั เรียนเคยไปท่องเที่ยวสถานท่ี
ท่องเท่ียวท่ีไหนบา้ ง” นักเรยี นช่วยกนั ตอบคำถาม จากน้ันครเู ชอ่ื มโยงเข้าสูบ่ ทเรยี น เรอื่ ง สญั ลักษณ์สะกดคำ ซึง่
ในสอื่ ประกอบการเรียนรู้ เรอ่ื ง สญั ลกั ษณ์สะกดคำ จะมรี ูปสถานทีท่ ่องเท่ียวที่สำคญั ของจังหวัดสมทุ รปราการ
และชุมชนวดั ก่งิ แก้ว
ขัน้ สอน
2. นักเรียนและครรู ่วมกันศกึ ษาสือ่ ประกอบการเรยี นรู้ เร่ือง สญั ลกั ษณ์สะกดคำ โดยครูอธิบาย
ความหมายของสัญลกั ษณ์ท่ปี รากฏในสื่อประกอบการเรยี นรู้ ดังน้ี
➔ หมายถงึ เดินไปทางขวา 1 ช่อง
 หมายถึง เดินไปทางซ้าย 1 ชอ่ ง
 หมายถงึ เดินขึ้นด้านบน 1 ชอ่ ง
 หมายถงึ เดนิ ลงดา้ นลา่ ง 1 ชอ่ ง
โดยจะมีส่อื ประกอบการเรยี นรู้ เรื่อง สญั ลกั ษณส์ ะกดคำ ประกอบด้วยสื่อท่ีมรี ูปพยญั ชนะ จำนวน 1 ชุดและสอ่ื
ทมี่ ีรปู สระและวรรณยุกต์ จำนวน 1 ชุด ซง่ึ จะมีชดุ คำสั่งให้นักเรียนนำพยัญชนะ สระ และวรรณยกุ ตม์ าประสม
กันให้เกิดเป็นคำ
3. นกั เรยี นรว่ มกันอา่ นสะกดคำ ตามชุดคำสั่งท่กี ำหนด เม่ือนกั เรยี นอา่ นเสรจ็ ครจู ะเฉลยคำ
อา่ นทถ่ี ูกต้องและอธบิ ายเพิ่มเตมิ ตามชุดคำส่ังน้นั ๆ
4. นกั เรียนร่วมกันทำใบงาน เรอ่ื ง สญั ลักษณ์สะกดคำ โดยใช้สัญลกั ษณท์ ี่กำหนดให้นำไปเขียน
เป็นคำท่ีถูกต้อง ซึ่งต้องใชท้ ักษะในการคดิ วเิ คราะห์อยา่ งเป็นระบบในการคน้ หา

23

ข้ันสรปุ
5. นักเรยี นร่วมกันอ่านคำทไี่ ดจ้ ากสญั ลกั ษณส์ ะกดคำ ตามชุดคำสง่ั ท่ีกำหนดทกุ คำ จากนั้น
นักเรยี นและครูร่วมกันสรปุ บทเรียน เร่อื ง สญั ลกั ษณ์สะกดคำ ประโยชน์ท่ีได้รบั จากการนำสาระวิทยาการ
คำนวณมา บรู ณาการในวชิ าภาษาไทย เชน่ ทำให้นักเรยี นเกดิ ทกั ษะในการคิดอย่างมีขัน้ ตอน เกิดความสนุกจาก
การคน้ หาคำตามสญั ลกั ษณ์ในชดุ คำสั่งทกี่ ำหนด เกดิ ความสขุ จากการเรยี นรู้คำศัพทใ์ นบทเรียน ฯลฯ

8. สอ่ื /วสั ด/ุ อุปกรณ/์ แหล่งเรียนรู้
๑) หนงั สอื เรยี นภาษาพาที ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1
๒) สื่อประกอบการเรียนรู้ เรือ่ ง สญั ลกั ษณส์ ะกดคำ
๓) ใบงาน เรอ่ื ง สญั ลักษณส์ ะกดคำ

ร่องรอยหลักฐาน

24

- วเิ คราะหร์ ูปแบบ/เทคนิค/กระบวนการ การจดั การเรยี นร้ทู เี่ หมาะกับผู้เรยี น
จากแนวคิดของนักการศึกษา ทฤษฎีการเรียนรู้ต่าง ๆ จิตวิทยาการเรียนการสอน และหลักการของ

การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การเรียนรู้ดังกลา่ วมาแล้วจะเห็นได้ ว่าผู้สอนจะต้องใช้รูปแบบ
กระบวนการเรียนและกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลายเพื่อให้ได้การเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ การเรยี นรจู้ ริง ๆ ซึง่ การจัดการเรียนรู้ดังกล่าวมีอยหู ลากหลายวิธี

ร่องรอยหลกั ฐาน

๓. การออกแบบวดั และประเมนิ ผล 25

แบบบันทกึ ผลการประเมินการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ผา่ น /
ไม่ผ่าน
เลขที่ ด้านคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ รวม

ชอื่ – สกลุ วิ ีธการอ่านสะกดคำ
โดยใ ้ชสัญลักษณ์สะกด
คำไ ้ด (K)
อ่านสะกดคำ โดยใ ้ช
สัญลักษณ์สะกดคำได้
(P)

ีมความสนใจใฝ่
เรียนรู้ (A)
การทำใบงาน

ุชดเพิ่ม ัทกษะการ
ทำงานกลุ่ม

๑ เดก็ ชายธนกฤต สาเทยี น ๒ ๒ ๒ 4 10
๒ เด็กชายณัฐฐาพล แดงสมุทร
๓ เด็กชายฮนิ เฮยี ง ผลการประเมนิ
๔ เดก็ ชายชาญยุทธ แทน่ ศลิ า ระดบั  ดีเยยี่ ม  ดี  พอใช้  ปรับปรุง
๕ เด็กชายชัยวัฒน์ กาลัง สรปุ  ผ่าน  ไมผ่ ่าน
๖ เดก็ ชายภทั รกฤต คำวัง
๗ เดก็ ชายณฐั ดนยั เกิดอารยี ์
๘ เดก็ ชายรัชชานนท์ เหลอื รัก
๙ เด็กชายรชานนท์ คล้ายอ่วม
๑๐ เดก็ ชายอนุชา ทินกร ณ อยุธยา
๑๑ เด็กชายธนภมู ิ ยะบญุ มี
12 เด็กหญิงสิราวรรณ สุขสพุ ืช
13 เดก็ หญิงกัญญาภัทร พลชี มภู
14 เดก็ หญงิ นุช -
15 เด็กหญงิ พมิ พกานต์ สารพลกรงั
16 เดก็ หญงิ ประภสั ราวดี ชอบตะขบ
17 เดก็ หญิงพมิ ลดั ดา วงศน์ วล
18 เด็กหญงิ สุภัตรา ภตู ยิ า
19 เดก็ หญิงบณุ ยานชุ สมแพง
20 เดก็ หญงิ จติ ตานนั ท์ สำนัก
21 เด็กหญงิ ปัณณพร พรมเสน
22 เด็กหญิงนาตาชา
23 เด็กหญิงมะลิ
24 เด็กหญงิ หนจู ันทร์
25 เดก็ หญงิ มิตร
26 เด็กหญงิ โสวิชาญา โสภา

26

ร่องรอยหลักฐาน
- มีการจดั แบบวดั และประเมินผล และเกณฑก์ ารประเมิน

27

- วเิ คราะห์ออกแบบวดั และประเมินผลที่หลากหลายเหมาะกับผเู้ รยี น
การประเมินผลเป็นกระบวนการสำคัญท่ีมีสว่ นเสริมสร้างความสำเร็จใหก้ ับผเู้ รียน และเปน็ ส่วนหนึ่งของ

กระบวนการจัดการเรียนการสอน การประเมินผลจำเป็นต้องมีลักษณะที่สอดคล้องกันแต่ในการจัดการศึกษาท่ี
ผ่านมากลับมีเหตุการณ์ที่ทำให้ดูเหมือนการสอนกับการประเมินผลเป็นคนละส่วน แยกจากกัน การประเมินผล
น่าจะเป็นกระบวนการทีช่ ว่ ยให้ผู้สอนไดข้ ้อมูลท่ีจะนำไปใช้ประโยชน์ในการรับปรงุ กระบวนการจัดการเรียนการ
สอน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสดุ กับผู้เรียน แต่กลับกลายเป็นเครื่องมือตัดสินหรือตีตราความโง่ความฉลาด สร้าง
ความกดดันและเป็นทุกข์ให้กับผู้เรียน ความสำเร็จหรือล้มเหลวของการเรียนรู้ถูกตัดสินในครั้งสุดท้ายของ
กระบวนการเรียนการสอน โดยไม่ได้ให้ความสำคัญกับผลงานความสำเร็จหรือพัฒนาการที่มีขึ้นในระหว่าง
กระบวนการเรียนรู้ และนอกเหนือจากนั้น กระบวนการที่ใช้วัดและประเมินผลการเรียนรู้ในบางครั้งก็ไม่ได้
กระทำอย่างสอดคล้องกับพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ตอ้ งการวัดจริงเพราะผู้สอนมักจะเคยชนิ กับการใช้เครื่องมือวดั
เพียงอย่างเดียว คือ การใช้แบบทดสอบ ซึ่งมีข้อจำกัดในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ทางด้านจิตพิสัยและ
ทักษะพิสัยดังนั้น เมื่อมีการปฏิรูปการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญแล้วก็มีความจำเป็นที่จะต้องปฏิรูป
กระบวนการวัดและประเมินผลใหม่ด้วยใหส้ อดคลอ้ งกัน ซึ่งผู้รู้ในวงการศึกษาได้ยอมรับกันว่า แนวคิดในการวัด
และประเมนิ ผลการเรยี นร้ทู เ่ี หมาะสม คอื การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของผู้เรยี นตามสภาพจรงิ

28

ตวั อยา่ งแผนการจดั การเรียนรู้ จำนวน 1 แผน ตามรปู แบบของสถานศกึ ษา

29

30

31

32

33

34

35

ประเดน็ ท่ี 3 หลักฐานการจัดเรยี นรู้ Coding

บันทึกข้อความ

สว่ นราชการ โรงเรียนวัดก่ิงแก้ว (เทวะพัฒนาคาร)
วนั ท่ี 4 กรกฎาคม 2565

เรื่อง รับรองความถูกต้องด้านเน้ือหาและส่อื การจัดการเรียนรู้

เรยี น ผู้อำนวยการโรงเรยี นวดั กิ่งแก้ว (เทวะพัฒนาคาร)

อ้างอิงหนังสือ ศธ 04150/1606 เรื่อง ประชาสัมพันธ์เชิญชวนครูส่งผลงานประกวดผลงานดีเดน่
Coding “CODING Achievement Awards” ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ
เขต 2 ด้วยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี จัดให้มีการเผยแพร่องค์ความรู้ และแสดงผลงานดีเดน่ ดา้ น Coding ทั้งในรูปแบบ Unplugged และ
Plugged ทั่วประเทศ โดยเปิดรับสมัครให้ครูผู้สอนรายวิชาวิทยาการคำนวณ หรือครูผู้ได้นำองค์ความรู้ทาง
วทิ ยาการคำนวณบรู ณาการกับบทเรยี น ในปกี ารศกึ ษา 2564 – 2565 ร่วมสง่ ผลงานเพ่ือคดั เลือกเป็นผลงาน
ดีเด่น ดีเด่น Coding “CODING Achievement Awards” โดยส่งผลงานดังกล่าวได้จนถึงวันที่ 15 กรกฎาคม
2565 ให้กับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็นผู้ดำเนินการคัดเลือกผลงานดีเด่น Coding “CODING
Achievement Awards”

ในการน้ี ข้าพเจ้า นางสาวรุง่ เรือง พรโชคภคกุล ตำแหน่ง รองผอู้ ำนวยการสถานศึกษา ได้ดำเนนิ การ
ตรวจสอบความถูกต้องด้านเนื้อหาและสื่อการจัดการเรียนรู้ของนางสาวราตรี แป้นสุวรรณ ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย
ครูผู้สอนวิชาภาษาไทย และขอรับรองว่าวีดิทัศน์ประกอบการจัดการเรียนรู้ Coding ของนางสาวราตรี
แป้นสุวรรณ มีความถูกต้องด้านเนื้อหาและสื่อการสอน และสามารถเป็นแบบอย่างที่ดีของการจัดการเรียนรู้
Coding

จึงเรียนมาเพ่อื พจิ ารณา

....................................................................................

(นางสาวร่งุ เรอื ง พรโชคภคกุล)

ตำแหนง่ รองผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา

36

ประเด็นท่ี 4 หลกั ฐานผลที่เกิดจากการจดั การเรยี นรู้ Coding
๑. ผลที่เกิดกบั ผเู้ รยี น
- ร้อยละ 80 ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ, ทักษะกระบวนการ,คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญท่ี
หลากหลายของผู้เรยี น
- สามารถนำผลการวัดและประเมินผลรวมทั้งข้อมูลป้อนกลับมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้
Coding ในบทเรยี นตอ่ ไปได้

ร่องรอยหลักฐาน

บันทึกหลงั การสอน

37

๒. ความพึงพอใจในผลการจัดการเรียนรู้ Coding ของนักเรยี น และผูป้ กครอง
- นักเรียน และผู้ปกครอง ร้อยละ 80 ขึ้นไป มีความพงึ พอใจในการจัดการเรียนรู้ Coding

รอ่ งรอยหลกั ฐาน

ความพงึ พอใจในผลการจดั การเรยี นรู้ Coding ของนกั เรยี น และผปู้ กครอง

ความพงึ พอใจระดบั มาก ความพงึ พอใจระดบั ปานกลาง ความพงึ พอใจระดบั นอ้ ย

38

๓. แบบอย่างทดี่ ี
การเผยแพร่ผลงานสื่อการจัดการเรียนรู้ เรื่องสัญลักษณ์สะกดคำ เป็นกระบวนการจัดการเผยแพร่ท่ี

ส่งเสรมิ ใหค้ รูผสู้ อนนำผลงานที่ได้รับจากการเผยแพร่ไปพฒั นาความรู้ความสามารถของผู้เรยี นตามธรรมชาติของ
สาขาวิชาท่ีครูผู้สอนได้รับผิดชอบสอน หรืออาจบูรณาการกับวิชาอื่น ๆ เติมเต็มความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพ
ผู้เรียน ซึ่งจะนำไปสู่การถ่ายทอดองค์ความรู้ที่หลากหลาย โดยมีผลลัพธ์ในภาพรวมคือการพัฒนาผู้เรียนอย่าง
ต่อเนอื่ งทั่วถึงและเทา่ เทียม

รอ่ งรอยหลกั ฐาน

39

ภาคผนวกภาคผนวก

40

41

42

43

44

45


Click to View FlipBook Version