The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผู้ป่วยไวรัสซิกา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-01-26 02:43:31

รายงานผู้ป่วยไวรัสซิกา

รายงานผู้ป่วยไวรัสซิกา

1

Case Report: A Case of Zika Virus Disease in Doembang Nangbuat Hospital, Suphanburi Province,
Thailand
Abstract

Zika virus disease is a non-severe viral infection, albeit its significant neurological
complications are Guillain-Barre Syndrome and neonatal microcephaly. This report presents the 39-year-
old woman, medical laboratorian of Doembang Nangbuat Hospital, Suphanburi, who was diagnosed with
Zika viral infection. On 9 November 2016, the patient’s symptoms were fever, dizziness, fatigue and
arthralgia then, on 12 November 2016, she had an erythematous rash and red eyes. On 14 November
2016, her blood and urine were examined for the infection. The result indicated that there was negative in
the blood whereas positive in urine. The result was notified on 15 November 2016. After that, the
department of family clinical practice and community started to survey the patient’s habitat and
investigated blood and urine of her family members. The results of her family’s investigations were all
negative. Their results implied neither her family infected Zika virus more than 15 days after onset of
symptoms nor the patient infected from other people who came for medical services. Additionally, in the
hospital area, the department of infectious control in hospital screened all hospital staffs providing 330
people. The result of this survey represented three asymptomatic pregnant women had to investigate blood
and urine and their results were all negative in three people. However, surveillance, prevention and control
of notifiable disease had continued for 28 days, and the result illustrated that no new infectious cases in
Doembang Nangbuat Hospital.
Keyword : Zika virus, Staffs, Case report, Surveillance

รายงานผู้ป่ วย: ผ้ปู ่ วยโรคตดิ เชื้อไวรัสซิกาในโรงพยาบาลเดิมบางนางบวช จังหวดั สุพรรณบุรี ประเทศไทย
บทคดั ย่อ

โรคติดเช้ือไวรัสซิกา เป็นโรคติดเช้ือไวรัสที่อาการไม่รุนแรง แต่มีภาวะแทรกซอ้ นทางระบบ
ประสาทท่ีสาคญั คือ การเกิดการอกั เสบของเส้นประสาทในกลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เร และภาวะศีรษะเลก็
แตก่ าเนิดในทารกแรกเกิด รายงานผปู้ ่ วยฉบบั น้ี เป็นรายงานผปู้ ่ วยเพศหญิง อายุ 39 ปี ตาแหน่งเจา้ หนา้ ที่
หอ้ งปฏิบตั ิการประจาโรงพยาบาลเดิมบางนางบวช เม่ือวนั ที่ 9 พฤศจิกายน 2559 มีไข้ เวยี นศีรษะ อ่อนเพลีย
ปวดขอ้ 12 พฤศจิกายน 2559 มีผนื่ ข้ึน ตาแดง วนั ท่ี 14 พฤศจิกายน 2559 ส่งตรวจเลือดและปัสสาวะ พบติด
เช้ือไวรัสซิกาในปัสสาวะแต่ไม่พบในเลือด รายงานผลวนั ท่ี 15 พฤศจิกายน 2559 หลงั ไดร้ ับรายงาน
หน่วยงานเวชปฏิบตั ิครอบครัวและชุมชนไดท้ าการสารวจพ้ืนท่ีที่อยอู่ าศยั ของผปู้ ่ วย ตรวจเลือดและปัสสาวะ

2

คนในครอบครัวผปู้ ่ วยทุกคน ผลคือไม่พบการติดเช้ือในเลือดและในปัสสาวะของคนในครอบครัว ซ่ึง
เป็นไปไดว้ า่ คนในครอบครัวอาจไดร้ ับเช้ือมาเป็นระยะเวลานานมากกวา่ 15 วนั หลงั มีอาการ หรือผปู้ ่ วย
ไมไ่ ดร้ ับเช้ือจากคนในครอบครัว แต่ไดร้ ับเช้ือจากผทู้ ่ีมารับบริการทางการแพทยอ์ ่ืน ในส่วนของเขต
โรงพยาบาลหน่วยงานการป้องกนั และควบคุมการติดเช้ือในโรงพยาบาลไดท้ าการคดั กรองโรคติดเช้ือใน
บุคลากรทุกคนท้งั หมด 330 คน ผลปรากฏวา่ มีบุคลากรที่ตอ้ งไดร้ ับการตรวจเพ่ิมเป็ นหญิงต้งั ครรภท์ ่ีไม่มี
อาการท้งั หมด 3 ราย ไดท้ าการส่งตรวจเพ่ิมเติม ผลคือไม่พบวา่ มีการติดเช้ือ และทาการเฝ้าระวงั ป้องกนั
และควบคุมการติดเช้ือของบุคลากรในโรงพยาบาลต่อจนครบ 28 วนั ตามแนวทางการสอบสวนโรค ไม่
พบวา่ มีการติดเช้ือในบุคลากรโรงพยาบาลเดิมบางนางบวชเพิ่มเติม
คาสาคญั : เช้ือไวรัสซิกา, บุคลากร, รายงานผปู้ ่ วย, การสอบสวนโรค

บทนา
โรคติดเช้ือไวรัสซิกา (Zika virus disease) เป็นโรคติดเช้ือท่ีเกิดจาก Zika virus จดั อยใู่ นวงศ์

(Family) Flaviviridae ตระกูล (Genus) Flavivirus มียงุ ลาย (Aedes) เป็นพาหะนาโรค โดยพบการติดเช้ือคร้ัง
แรกในลิงท่ีประเทศยกู นั ดาเมื่อปี พ.ศ. 2490 หลงั จากน้นั พบผปู้ ่ วยรายแรก เม่ือปี พ.ศ. 2495 และมีการแพร่
ระบาดของโรคไปยงั พ้นื ท่ีอื่น เช่น แอฟริกา อเมริกา และเอเชีย อยา่ งต่อเน่ือง ในปี พ.ศ. 2558 ในประเทศ
บราซิล มีรายงานวา่ การติดเช้ือไวรัสซิกาสมั พนั ธ์กบั การเกิดการอกั เสบของเส้นประสาท GBS (Guillain-
Barre Syndrome) และภาวะศรี ษะเลก็ แต่กาเนิดในทารกแรกเกิด (Microcephaly)(1) สาหรับประเทศไทย จาก
สานกั ระบาดวทิ ยา พบการรายงานผปู้ ่ วยติดเช้ือไวรัสซิกาต้งั แต่ พ.ศ. 2555 จนถึงปัจจุบนั เพิ่มข้ึนเฉลี่ยปี ละ 5
ราย(2) และสาหรับโรงพยาบาลเดิมบางนางบวช จงั หวดั สุพรรณบุรี มีรายงานผปู้ ่ วยติดเช้ือไวรัสซิการายแรก
เมื่อ 15 พฤศจิกายน พ.ศ.2559

โดยทวั่ ไปโรคติดเช้ือไวรัสซิกามียงุ ลายเป็นพาหะนาเช้ือเช่นเดียวกบั โรคไขเ้ ลือดออก การป้องกนั
การติดเช้ือท่ีดีที่สุดคือการกาจดั แหล่งเพาะพนั ธุ์ยงุ ลาย อาการและอาการแสดงของโรคติดเช้ือไวรัสซิกา
เหมือนการติดเช้ือไวรัสทวั่ ไปคือมกั ไม่รุนแรง มีไข้ มีผน่ื เป็นลกั ษณะ Maculopapular ท่ีบริเวณลาตวั และ
แขนขา เยอื่ บุตาอกั เสบ ปวดขอ้ และกลา้ มเน้ือตามตวั ปวดหวั ซ่ึงผปู้ ่ วยจะไดร้ ับการวนิ ิจฉยั ตามอาการ และ
ยนื ยนั โดยส่งตรวจทางห้องปฏิบตั ิการเพ่มิ เติม ท้งั น้ีเนื่องจากโรคน้ียงั ไม่มีวคั ซีนป้องกนั จึงใหก้ ารรักษาตาม
อาการ พกั ผอ่ นใหเ้ พียงพอ ด่ืมน้า ใหย้ าพาราเซตามอลแกป้ วดลดไข้ หา้ มใหย้ ากลุ่ม NSAIDs(2)

รายงานฉบบั น้ีเป็ นรายงานผูป้ ่ วยติดเช้ือไวรัสซิการายแรกของพ้นื ท่ีอาเภอเดิมบางนางบวช ซ่ึงเป็น
ผปู้ ่ วยเพศหญิง อายุ 39 ปี ตาแหน่งเจา้ หนา้ ที่หอ้ งปฏิบตั ิการประจาโรงพยาบาลเดิมบางนางบวช แมว้ า่ อาการ
ของผปู้ ่ วยท่ีเป็นโรคติดเช้ือไวรัสซิกาจะไม่รุนแรงและไมม่ ีอนั ตรายต่อผปู้ ่ วยถึงชีวติ แตค่ วามสาคญั ของโรค
น้ีคือภาวะแทรกซอ้ นที่สัมพนั ธ์กบั โรคทางระบบประสาทท่ีรุนแรง ดงั ท่ีไดก้ ล่าวมา โดยเฉพาะในหญิง
ต้งั ครรภ์ และไม่มียารักษาโรคท่ีจาเพาะตอ่ โรค อีกท้งั โรงพยาบาลยงั เป็นสถานท่ีท่ีมีผปู้ ่ วยมารับบริการเป็น
จานวนมาก การที่บุคลากรของโรงพยาบาลติดเช้ือไวรัสน้ีส่งผลใหโ้ รงพยาบาลเป็นแหล่งเพาะพนั ธุ์และ

3

แพร่กระจายเช้ือโรค การสอบสวน เฝ้าระวงั ป้องกนั และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคในโรงพยาบาลจึง
เป็นส่ิงสาคญั ท่ีสุด มีรายละเอียดดงั ต่อไปน้ี

รายงานผู้ป่ วย
รายงานผปู้ ่ วยหญิงไทย อายุ 39 ปี ตาแหน่งเจา้ หนา้ ที่หอ้ งปฏิบตั ิการประจาโรงพยาบาลเดิมบางนาง

บวช มีประวตั ิ วนั ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ.2559 เร่ิมมีอาการไข้ เวยี นศีรษะ อ่อนเพลีย ปวดขอ้ ตามตวั ขอ้ นิ้วมือ
2 ขา้ งบวม ปวดมากข้ึนเร่ือยๆ 12 พฤศจิกายน พ.ศ.2559 เร่ิมมีอาการผน่ื ข้ึนตามตวั ตาแดง วนั ที่ 14
พฤศจิกายน พ.ศ.2559 ปรึกษาแพทย์ แพทยส์ งสยั โรคซิกา จึงใหส้ ่งตรวจเลือดและปัสสาวะเพม่ิ เติม

วนั ท่ี 15 พฤศจิกายน พ.ศ.2559 ผลตรวจเลือดและปัสสาวะพบวา่ ติดเช้ือไวรัสซิกาจากปัสสาวะแต่
ไมพ่ บจากเลือด หลงั ทราบผลแพทยไ์ ดใ้ หย้ ารักษาตามอาการ และใหค้ าแนะนาผปู้ ่ วยเก่ียวกบั การป้องกนั การ
แพร่กระจายโรค เช่น การกาจดั แหล่งน้าขงั กาจดั แหล่งเพาะพนั ธุ์ยงุ ลาย การทายากนั ยงุ และใหผ้ ปู้ ่ วยลาหยดุ
เป็นเวลา 3 วนั ในส่วนของการสอบสวนโรค หน่วยงานเวชปฏิบตั ิครอบครัวและชุมชนทาการสอบสวนโรค
โดยสารวจพ้ืนที่บริเวณท่ีอยอู่ าศยั ของผปู้ ่ วย หาแหล่งน้าขงั และแหล่งเพาะพนั ธุ์ยงุ ลาย และไดใ้ หค้ นใน
ครอบครัวทุกคนของผปู้ ่ วยส่งตรวจเลือดและปัสสาวะเพิ่มเติม ซกั ประวตั ิผปู้ ่ วยเพ่มิ เติมพบวา่ ผปู้ ่ วยอาศยั อยู่
กบั สามี ลูก และพอ่ สามี ในช่วง 14 วนั ท่ีผา่ นมาผปู้ ่ วยอาศยั อยทู่ ี่บา้ นและที่ทางานเทา่ น้นั ไม่มีการเดินทาง
ออกนอกพ้ืนที่ แต่มีประวตั ิการเดินทางออกนอกพ้ืนท่ีของคนในครอบครัว โดยวนั ท่ี 21-25 ตุลาคม พ.ศ.
2559 พอ่ สามี สามีและลูกของผปู้ ่ วย ของเดินทางไปจงั หวดั สตูลและพทั ลุง หลงั กลบั มาบา้ นวนั ที่ 26-28
ตุลาคม พ.ศ.2559 พอ่ สามีเดินทางไปจงั หวดั สระแกว้ ต่อ วนั ที่ 26 ตุลาคม 2559 ลูกเร่ิมมีอาการไข้ พอ่ สามี
หลงั กลบั จากจงั หวดั สระแกว้ มีอาการคล่ืนไส้ ปวดหวั วนั ที่ 29 ตุลาคม 2559 ท้งั ลูกและพอ่ สามีมาตรวจ
โรงพยาบาลเดิมบางนางบวช ลูกของผปู้ ่ วยไดร้ ับการวนิ ิจฉยั เป็นไขห้ วดั ไดย้ ารักษาตามอาการ 3 วนั ตอ่ มา
อาการดีข้ึน ส่วนพอ่ สามีเจาะเลือดพบเป็ นไขเ้ ลือดออกร่วมกบั ติดเช้ือทางเดินปัสสาวะ นอนรักษาใน
โรงพยาบาลถึงวนั ท่ี 2 พฤศจิกายน พ.ศ.2559

ภาพท่ี 1 แสดงช่วงระยะเวลาการดาเนินโรคของผ้ปู ่ วยและระยะเวลาการสอบสวนและควบคุม
โรค

4

วนั ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ.2559 ไดจ้ ดั การประชุมข้ึนประกอบไปดว้ ยหน่วยงานการป้องกนั และ
ควบคุมการติดเช้ือในโรงพยาบาล หน่วยงานเวชปฏิบตั ิครอบครัวและชุมชน และคณะสอบสวนโรคจาก
สานกั ควบคุมโรค เพื่อทาการสอบสวนโรคเพิม่ เติมท้งั ในเขตโรงพยาบาลและในเขตพ้ืนท่ีชุมชนที่ผปู้ ่ วย
อาศยั อยู่ ในส่วนของการสอบสวนโรคในเขตโรงพยาบาล ไดท้ าการสารวจขอ้ มูลผปู้ ่ วยที่มารับบริการ
ยอ้ นหลงั 14 วนั ปรากฏวา่ ไมม่ ีผปู้ ่ วยท่ีสงสยั วา่ ติดเช้ือไวรัสซิกา และมีมติใหท้ าการสารวจบุคลากรใน
โรงพยาบาลทุกคน โดยจดั ทาเป็นแบบคดั กรองโรคติดเช้ือไวรัสซิกาเพื่อคดั กรองวา่ มีบุคลากรใน
โรงพยาบาลมีอาการท่ีเขา้ ข่ายวา่ น่าจะติดเช้ืออีกหรือไม่ ท้งั น้ีโรงพยาบาลเดิมบางนางบวชมีจานวนบุคลากร
ท้งั หมด 330 คน เป็ นหญิงต้งั ครรภจ์ านวน 3 คน บุคลากรทุกคนจะถูกสอบถามอาการยอ้ นหลงั 14 วนั
บุคลากรที่มีอาการเขา้ ข่ายวา่ เป็นโรค จะทาการส่งตรวจเพ่ิมเติมทนั ที ส่วนบุคลากรหญิงท่ีต้งั ครรภ์ จะส่ง
ตรวจเพมิ่ เติมแมว้ า่ จะไม่มีอาการก็ตาม ซ่ึงอาการแสดงที่ตอ้ งไดร้ ับการตรวจเพิม่ เติมคือ ในกรณีท่ีมีอาการผน่ื
ตอ้ งมีอาการร่วมกบั อยา่ งนอ้ ยหน่ึงในสาม ดงั น้ี ไข้ ปวดขอ้ ตาแดง หรือ ในกรณีท่ีไม่มีผน่ื แต่มีไข้ ตอ้ งมี
อาการร่วมกบั อยา่ งนอ้ ยสองในสาม ดงั น้ี ปวดศีรษะ ปวดขอ้ ตาแดง ในการเกบ็ สิ่งส่งตรวจหากบุคลากรมี
ระยะเวลาแสดงอาการนอ้ ยกวา่ เจด็ วนั ใหเ้ กบ็ ท้งั เลือดและปัสสาวะส่งตรวจ และหากระยะเวลาแสดงอาการ
มากกวา่ หรือเทา่ กบั เจด็ วนั ใหเ้ ก็บปัสสาวะส่งตรวจเพียงอยา่ งเดียว(2)

หลงั ทาการสารวจบุคลากรในโรงพยาบาลจานวน 330 คน ไดผ้ ลวา่ ในช่วงวนั ท่ี 1-14 พฤศจิกายน
พ.ศ.2559 มีบุคลากรที่มีไขแ้ ละไดร้ ับการวนิ ิจฉยั ทางหอ้ งปฏิบตั ิการวา่ เป็นโรคไขห้ วดั ใหญ่อยแู่ ลว้ จานวน 5
ราย มีบุคลากรท่ีมีอาการไข้ ปวดศีรษะและไมเ่ คยไดร้ ับการตรวจมาก่อนจานวน 1 ราย แต่ไม่มีอาการของผื่น
ปวดขอ้ ตาแดง จึงไมส่ งสยั วา่ ติดเช้ือไวรัสซิกา และมีบุคลากรหญิงต้งั ครรภจ์ านวน 3 รายท่ีไมม่ ีอาการ ส่วน
บุคลากรที่เหลือไม่มีอาการผดิ ปกติที่สงสัยวา่ ติดเช้ือ จึงมีผเู้ ขา้ ขา่ ยที่ตอ้ งส่งตรวจเพม่ิ เติม 3 ราย เป็นหญิง
ต้งั ครรภท์ ้งั หมด และเมื่อส่งตรวจเลือดและปัสสาวะแลว้ ผลปรากฏวา่ ไม่พบการติดเช้ือไวรัสซิกา

นอกจากน้ียงั ไดท้ าการสารวจพ้ืนท่ีตา่ งๆในเขตโรงพยาบาลโดยเฉพาะหอ้ งคลอด มีการสารวจจุดท่ีมี
น้าขงั ซ่ึงเป็นแหล่งเพาะพนั ธุ์ยงุ ลาย ตรวจสอบระบบการระบายน้าในหอ้ งน้า และมีการพน่ สารเคมีกาจดั
ยงุ ลายในวนั ท่ี 0, 3, 7, 14, 21, 28 และสารวจและกาจดั ลูกน้าในวนั ท่ี 0, 3, 5, 7, 14, 21, 28 (3) โดยนบั จากวนั ท่ี
ไดร้ ับรายงานคร้ังแรกคือวนั ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ.2559

ในส่วนของครอบครัวผปู้ ่ วย ผลตรวจทางหอ้ งปฏิบตั ิการไมพ่ บการติดเช้ือท้งั ในเลือดและใน
ปัสสาวะท้งั ของพอ่ สามี สามี และลูกของผปู้ ่ วย หลงั จากน้นั วนั ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ.2559ไดม้ ีการส่งตรวจ
เลือดและปัสสาวะของผปู้ ่ วยซ้า เพ่ือติดตามการติดเช้ือ ผลปรากฏวา่ ไม่พบการติดเช้ือในเลือดและปัสสาวะ
ของผปู้ ่ วยแลว้

ไดม้ ีการเฝ้าระวงั การติดเช้ือไวรัสซิกาของบุคลากรในโรงพยาบาลต่อถึงวนั ที่ 13 ธนั วาคม พ.ศ.2559
รวมเป็ นระยะเวลา 28 วนั นบั จากวนั ที่ไดร้ ับรายงานการติดเช้ือคร้ังแรกตามแนวทางการสอบสวนโรค(3) ไม่
พบวา่ มีการติดเช้ือในบุคลากรโรงพยาบาลเดิมบางเพิ่มเติม จึงถือวา่ ในพ้ืนท่ีเขตโรงพยาบาลไดเ้ ขา้ สู่การ
สิ้นสุดการระบาดแลว้

5

วจิ ารณ์
จากรายงานผปู้ ่ วยติดเช้ือไวรัสซิกาซ่ึงเป็นบุคลากรในโรงพยาบาลเดิมบางนางบวชรายน้ีพบวา่ ผล

การตรวจทางห้องปฏิบตั ิการของผปู้ ่ วย มีการติดเช้ือไวรัสซิกาในปัสสาวะ แต่ไมพ่ บในเลือด ซ่ึงมีการศึกษา
วา่ หลงั ไดร้ ับเช้ือไวรัสซิกามา ในระยะแรกจะมีอาการไขป้ ระมาณสามวนั หลงั จากน้นั จะเร่ิมมีผนื่ ข้ึนตามตวั
ซ่ึงช่วงท่ีผปู้ ่ วยมีผน่ื ข้ึนจะเป็ นช่วงท่ีปริมาณเช้ือไวรัสในร่างกายมีจานวนลดลง ทาใหไ้ มส่ ามารถตรวจพบ
เช้ือในกระแสเลือดได้ แตย่ งั คงมีอยใู่ นปัสสาวะอยู่ (4) ในการตรวจทางหอ้ งปฏิบตั ิการสามารถตรวจพบเช้ือ
ในเลือดไดไ้ ม่เกิน 7 วนั แรกหลงั มีอาการ และตรวจพบในปัสสาวะไดไ้ ม่เกิน 15 วนั แรกหลงั มีอาการ (4, 5, 6)
สอดคลอ้ งกบั ระยะเวลาที่ผปู้ ่ วยเกบ็ เลือดและปัสสาวะส่งตรวจซ่ึงเป็นช่วงท่ีมีไขว้ นั ท่ี 5 และมีผน่ื ข้ึนตามตวั
มา 2 วนั ดงั น้นั จึงอาจตรวจไม่พบการติดเช้ือในเลือด แตต่ รวจพบในปัสสาวะ และเม่ือรวมกบั ระยะฟักตวั
ของโรคที่ใชเ้ วลาประมาณ 4-7 ก่อนแสดงอาการ แสดงวา่ ผปู้ ่ วยน่าจะไดร้ ับเช้ือมานานประมาณ 9-12 วนั

เมื่อสอบสวนการติดเช้ือในครอบครัวของผปู้ ่ วย ไมพ่ บการติดเช้ือจากการตรวจเลือดและปัสสาวะ
ท้งั ในสามี พอ่ สามี และลูกของผปู้ ่ วย ด้งั น้นั จึงอาจเป็ นไปไดว้ า่

1. คนในครอบครัวผปู้ ่ วยทุกคนไดร้ ับการตรวจทางหอ้ งปฏิบตั ิการหลงั มีอาการเกินกวา่ 15 วนั จึงทา
ใหต้ รวจไมพ่ บเช้ือในเลือดและในปัสสาวะ

2. ผปู้ ่ วยไม่ไดร้ ับเช้ือมาจากคนในครอบครัว แต่ไดร้ ับเช้ือมาจากผปู้ ่ วยที่มารับบริการทางการแพทย์
ซ่ึงอาศยั อยใู่ นทุกพ้ืนท่ีของอาเภอเดิมบางนางบวช

อยา่ งไรก็ตามการสอบสวนและควบคุมโรคในคร้ังน้ีไดม้ ีการประสานงานกบั หน่วยงานเวชปฏิบตั ิ
ครอบครัวและชุมชนดว้ ย ไดอ้ อกมาตรการตรวจสอบ เฝ้าระวงั และการติดตามผลในเขตชุมชนอยา่ งใกลช้ ิด

สรุป
เน่ืองจากโรคติดเช้ือไวรัสซิกาเป็นโรคที่มีอาการเหมือนโรคติดเช้ือไวรัสทว่ั ไป มกั ไมร่ ุนแรง แตม่ ี

ภาวะแทรกซอ้ นที่เป็นอนั ตรายตอ่ ระบบประสาทและไมม่ ียารักษาที่จาเพาะ การควบคุมการระบาดของโรค
จึงเป็นเรื่องท่ีสาคญั สาหรับอาเภอเดิมบางนางบวช เม่ือผปู้ ่ วยรายแรกของพ้นื ท่ีเป็ นบุคลากรในโรงพยาบาล
ซ่ึงเป็นสถานที่ที่เป็นแหล่งรวมผปู้ ่ วยจากพ้ืนท่ีต่างๆ การสอบสวนและควบคุมโรคท้งั ในเขตชุมชนและเขต
โรงพยาบาลจึงตอ้ งทาอยา่ งเขม้ งวด โดยเฉพาะในเขตโรงพยาบาล ตอ้ งมีการคดั กรองบุคลากรใน
โรงพยาบาลทุกคน เพ่ือป้องกนั การระบาดของโรคจากบุคลากรในโรงพยาบาลสู่ผปู้ ่ วยท่ีมารับบริการ จาก
การสอบสวนและควบคุมโรคในคร้ังน้ี พบบุคลากรที่มีการยนื ยนั การติดเช้ือทางหอ้ งปฏิบตั ิการเพยี งราย
เดียว และไม่ปรากฏบุคลากรของโรงพยาบาลท่ีมีการติดเช้ือรายใหมต่ ลอดระยะเวลาการควบคุมโรค โดย
สิ้นสุดเม่ือวนั ท่ี 13 ธนั วาคม พ.ศ.2559
กติ ตกิ รรมประกาศ

ขอขอบคุณหน่วยงานเวชปฎิบตั ิครอบครัวและชุมชน หน่วยงานการป้องกนั และควบคุมการติดเช้ือ
ในโรงพยาบาล และคณะสอบสวนโรคจากสานกั ควบคุมโรค และหน่วยงานต่างๆของโรงพยาบาลท่ีมี
บทบาทในการสอบสวนโรค ขอบคุณเจา้ หนา้ ที่ห้องปฏิบตั ิการผใู้ หข้ อ้ มูลและใหค้ วามร่วมมือในการ

6

สอบสวนโรค และบุคลากรทุกคนในโรงพยาบาลที่ใหค้ วามร่วมมือในการใหข้ อ้ มูลและคดั กรองโรค
ขอบคุณศาตราจารย์ ดร.นายแพทยส์ ุรศกั ด์ิ บูรณตรีเวทย์ ที่เป็นที่ปรึกษาในการขียนรายงานฉบบั น้ี ทาให้
รายงานฉบบั น้ีสาเร็จลุล่วงไปไดด้ ว้ ยดี

เอกสารอ้างองิ
1. World Health Organization. Zika virus. [Serial online]. 2016 Sep [cited 2017 February 3].

Available from: URL: http://www.who.int/mediacentre/factsheets/zika/en/
2. คณะกรรมการวชิ าการดา้ นการรักษาพยาบาลโรคอุบตั ิใหม่-อุบตั ิซ้า กรมการแพทย์ กระทรวง

สาธารณสุข. แนวเวชปฏิบตั ิการวนิ ิจฉยั และดูแลรักษาโรคติดเช้ือไวรัสซิกา (Zika virus disease).
พมิ พค์ ร้ังท่ี 1. กรุงเทพฯ : บริษทั บียอนด์ เอน็ เทอร์ไพรซ์ จากดั ; 2559.

3. พจมาน ศิริอารยาภรณ์, โรม บวั ทอง และอรทยั สุวรรณไชยรบ. แนวทางการสอบสวนโรคติดเช้ือไวรัส
ซิกา (Investigation guideline for Zika virus infection). [ออนไลน์]. ส.ค. 2559. [วนั ที่คน้ ขอ้ มูล 3 ธค.
2559]. แหล่งขอ้ มูล :
http://203.157.15.110/boe/getFile.php?id=Mjg5&lbt=ZHBm&rid=ZmlsZXNfdXBsb2FkL3N1cnZlaW
xsYW5jZQ=

4. Gourinat AC, O'Connor O, Calvez E, Goarant C, Dupont-Rouzeyrol M. Detection of Zika Virus in
Urine Emerg lnfect Dis. [Serial online]. 2015 Jan [cite 2017 February 3]; 21(1):84-6. Available from:
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4285245/

5. Andrea M. Bingham, Marshall Cone, Valerie Mock, Lea Heberlein-Larson, Danielle Stanek,
Carina Blackmore, Anna Likos. , et al. Comparison of Test Results for Zika Virus RNA in Urine,
Serum, and Saliva Specimens from Persons with Travel-Associated Zika Virus Disease — Florida,
2016. MMWR Morb Mortal Wkly Report ; 65(18). [Serial online]. 2016 May [cite 2016 Dec 3]
Available from: https://www.cdc.gov/mmwr/volumes/65/wr/mm6518e2.htm

6. Centers for Disease Control and Prevention. Diagnostic Tests for Zika Virus. [Internet]. [cite 2016
Dec 3]. Available from URL: https://www.cdc.gov/zika/hc-providers/types-of-tests.html


Click to View FlipBook Version