The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เรื่อง ภูมิปัญญาวัฒนธรรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by teny.evil, 2022-04-10 22:01:19

ตัวอย่างผลงานนักเรียน

เรื่อง ภูมิปัญญาวัฒนธรรม

ความเป
็นมา นางสาวณิชกานต์ อุปถัมภ์ ม.4/1 เลขที่32

เดิมเป็นสินค้าที่นำเข้าจากทางประเทศจีน ภายหลังมีการ
ทดลองทำขึ้นในประเทศเพื่อรองรับความต้องการ

เริ่มแรกดำเนินการผลิตโดยพ่อค้าชาวจีนคือนายฮง แซ่เตี่ย
และนายจือเหม็ง แซ่อึ้งรวมหุ้นกัน ตั้งโรงงานผลิตขนาดเล็ก
ใน ที่จังหวัด ราชบุรี เนื่องจากพบว่าดินที่จังหวัดราชบุรีที่มีสี

แดงสามารถใช้ปั้นโอ่งได้ มารถรองรับความต้องการ

โอ่งมังกร
แนวทางการอนุรักษ์
- สร้างเครื่อข่ายสัมมาอาชีพโอ่งมังกรราชบุรี
- จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้โอ่งมังกร
- จัดตั้งสภานที่ท่องเที่ยวที่เกี่ยวกับโอ่งมังกร
เช่น“เรื่องของโอ่ง” สถานที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ศิลปะ
วัฒนธรรมประจำท้องถิ่น เพื่อสะท้อนวิถีชีวิตความเป็นอยู่
ของชาวราชบุรีอย่างแท้จริง

ความเป็นมา
คนกะเหรี่ยงเชื่อว่าทุกคนมีขวัญประจำตัวเป็นสิริมงคล

แก่ตัว หากใครที่ขวัญหายไม่อยู่กับตัว อาจทำให้เกิดโรค

ภัยไข้เจ็บได้ ดังนั้นแต่ละปีชาวกะเหรี่ยงจึงมีประเพณี

เรียกขวัญผูกข้อมือกินข้าวห่อขึ้น

ประเพณีกินข้าวห่อ แนวทางการอนุรักษ์

-จัดนิทรรศการประเพณีกินข้าวห่อ
-เผยแพร่ข้อมูลลงอินเทอร์เน็ต เพราะปัจจุบันมีเชื้อไวรัสมากมาย หากลงพื้นที่จะ
เกิดการติดเชื้อได้
-รณรงค์การสิบสานวัฒนธรรม/ภูมิปัญญาท้องภิ่น

ภูมิปัญญาท้องถิ่นภูเก็ต

ประวัติ ความเป็นมา




เป็นผลิ ตภั ณฑ์ ที่ เริ่ มต้ นมาจากอิ นโดนี เซีย และนำ
เข้ามาแพร่ หลายในจังหวัดภูเก็ ตเมื่อปีพ.ศ.2514
โดยอาจารย์ชู ชาติ ระวิจันทร์ ได้ นำมาสอนใน
วิทยาลั ยครู ภูเก็ ต(มหาวิทยาลั ยราชภั ฎภูเก็ ตใน
ปัจจุบัน) และมีลู กศิ ษย์ได้ นำมาพัฒนาจนเป็นที่
รู้ จักในปัจจุบัน กระบวนการขั้นตอนการผลิ ต
ผลิ ตภั ณฑ์ บาติ กเป็นผ้าเขียนลานเส้ นที่ เป็น
ผลิ ตภั ณฑ์ HAND MADE จุดเด่ นของผลิ ตภั ณฑ์
เป็นลวดลายที่ สะท้ อนให้ เห็ นถึ งความเป็นสถานที่
ท่ องเที่ ยวของจังหวัดภูเก็ ต

แ น ว ท า ง ก า
ร อ นุ รั ก ษ์

เมื่อมีงาน OTOP หรื อ งานที่ จัดขาย
ผ้าบาติ ก ควรจะอุ ดหนุ น และส่ งเสริ ม
ช่วยกระจ่ายข้อมู ลเกี่ ยวกั บผ้าบาติ ก
เพื่อให้ ผู้อื่ นรั บรู้ และเป็นการเผยแพร่

ให้ แก่ ผู้อื่ น เรี ยนรู้ วิธี การทำ
ผ้าบาติ ก เพื่อนำไปสอนผู้และนำไป
เผยแพร่ ให้ ผ้าบาติ กคงอยู่สื บต่ อไป

ประวัติ ความเป็นมา แนวทางการอนุ รั กษ์

หมี่ฮกเกี้ ยนผัด เป็นการผัดบะหมี่เส้ น อุ ดหนุ น ส่ งเสริ ม และสนั บสนุ นร้ านค้ าที่ ขาย
ขนาดใหญ่ของชาวจีนฮกเกี้ ยน เป็นตำรั บ หมี่ฮกเกี้ ยนผัด เรี ยนรู้ วิธี การทำ
ของคนจีนเชื้อสายฮกเกี้ ยน ซึ่ งถ่ ายทอด
กั นมาในตระกูล “สี บุ ญเรื อง” โดย หมี่ฮกเกี้ ยนผัด และนำวิธี การทำไปเผย
คุณขาว–ดร.อรรชกา สี บุ ญเรื อง ใน แพร่ ให้ ผู้อื่ น เพื่อเป็นการทำให้ ผู้อื่ นรู้ จักวิธี
ประเทศไทยก็ จะมีที่ จังหวัดภูเก็ ต และ
จังหวัดใกล้ ๆ ภูเก็ ต นอกจากนั้ น จะหา การทำหมี่ฮกเกี้ ยนผัด และทำให้ หมี่
หมี่ฮกเกี้ ยนผัดได้ ที่ ปีนั ง และ สิ งห์ โปร์ ฮกเกี้ ยนผัดเป็นที่ รู้ จัก และไม่สู ญหายไป
เพราะทั้ ง 2 ที่ มีชุ มชนชาวฮกเกี้ ยนอยู่




แหล่ งที่ มาHTTP://PHUKET-KNOWLEDGE.FREEVAR.COM
/PK-NOODLE.HTML

https://lamphuncity.go.th/wp-content/uploads/2017/12/artist-7-2.pdf

ภูมิปัญญาท้องถิ่นลำพูน

ความเป็นมา เเนวทางการอนุรักษ์
สมัยที่พระเจ้าอาทิตยราชทรงครองราชย์อยู่นั้น พระองค์ทรงดำริให้สร้างปราสาทราช ปลูกจิตสำนึกให้คนในท้องถิ่นตระหนักถึงคุณค่าเเละความ
มณเฑียรแล้วจึงปลูกสร้างหอจันฑาคารที่ลงพระบังคนไว้ใกล้กับปราสาทนั้น แต่ทุกครั้งที่ สำคัญว่าจะต้องช่วยกันอนุรักษ์ภูมิปัญญาที่เป็นเอกลักษณ์
พระองค์จะเสด็จลงพระบังคนที่หอนั้น อีกาที่ทำหน้าที่เฝ้ารักษาพระธาตุไว้มักจะบินมารบก
วนอยู่เสมอ พระเจ้าอาทิตยราชจึงมีรับสั่งให้อำมาตย์ช่วยกันทำบ่วงคล้องจึงจับอีกาตัวนั้น ของท้องถิ่นตน ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมตาม
แล้วนำไปขังไว้กับทารกแรกเกิดเป็นเวลา 7 ปี จนเมื่อทารกนั้นเติบโตขึ้นและสามารถพูด ประเพณี เเละเผยเเพร่วัฒนธรรมของท้องถิ่นตนอย่างกว้าง
คุยกับอีกาได้ จึงได้ทรงทราบว่า “อันสถานที่พระองค์ได้ทรงสร้างหอจันฑาคารนั้น เดิมเป็น
ที่ประดิษฐานพระเกศาธาตุ อุรังคธาตุแห่งองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในอดีตกาลพญากา ขาง ด้วยสื่อเเละวิธีการต่างๆให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น
เผือกผู้เป็นอัยกาของข้าพเจ้านี้ได้สั่งให้เป็นผู้เฝ้ารักษาสถานที่นี้”เมื่อพระเจ้าอาทิตยราช

ได้ยินดังนั้นจึงโปรดให้รื้อถอนปราสาทราชมณเฑียรทั้งหลายแล้วสร้างพระบรมธาตุขึ้น
โดยจัดงานสมโภชพระบรมธาตุตลอด 7 วัน 7 คืน ในวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำเดือน 8 (เหนือ)
ประชาชนชาวลำพูนได้ร่วมใจจัดงานประเพณีสรงน้ำพระธาตุหริภุญชัยและวันวิสาขบูชา

ในงานประเพณีแปดเป็ง



ความเป็นมา เเนวทางการอนุรักษ์
การทอผ้าไหมยกดอกในตอนเเรกยังไม่ปรากฏหลักฐานแต่จาก พัฒนาปรับปรุงภูมิปัญญาให้เหมาะสมกับยุคสมัย ใช้
ภูมิปัญญาพื้นฐานในการรวมกลุ่มอาชีพเเละเพื่อรักษา
คำบอกเล่า ของผู้เกี่ยวข้องอาจได้ว่า การทอผ้าไหมยกดอก มี ภูมิปัญญานี้ไว้ อาจนำความรู้ทางด้านต่างๆเข้ามาช่วยต่อย
การเริ่มต้นในคุ้มเจ้าซึ่งแต่เดิมมีการทอผ้ายกดอก กันอยู่ก่อน อดในการผลิตด้วย รวมถึงการถ่ายทอดภูมิปัญญาให้กับคน
แต่เป็นการทอยกดอกในผ้าฝ้ายและเป็นลวดลายธรรมดาๆ ไม่ รุ่นหลังให้มีความรู็ความสามารถในภูมิปัญญานี้เพื่อที่จะได้
สวยวิจิตรนัก จนกระทั่งพระราชชายาดรัศมี ซึ่งเป็นญาติกับเจ้า
เมืองลำพูนได้ถ่ายทอดความรู้เรื่องการทอผ้าไหมยกดอกที่มี ถ่ายทอดสู่คนรุ่นต่อๆไป
ลวดลายสวยงามแปลกตาและวิจิตรบรรจงซึ่งพระองค์ได้เรียนรู้

มาจากภาคกลางให้แก่เจ้าหญิงส่วนบุญซึ่งเป็นพระชายาของเจ้า
จักรคำขจรศักดิ์ เจ้าผู้ครองนครเมืองลำพูนองค์สุดท้ายและเจ้า
หญิงลำเจียกธิดาเจ้าจักรคำขจรศักดิ์เป็นผู้เริ่มทำต่อมา การทอ

ผ้าไหม ยกดอกจึงได้เผยแพร่ไปสู่ผู้คนทั่วไปโดยได้มีการ
ฝึกหัดชาวบ้านบริเวณใกล้เคียงจนมีความรู้เรื่องการทอผ้าไหม
ยกดอกเป็นอย่างดีจึงทำให้จังหวัดลำพูนกลายเป็นศูนย์กลาง

การทอผ้าไหมยกดอกแหล่งสำคัญของประเทศไทย

แหล่งที่มา;http://kfmblogger.blogspot.com/

ภภููมมิิปปััญญญญาาทท้้อองงถถิิ่่นนกกำำแแพพงงเเพพชชรร

ความเป็นมา

ในบรรดาพืชสมุนไพรต่างๆซึ่งเราๆท่านๆรู้จักกันดี
นั้ น คงจะกล่าวได้ว่ามีเพียงไม่กี่ชนิ ดที่ถูกนำมา
ดัดแปลงปรุงแต่งประกอบอาหารเป็นขนมหวานซึ่ง
แพร่หลายมากในประเทศจีน แปรรูปมาจากยาง
ของต้นเฉาก๊วยซึ่งมีสรรพคุณทางยา คือ มีฤทธิ์ช่วย
บรรเทาอาการร้อนใน ,ไข้หวัด ,ลดความดันโลหิต
สูง ,บรรเทาอาการกล้ามเนื้ ออักเสบ ,ข้ออักเสบ
,ตับอักเสบและเบาหวาน คือ “เฉาก๊วยชากังราว”

แนวทางการอนุรักษ์

เฉาก๊วยชากังราวในปัจจุบันยังคงเป็นผลิตภัณฑ์
ที่เป็นที่นิ ยมอยู่ในปัจจุบัน โดยสิ่งที่ทำให้ยังคง
ขึ้นชื่ออยู่นั้ นคือการนำมาดัดแปลงให้สามารถ
ทานได้หลากหลายมากยิ่งขึ้นเผยแพร่ผ่านทาง
โลกโซเชียลและการบอกต่อๆกันว่าเฉาก๊วยที่ดีต่อ
สุขภาพต้องเฉาก๊วยชากังราวของกำแพงเพชร
เท่านั้ น เพราะในปัจจุบันเทรนสุขภาพกำลังมา
แรง

ความเป็นมา แนวทางการอนุรักษ์

ตำบลวังไทรเป็นตำบลที่มีพื้นที่กว้าง มีทั้งที่ ในขณะที่สภาพสังคม เศรษฐกิจปัจจุบันที่
เป็นที่ราบลุ่มน้ำท่วมถึง ซึ่งสามารถทำนาได้ปี เปลี่ยนไปจากเดิม รวมถึงความเจริญ
ละ 2 ครั้ง และที่ราบสูง ซึ่งสามารถปลูกพืชไร่ ก้าวหน้ าทางกระแสวัฒนธรรมตะวันตกเข้า
ทั้งมันสำปะหลัง ข้าวโพด และงา ทำให้ มาแทนที่วัฒนธรรมเดิม ทําให้สภาพความ
ประชากรส่ วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เป็นอยู่ การดํารงชีวิตของคนในชุมชนวัง
ซึ่งบางหมู่บ้านสามารถทำนาได้ปีละ 2 ครั้ง และ ไทรเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งมีผลกระทบทําให้
บางพื้นที่เป็นที่ราบสูง ที่เหมาะแก่การทำไร่ งานจักสานหรืออาชีพจักสานลดน้ อยลงไป
เช่น ไร่มันสำปะหลัง ไร่ข้าวโพด นอกจากนั้ นก็ เรื่อยๆ จนถึงการส่งเสริมความรู้ด้านงาน
ประกอบอาชีพรับราชการ ค้าขาย และ รับจ้าง จักสานแก่ผู้ที่สนใจในอาชีพ ได้สืบทอด
ทั่วไป งานจักสานให้คงอยู่ต่อไป โดยการจัด
สมาคมและเผยแพร่วิธีการทำผ่านโลก
ออนไลน์

ภู มิ ปั ญ ญ า ท้ อ ง ถิ่ น
จั ง ห วั ด เ ชี ย ง ร า ย

ผ้าทอไทลื้อหาดบ้าย

ประวัติความเป็นมา เกิดจากภูมิปั ญญาของชาวไทลื้อ คือ ผ้าซิ่นของ
ผู้หญิงไทยลื้อที่เรียกว่า “ซิ่นตา” ซึ่งเป็นผ้าที่มีลักษณะโครงสร้างประกอบ
ด้วย ๓ ส่วน คือ หัวซิ่นสีแดง ตัวซิ่นลายขวางหลากสี ตีนซิ่นสีดำความเด่น
อยู่ที่ตัวซิ่นซึ่งมีริ้วลายขวางสลับสีสดใส และตรงช่วงกลางมีลวดลายที่ทอ
ด้วยเทคนิค ขิด จก เกาะหรือล้วง เป็นลายรูปสัตว์ในวรรณคดี ลายพรรณ

พฤกษา ลาย เรขาคณิต เอกลักษณ์ที่สำคัญ คือการทอผ้าด้วยเทคนิค
เกาะหรือล้วง หรือที่ รู้จักกันว่า “ลายน้ำไหล” ซึ่งมีความยุ่งยากซับซ้อน

แต่ทำให้เกิดลวดลายและ สีสันที่งดงามแปลกตา

เเนวทางการอนุรักษ์ ในปั จจุบันมีการปลูกฝั งการทอผ้าไทลื้อให้กับ
เยาวชนได้เข้ามาศึกษาเรียนรู้การทอผ้าไทลื้อใน

พิพิธภัณฑ์ลื้อลายคำ จ.เชียงราย และมีวิทยากรอบรมเรื่องการทอผ้า
ของศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนและเผยแพร่องค์ความรู้การทอผ้าไท
ลื้อให้เป็นที่รู้จักอย่างสม่ำเสมอ นอกจากนี้ทางจังหวัดเองยังจัดให้ผ้าทอ

ไทลื้อเป็นสินค้า CTOP ของจังหวัดอีกด้วย

ประเพณีตานก๋วยสลาก

ประวัติความเป็นมา ประเพณีนี้มีมาตั้งแต่ครั้งพุทธกาลได้มีการปฏิบัติสืบต่อกันมาจนถึงลูกหลานในปั จจุบัน เรื่องมีอยู่ว่า
มีนางยักษิณีตนหนึ่งมักจะเบียดเบียน ผู้คนอยู่เสมอ ครั้นได้ฟั งธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว นางก็บังเกิดความ

เลื่อมใสศรัทธานิสัยใจคอที่โหดร้ายก็กลับเป็นผู้เอื้ออารีแก่คนทั่วไปจนผู้คนต่างพากันซาบซึ้งในมิตรไมตรีของนางยักษิณี
ตนนั้น ถึงกับนำสิ่งของมาแบ่งปั นให้ แต่เนื่องจากสิ่งของที่ได้รับมีจำนวนมาก นางยักษิณีจึงนำสิ่งของเหล่านั้นมาทำเป็น
สลากภัต แล้วให้พระสงฆ์/สามเณร จับสลากด้วยหลักอุปโลกนกรรม คือสิ่งของที่ถวาย มีทั้งของของมีราคามากและมี

ราคาน้อยแตกต่างกันไปตามแต่โชคของผู้ได้รับ จึงนับเป็นครั้งแรกของประเพณีทำบุญสลากภัตในพุทธศาสนา

เเนวทางการอนุรักษ์ ก่อนถึงวันงานจะมีการเเจกใบความรู้เกี่ยว
กับประเพณีตานก๋วยสลากให้เเก่นักศึกษาว่ามีความเป็นมา

อย่างไรเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับประเพณีนี้
โดยนักศึกษาชั้นปีที่หนึ่งจะรับหน้าที่ทำสลากมาทำบุญ ขณะที่รุ่น

พี่ในแต่ละคณะ/สาขาวิชาก็จะร่วมกิจกรรมด้วยการแต่งกาย
ประจำคณะและจัดขบวนแห่ต้นสลากซึ่งมีการประดับตกแต่งกัน

อย่างสวยงาม เเละยังมีการประชาสัมพันธ์ให้คนต่างจังหวัด
เดินทางมาท่องเที่ยวเเละมาร่วมประเพณีนี้อีกด้วย


Click to View FlipBook Version