The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

PA1 ต.ค.66-ก.ย.67 ครูพิมพ์ภัทร ส่ง ผอ. - Pim Sirime

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nathapons2006, 2024-01-24 00:45:11

PA1 ครูพิมพ์ภัทร ศิริเม 2567

PA1 ต.ค.66-ก.ย.67 ครูพิมพ์ภัทร ส่ง ผอ. - Pim Sirime

เอกสารข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) ส าหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ต าแหน่ง ครู วิทยฐานะ ช านาญการพิเศษ ประจ าปีงบประมาณ ๒๕๖๗ ระหว่างวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ ถึง วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๗ จัดท าข้อตกลงโดย นางพิมพ์ภัทร ศิริเม ต าแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูช านาญการพิเศษ โรงเรียนบ้านหนองม่วง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต ๒ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


บันทึกข้อความ ส่วนราชการ โรงเรียนบ้านหนองม่วง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต ๒ ที่ พิเศษ /๒๕๖๖ วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๖ เรื่อง ส่งแบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) ประจ าปีงบประมาณ ๒๕๖๗ .......................................................................................................................................................... เรียน ผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านหนองม่วง ตามที่ส านักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้ออกประกาศ หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินต าแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ต าแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูช านาญการพิเศษ ที่ ศธ ๐๒๐๖.๓/ว๙ ลงวันที่ ๒๐ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๔ ซึ่งในหมวด ๒ นั้น ได้ให้ข้าราชการครูท าแบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) ขึ้นในแต่ละรอบ ปีงบประมาณ ซึ่งในปีงบประมาณ ๒๕๖๗ นั้น ข้าพเจ้า นางพิมพ์ภัทร ศิริเม ต าแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูช านาญการพิเศษ ปฏิบัติหน้าที่ครูผู้สอนระดับประถมศึกษาปีที่ ๕-๖ ได้ด าเนินการท าแบบข้อตกลง ในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) ประจ าปีงบประมาณ ๒๕๖๗ เรียบร้อยแล้ว จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณา ลงชื่อ..................................................... (นางพิมพ์ภัทร ศิริเม) ต าแหน่ง ครูโรงเรียนบ้านหนองม่วง ความเห็นของผู้อ านวยการสถานศึกษา ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ..................................................... (นายณัฐพล มีเวที) ต าแหน่ง ผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านหนองม่วง


ค าน า แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) จัดท าขึ้นเพื่อน าเสนอข้อตกลง ในการพัฒนางาน ส าหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ต าแหน่งครู ประจ าปีงบประมาณ 2๕๖๗ ระหว่างวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ ถึงวันที่ ๓0 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๗ แบบบันทึกข้อตกลงฉบับนี้ น าเสนอ ต่อผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านหนองม่วง เพื่อเป็นข้อตกลงในการพัฒนาตนเอง ประกอบไปด้วย ๒ ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ ๑ ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานต าแหน่ง ๑. ภาระงาน ๒. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานต าแหน่งครู โดยระบุรายละเอียดของงานที่จะปฏิบัติ ในแต่ละด้าน ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของ ผู้เรียน ขอขอบพระคุณผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านหนองม่วง ที่ได้อนุเคราะห์ให้ค าปรึกษา แนะน าในการจัดท า บันทึกข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ฉบับนี้ ข้าพเจ้าจะน าข้อตกลงไปพัฒนาผู้เรียนและพัฒนาตนเองให้บรรลุ ตามเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ นางพิมพ์ภัทร ศิริเม ต าแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูช านาญการพิเศษ


สารบัญ รายการ หน้า ข้อมูลผู้จัดท าข้อตกลง........................................................................................................ ................... 1 ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้.......................................................................................................... 1 ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานต าแหน่ง.................................................................. 1 1. ภาระงาน................................................................................................................... ....... 1 2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานต าแหน่งครู......................................................................... ๒ 1) ด้านการจัดการเรียนรู้.................................................................................................. ๒ 2) ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้........................................................ ๖ 3) ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ............................................................................... ๗ ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ๑๐ 1. สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน...................................... ๑๐ 2. วิธีการด าเนินการให้บรรลุ.................................................................................................. ๑๐ 3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง.............................................................................................. ๑๐ ความเห็นของผู้อ านวยการสถานศึกษา.............................................................................................. ... ๑๑


๑ แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ส าหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ต าแหน่งครู วิทยฐานะ ครูช านาญการพิเศษ (ทุกสังกัด) ประจ าปีงบประมาณ ๒56๗ ระหว่างวันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ ถึงวันที่ 30 เดือน กันยายน พ.ศ. 256๗ ผู้จัดท าข้อตกลง ชื่อ นางพิมพ์ภัทร นามสกุล ศิริเม ต าแหน่ง ครูวิทยฐานะ ครูช านาญการพิเศษ ษ สถานศึกษา โรงเรียนบ้านหนองม่วง สังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต ๒ 2 รับเงินเดือนในอันดับ คศ.๓(๔) อัตราเงินเดือน ๖๗,๖๘๐ บาท ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้(สามารถระบุได้มากกว่า 1 ประเภทห้องเรียน ตามสภาพการจัด การเรียนรู้จริง) ห้องเรียนวิชาสามัญหรือวิชาพื้นฐาน ห้องเรียนปฐมวัย ห้องเรียนการศึกษาพิเศษ ห้องเรียนสายวิชาชีพ ห้องเรียนการศึกษานอกระบบ / ตามอัธยาศัย ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจ านงในการจัดท าข้อตกลงในการพัฒนางานต าแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูช านาญการพิเศษ ซึ่งเป็นต าแหน่ง ที่ด ารงอยู่ในปัจจุบันกับผู้อ านวยการสถานศึกษา ไว้ดังต่อไปนี้ ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานต าแหน่ง 1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. ก าหนด 1.1 ชั่วโมงการสอน ตามตารางสอน รวมจ านวน ๒๑ ชั่วโมง / สัปดาห์ ดังนี้ ๑. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕-๖ - รายวิชาภาษาไทย จ านวน ๘ ชั่วโมง/สัปดาห์ - ซ่อมเสริมภาษาไทย จ านวน ๔ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๒. รายวิชาประวัติศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ จ านวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ ๓. กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ จ านวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๔. สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ - รายวิชาหน้าที่พลเมือง จ านวน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๕. แนะแนว ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จ านวน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๖. กิจกรรมลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จ านวน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๗. กิจกรรมชุมนุม จ านวน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๘. สวดมนต์ไหว้พระวันศุกร์ จ านวน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จ านวน ๕ ชั่วโมง/สัปดาห์ - งานธุรการชั้นเรียน จ านวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ - งานวิจัยในชั้นเรียน จ านวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ - การมีส่วนร่วมในชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) จ านวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ PA ๑/ส


๒ 1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จ านวน ๑๖ ชั่วโมง/สัปดาห์ - งานบริหารวิชาการ จ านวน ๕ ชั่วโมง/สัปดาห์ - งานบริหารบริหารทั่วไป จ านวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ - งานทะเบียนและวัดผล จ านวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ - งานครูที่ปรึกษาประจ าชั้น/งานดูแลนักเรียน จ านวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์ - งานครูเวรประจ าวัน จ านวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จ านวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ - ด าเนินงานตอบสนองนโยบายและจุดเน้นของ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา บุรีรัมย์ เขต 2 รัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการและส่วนราชการต้นสังกัด จ านวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ ๒. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานต าแหน่งครู ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานต าแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะด าเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) 1. ด้านการจัดการเรียนรู้ ลักษณะงานที่เสนอให้ ครอบคลุมถึงการสร้างและ หรือพัฒนาหลักสูตร การออกแบบการจัด การเรียนรู้ การจัดกิจกรรม การเรียนรู้ การสร้าง และ หรือพัฒนาสื่อนวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่ง เรียนรู้การวัดและ ประเมินผล การจัดการเรียนรู้ การศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนาการเรียนรู้ การจัดบรรยากาศ ที่ส่งเสริมและพัฒนา ผู้เรียน และการอบรมและ พัฒนาคุณลักษณะที่ดีของ ผู้เรียน ๑.๑ สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร - จัดท าหลักสูตรและหน่วยการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และ ตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตร เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาสมรรถนะและการ เรียนรู้ เต็มตามศักยภาพ โดยมีการประยุกต์ ให้สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน ผู้เรียน และชุมชน 1. ผู้เรียนได้รับการ จัดการเรียนรู้ตาม หลักสูตรและมีความรู้ ตามมาตรฐานและ ตัวชี้วัด ๒. ผู้เรียนได้รับการ พัฒนาคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ การอ่าน การเขียน คิดวิเคราะห์ สมรรถนะส าคัญของ ผู้เรียน 1. ร้อยละ ๗๕ ของ ผู้เรียนมีความรู้ผ่าน เกณฑ์การประเมินตามที่ สถานศึกษาก าหนด ๒. ร้อยละ ๗๕ ของ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น เป็นไปตามค่าเป้าหมาย ที่สถานศึกษาก าหนด


๓ ต่อ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานต าแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะด าเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน(โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึง การเปลี่ยนแปลงไป ในทางที่ดีขึ้นหรือมีการ พัฒนามากขึ้นหรือ ผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) ๑.๒ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ - เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ เพื่อให้ผู้เรียนมี ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะประจ าวิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะที่ ส าคัญตามหลักสูตร โดยมีการปรับประยุกต์ ให้สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน ผู้เรียน และชุมชน - จัดท าแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นส าคัญ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ตามเป้าหมายที่ โรงเรียนก าหนด ๑. ผู้เรียนมีความรู้ตาม มาตรฐานและตัวชี้วัด ๒. ผู้เรียนได้รับการ พัฒนาในด้าน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์และสมรรถนะ ส าคัญตามหลักสูตร ๑. ร้อยละ ๗๕ ของ ผู้เรียนมีความรู้ผ่าน เกณฑ์การประเมินตามที่ สถานศึกษาก าหนด ๒. ร้อยละ ๗๕ ของ ผู้เรียนมีผลการประเมิน ในด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์และสมรรถนะ ส าคัญตามหลักสูตร สูงขึ้นเป็นไปตามค่า เป้าหมายที่สถานศึกษา ก าหนด ๑.๓ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีการอ านวยความสะดวกใน การเรียนรู้และส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนา เต็มตามศักยภาพ เรียนรู้และท างานร่วมกัน โดยมีการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับ ความแตกต่างของผู้เรียน ๑. ผู้เรียนได้รับการ พัฒนาตามศักยภาพ ความแตกต่างของ แต่ละบุคคล ๒. ผู้เรียนมีนิสัยใฝ่ เรียนรู้มุ่งมั่นในการ ท างานและสามารถ ท างานร่วมกับผู้อื่นได้ เป็นอย่างดี ๓. ผู้เรียนเกิดความพึง พอใจต่อการเรียนวิชา ภาษาไทยมากยิ่งขึ้น และมีส่วนร่วมในการ จัดกิจกรรมการเรียน การสอนแบบ Active Learning ๑. ร้อยละ ๗๕ ของ ผู้เรียนมีความพึงพอใจ ต่อการเรียนวิชา ภาษาไทยมากและมีส่วน ร่วมในการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน รูปแบบ Active Learning


๔ ต่อ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานต าแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะด าเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน(โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึง การเปลี่ยนแปลงไป ในทางที่ดีขึ้นหรือมีการ พัฒนามากขึ้นหรือ ผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) ๑.๔ สร้างและพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ - มีการสร้างและพัฒนาสื่อนวัตกรรมเทคโน โลยีและแหล่งเรียนรู้โดยมีการปรับประยุกต์ ให้สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ - จัดท าสื่อที่ส่งเสริมพัฒนานักเรียนโดยใช้ เทคโนโลยี เช่น บทเรียนช่วยสอนน าเสนอ ด้วยโปรแกรมเพาเวอร์พอยท์ - พัฒนาแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอก ห้องเรียน ๑. ผู้เรียนได้รับความรู้ จากการใช้สื่อที่ หลากหลาย สอดคล้อง กับการจัดกิจกรรม การเรียนรู้และทันสมัย ๒. ผู้เรียนได้รับความรู้ จากการใช้แหล่งเรียนรู้ ที่หลากหลายและ สอดคล้องกับการ เรียนรู้ ๑. ร้อยละ 75 ของ ผู้เรียนมีความรู้ผ่าน เกณฑ์การประเมินตามที่ สถานศึกษาก าหนด ๒. ร้อยละ ๗๕ ของ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น เป็นไปตามค่าเป้าหมาย ที่สถานศึกษาก าหนด ๑.๕ วัดและประเมินผลการเรียนรู้ - มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้วย วิธีการที่หลากหลายเหมาะสม และ สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ให้ผู้เรียน พัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง - สร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลเพื่อการ พัฒนาผู้เรียนตามสภาพจริง ๑. ผู้เรียนได้รับการ ประเมินผลการเรียนรู้ ต่อเนื่อง หลากหลาย ๒. น าผลการประเมิน มาใช้ในการส่งเสริม หรือปรับปรุงแก้ไข การเรียนรู้ของผู้เรียน ๑. ร้อยละ ๗๕ ของ ผู้เรียนมีความรู้ผ่าน เกณฑ์การประเมิน เป็นไปตามระเบียบการ วัดผลการประเมินของ สถานศึกษา ๒. ร้อยละ ๗๕ ของ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น เป็นไปตามค่าเป้าหมาย ที่สถานศึกษาก าหนด ๑.๖ ศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ เพื่อ แก้ไขปัญหา หรือพัฒนาการเรียนรู้ - มีการศึกษา วิเคราะห์และสังเคราะห์ เพื่อ แก้ไขปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ที่ส่งผล ต่อคุณภาพผู้เรียน - วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล - จัดกลุ่มผู้เรียน - วางแผนพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพและ ความแตกต่างระหว่างบุคคล ๑. นักเรียนได้รับการ แก้ปัญหาหรือพัฒนาใน ด้านการเรียนรู้ ๒. นักเรียนได้รับการ แก้ปัญหาหรือพัฒนา ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ๓. นักเรียนได้รับการ แก้ปัญหาหรือพัฒนา ด้านสมรรถนะส าคัญ ของผู้เรียน ๑. ร้อยละ ๗๕ ของ ผู้เรียนมีความรู้ผ่าน เกณฑ์การประเมินของ สถานศึกษา ๒. ร้อยละ ๗๕ ของ ผู้เรียนมีผลการประเมิน ด้านคุณลักษณะอันพึง และสมรรถนะส าคัญตาม หลักสูตรที่สูงขึ้น เป็นไป ตามค่าเป้าหมายที่ สถานศึกษาก าหนด


๕ ต่อ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานต าแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะด าเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน(โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึง การเปลี่ยนแปลงไป ในทางที่ดีขึ้นหรือมีการ พัฒนามากขึ้นหรือ ผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) ๑.๗ จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนา ผู้เรียน - มีการจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนา ผู้เรียน ให้เกิดกระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการท างาน ทักษะการเรียนรู้และ นวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และ เทคโนโลยี ๑. ผู้เรียนได้รับการ พัฒนาในด้าน สมรรถนะส าคัญของ ผู้เรียน ๑.ร้อยละ ๗๕ ของ ผู้เรียนมีผลการประเมิน ในด้านสมรรถนะส าคัญ ตามหลักสูตรสูงขึ้น เป็นไปตามค่าเป้าหมาย ที่สถานศึกษาก าหนด ๑.๘ อบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของ ผู้เรียน - มีการอบรมบ่มนิสัยให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ ค่านิยมความเป็นไทยที่ดีงาม - จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. โรงเรียนวิถีพุทธ ๒. โรงเรียนสุจริต ๑. นักเรียนได้รับการ พัฒนาด้านคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ๑. ร้อยละ ๗๕ ของ ผู้เรียนมีผลการประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ สูงขึ้นเป็นไป ตามค่าเป้าหมายที่ สถานศึกษาก าหนด


๖ ต่อ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานต าแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะด าเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน(โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึง การเปลี่ยนแปลงไป ในทางที่ดีขึ้นหรือมีการ พัฒนามากขึ้นหรือ ผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) 2. ด้านการส่งเสริมและ สนับสนุน ลักษณะงานที่เสนอให้ ครอบคลุมถึงการจัดท า ข้อมูลสารสนเทศของ ผู้เรียนและรายวิชาการ ด าเนินการตามระบบดูแล ช่วยเหลือผู้เรียนการ ปฏิบัติงานวิชาการและงาน อื่น ๆ ของสถานศึกษา และการประสานความ ร่วมมือกับผู้ปกครองภาคี เครือข่าย และหรือสถาน ประกอบการ ๒.๑ จัดท าข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและ รายวิชา - มีการจัดท าข้อมูล สารสนเทศของ ผู้เรียนและรายวิชา เพื่อใช้ในการส่งเสริม สนับสนุนการเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพ - จัดท ารายงานข้อมูลสารสนเทศ ผู้เรียนรายบุคคล รายวิชาภาษาไทย เพื่อใช้ ในการส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้และ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ๑. ผู้เรียนเรียนได้รับ การช่วยเหลือตาม ข้อมูลสารสนเทศ รายบุคคล ๑. ร้อยละ ๗๕ ของ ผู้เรียนได้รับการดูแล ช่วยเหลือตามข้อมูล สารสนเทศรายบุคคล ๒.๒ ด าเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือ ผู้เรียน - การออกเยี่ยมบ้าน คัดกรองนักเรียน รวม ไปถึงผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการให้ความ ช่วยเหลือตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน - มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียน รายบุคคลและประสานความร่วมมือกับผู้มี ส่วนเกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาและแก้ปัญหา ผู้เรียน - รายงานผลการเยี่ยมบ้านนักเรียน ๑. นักเรียน ผู้ปกครอง ครูมีส่วนร่วมในในการ ให้ความช่วยเหลือใน การเรียนรู้และระบบ ดูแลช่วยเหลือนักเรียน รายบุคคล ทั้งด้าน วิชาการ คุณลักษณะ อันพึงประสงค์และ สมรรถนะส าคัญ ๑. ร้อยละ ๗๕ ของ ผู้เรียนได้รับการติดตาม ช่วยเหลือเพื่อแก้ปัญหา และพัฒนาการเรียนรู้ ๒.๓ ปฏิบัติงานวิชาการ และงานอื่น ๆ ของ สถานศึกษา - ปฏิบัติงานบริหารวิชาการในการพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษา การวัดประเมินผล วิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา พัฒนา สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี พัฒนาแหล่ง เรียนรู้ นิเทศการศึกษา พัฒนาระบบ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ส่งเสริม ความรู้ด้านวิชาการแก่ชุมชน ประสาน ความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กรและหน่วยงาน ๑. นักเรียนมีความรู้ ตามมาตรฐานและ ตัวชี้วัด ๒. นักเรียนได้รับการ พัฒนาที่ดีขึ้น ๑. ร้อยละ ๗๕ ของ ผู้เรียน มีความรู้ผ่าน เกณฑ์การประเมิน เป็นไปตามระเบียบการ วัดผลประเมินผลของ สถานศึกษา ๒. ร้อยละ ๗๕ ของ ผู้เรียน มีผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้นเป็นไปตามค่า เป้าหมายของ สถานศึกษาก าหนด


๗ ต่อ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานต าแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะด าเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน(โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึง การเปลี่ยนแปลงไป ในทางที่ดีขึ้นหรือมีการ พัฒนามากขึ้นหรือ ผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) - จัดท ารายงานการประเมินตนเองของ สถานศึกษา (SAR) - จัดท าแผนการจัดชั้นเรียน - บันทึกข้อมูลระบบ e-sar - บันทึกข้อมูลระบบ Schoolmis ๒.๔ ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือสถานประกอบการ - ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคี เครือข่าย และหรือสถานประกอบการ เพื่อ ร่วมกันแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียน - ร่วมจัดกิจกรรมประชุมผู้ปกครอง ๑ครั้ง/ ภาคเรียน - จัดให้มีช่องทางในการติดต่อสื่อสารกับ ผู้ปกครองและภาคีเครือข่าย ๑. นักเรียนได้รับการ สนับสนุนช่วยเหลือ ดูแลทั้งด้านวิชาการ และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์รวมทั้ง สมรรถนะส าคัญของ ผู้เรียน ๑. ร้อยละ ๗๕ ของ ผู้เรียนมีความรู้ผ่าน เกณฑ์การประเมิน มี คุณธรรม จริยธรรมและ คุณลักษณะอันพึง ประสงค์รวมทั้ง สมรรถนะส าคัญตาม หลักสูตร 3. ด้านการพัฒนาตนเอง และวิชาชีพ ลักษณะงานที่เสนอ ให้ครอบคลุมถึงการพัฒนา ตนเองอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่องการมีส่วนร่วม ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนา การจัดการเรียนรู้ และการ น าความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการพัฒนา ตนเอง และวิชาชีพมาใช้ ในการพัฒนาการจัดการ เรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน และการพัฒนา นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ๓.๑ พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและ ต่อเนื่อง - มีการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ เพื่อให้เกิดความรู้ ความสามารถ ทักษะ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การใช้ภาษาไทย และ การใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล โดยการเข้าอบรม/ ประชุม ไม่น้อยกว่า ๒๐ ชั่วโมงต่อปีใน สาขาและวิชาที่เหมาะสมและเผยแพร่ ความรู้ที่ได้จากการพัฒนาตนเองแก่ครูที่มี ส่วนเกี่ยวข้อง 1. นักเรียนได้รับการ จัดประสบการณ์เรียนรู้ ด้านความรู้และด้าน อื่นๆ ในรูปแบบ ที่หลากหลาย ทันสมัย จากการน าความรู้และ ประสบการณ์จาก การเข้ารับการประชุม/ อบรมและการเข้าร่วม ชุมชนการเรียนรู้ทาง วิชาชีพ (PLC) มา ประยุกต์ใช้ในการจัด การเรียนรู้ ส่งผลให้ สามารถจัดกิจกรรมที่ เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ๑. ร้อยละ ๗๕ ของ ผู้เรียน มีความรู้ผ่าน เกณฑ์การประเมินของ สถานศึกษา ๒. ร้อยละ ๗๕ ของ ผู้เรียนมีผลการประเมิน ในด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์และสมรรถนะ ส าคัญตามหลักสูตร เป็นไปตามค่าเป้าหมาย ที่สถานศึกษาก าหนด


๘ ต่อ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานต าแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะด าเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน(โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึง การเปลี่ยนแปลงไป ในทางที่ดีขึ้นหรือมีการ พัฒนามากขึ้นหรือ ผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) ๓.๒ การมีส่วนร่วม และเป็นผู้น าในการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทางวิชาชีพ เพื่อแก้ไข ปัญหาและสร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการ จัดการเรียนรู้ - เข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทั้ง ภายในและภายนอกกสถานศึกษา - มีส่วนร่วมและเป็นผู้น าในการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ในกิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทาง วิชาชีพ(PLC) ๑. นักเรียนได้รับการ แก้ปัญหาหรือพัฒนาใน ด้านการเรียนรู้ ๒. นักเรียนได้รับการ แก้ปัญหาหรือพัฒนา ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ๓. นักเรียนได้รับการ แก้ปัญหาหรือพัฒนา ด้านสมรรถนะส าคัญ ของผู้เรียน ๑. ร้อยละ ๗๕ ของ ผู้เรียน มีความรู้ผ่าน เกณฑ์การประเมินของ สถานศึกษา ๒. ร้อยละ ๗๕ ของ ผู้เรียนมีผลการประเมิน ในด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์และสมรรถนะ ส าคัญตามหลักสูตร เป็นไปตามค่าเป้าหมาย ที่สถานศึกษาก าหนด ๓.๓ น าความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้ จากการพัฒนาตนเอง และวิชาชีพมาใช้ใน การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ - การเข้าร่วมอบรม/การประชุมรูปแบบ ต่างๆ ทั้งแบบ On Line และแบบเข้าร่วม อบรม ที่สามารถน าความรู้มาพัฒนาการ จัดการเรียนการให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง ในสถานการณ์ปัจจุบัน - การน าความรู้มาพัฒนา คุณภาพผู้เรียน โดยการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ที่มีผลต่อคุณภาพผู้เรียน ๑. น าทักษะและองค์ ความรู้มาบูรณาการ สอดแทรกในเนื้อหา สาระวิชาในการจัดการ เรียนรู้และพัฒนา นวัตกรรมการเรียนรู้ให้ สอดคล้องกับความ แตกต่างระหว่างบุคคล ๒. ร่วมกิจกรรมชุมชน การเรียนรู้ทางวิชาชีพ แลกเปลี่ยนปัญหาใน การจัดการเรียนการ สอนของผู้เรียนที่ หลากหลาย ๑. ร้อยละ ๗๕ ของ ผู้เรียน มีผลสัมฤทธิ์วิชา ภาษาไทยในระดับ คุณภาพ ๓ ขึ้นไป ๒. ร้อยละ ๗๕ ของ ผู้เรียนได้รับการพัฒนา ทักษะการคิดวิเคราะห์ จากนวัตกรรมที่ครูผู้สอน ประยุกต์ใช้ เช่น บทเรียนช่วยสอน น าเสนอด้วยโปรแกรม เพาเวอร์พอยท์ และ แบบฝึกทักษะการเขียน เรื่องจากภาพ


๙ หมายเหตุ 1. รูปแบบการจัดท าข้อตกลงในการพัฒนางานตามแบบ PA 1 ให้เป็นไปตามบริบทและสภาพ การจัดการเรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อ านวยการสถานศึกษาและ ข้าราชการครูผู้จัดท าข้อตกลง 2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ต้องเป็นงานในหน้าที่ความรับผิดชอบหลักที่ ส่งผลโดยตรงต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน และให้น าเสนอรายวิชาหลักที่ท าการสอน โดยเสนอในภาพรวม ของรายวิชาหลักที่ท าการสอนทุกระดับชั้น ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหนึ่งได้ โดยจะต้องแสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติงานตามมาตรฐานต าแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางาน ตามข้อตกลงสามารถประเมินได้ตามแบบการประเมิน PA 2 3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความส าคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน (Outcomes) และตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผล การพัฒนางานตามข้อตกลง ให้คณะกรรมการด าเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบัติงานจริง สภาพการจัดการเรียนรู้ในบริบทของแต่ละสถานศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากการพัฒนา งานตามข้อตกลงเป็นส าคัญ โดยไม่เน้นการประเมินจากเอกสาร


๑๐ ส่วนที่ ๒ ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนของผู้จัดท าข้อตกลง ซึ่งปัจจุบัน ด ารงต าแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูช านาญการพิเศษ คือ การริเริ่ม พัฒนา การจัดการเรียนรู้ต้องพัฒนาคุณภาพ การเรียนรู้ของผู้เรียนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น (ทั้งนี้ประเด็นท้าทาย อาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังที่สูงกว่าได้) ประเด็นท้าทาย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การเขียนเรื่องจากภาพโดยใช้ เทคนิค 4W1H ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทาง active learning เน้นให้ นักเรียนเรียนรู้โดยการปฏิบัติจริงจากการใช้ชุดกิจกรรม มีการฝึกตอบค าถาม Who ใคร What อะไร Where ที่ไหน when เมื่อไร และ How อย่างไร ให้นักเรียนให้รู้จักการสังเกตรายละเอียด เชื่อมโยงความคิด ความรู้สึก ใช้ประสบการณ์ร่วมกับจินตนาการ เพื่อเขียนเป็นเรื่องราว ฝึกแต่งประโยค เขียนเรียงความคิดให้ ต่อเนื่องเป็นเรื่องราว สรุปความคิด และตั้งชื่อเรื่อง เพิ่มความน่าสนใจในการเรียนรู้ โดยการระดมความคิดและ มีส่วนร่วมในการสร้างผลงาน ส่งเสริมทักษะกระบวนการท างาน ๑. สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ผลจากการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติขั้นพื้นฐาน o-net ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ วิชาภาษาไทย สถาบันการทดสอบการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) ได้จัดท าสรุปรายงานผล การทดสอบเป็นค่าสถิติพื้นฐาน พบว่า นักเรียนยังขาดทักษะการเขียนเรื่องจากภาพ จึงจ าเป็นต้องได้รับการฝึก ทักษะอย่างถูกต้องตามขั้นตอน ทุกคนต้องมีโอกาสเรียนรู้และพัฒนาความสามารถของตนอย่างเต็มศักยภาพ โดยใช้เทคนิค 4W1H ในการเขียนเรื่องจากภาพ เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ๒. วิธีการด าเนินการให้บรรลุ ๒.๑ วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบ้านหนองม่วง พุทธศักราช ๒๕๖๕ เอกสารประกอบหลักสูตร กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย วิเคราะห์มาตรฐาน การเรียนรู้ ตัวชี้วัดของเนื้อหาการเขียนเรื่องจากภาพ ๒.๒ จัดท าก าหนดการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การเขียนเรื่องจากภาพโดยใช้เทคนิค 4W1H ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ๒.๓ ก ากับ นิเทศ ติดตาม การจัดกิจกรรมการเรียนรู้วัดและประเมินผลสัมฤทธิ์หลังเรียน เพื่อประเมินการเรียนรู้ ประเมินความพึงพอใจของนักเรียน และรายงานผล การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การเขียนเรื่องจากภาพโดยใช้เทคนิค 4W1H ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ๓. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง ๓.๑ เชิงปริมาณ ๓.๑.๑ เพื่อหาประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การเขียนเรื่องจากภาพโดยใช้เทคนิค 4W1H ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ๗๕/๗๕ ๓.๑.๒ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ที่เรียนเรื่อง การเขียนเรื่องจากภาพโดยใช้เทคนิค 4W1H ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ที่มีคะแนนเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ๓.๑.๓ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ที่เรียนเรื่อง การเขียนเรื่องจากภาพโดยใช้เทคนิค 4W1H ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ มีความพึงพอใจมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากขึ้นไป


๑๑ ๓.๒ เชิงคุณภาพ การปรับประยุกต์ เทคนิค สื่อการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การเขียนเรื่องจากภาพโดยใช้เทคนิค 4W1H ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ลงชื่อ........................................................................ (นางพิมพ์ภัทร ศิริเม) ต าแหน่ง ครู ผู้จัดท าข้อตกลงในการพัฒนางาน 1 / ตุลาคม / 256๖ ความเห็นของผู้อ านวยการสถานศึกษา ( ) เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ( ) ไม่เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมีข้อเสนอแนะเพื่อน าไปแก้ไข และเสนอเพื่อ พิจารณาอีกครั้ง ดังนี้ ............................................................................................................... ............................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ……….................................................. (นายณัฐพล มีเวที) ต าแหน่ง ผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านหนองม่วง 1 / ตุลาคม / 256๖


๑๒ การอ้างอิง ส านักงาน ก.ค.ศ. (2564). หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินต าแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา ต าแหน่งครู. กรุงเทพ: ส านักงาน ก.ค.ศ.


๑๓ เอกสารข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA)


Click to View FlipBook Version