The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tatar urum, 2019-12-16 02:39:57

บทที่ที่ 1

บทที่ที่ 1

หนา |1

หนว ยที่ 1
ความสําคญั ของการเพาะพนั ธแุ ละอนบุ าล

เน้อื หาสาระ
1. ความหมายและความสําคญั ของการเพาะพนั ธปุ ลา
1.1 ความหมายของการเพาะพนั ธปุ ลา
การดําเนินการใด ๆ เพ่ือใหปลาผสมพันธุวางไข พัฒนาจนเปนตัวออนและอนุบาลดูแลลูก

ปลาวัยออน จนมีขนาดท่ีตามตองการ ตลอดถึงการปรับปรุงพันธุปลาใหมีความแข็งแรง ทนทานตอ
สภาพแวดลอม สามารถเจรญิ เติบโตไดอยางรวดเรว็ ตามความตอ งการของตลาด

1.2 สาเหตขุ องการเพาะพนั ธุปลา
การรวบรวมพันธุสัตวน้ําจากธรรมชาติเปนวิธีการท่ีทํามาตั้งแตดั้งเดิม โดยวิธีการตาง ๆ

ในการจับและรวบรวม เชน การจับลูกปลาสวาย และลูกปลาดุกดานในประเทศไทย การจับลูกปลา
นวลจันทรทะเล เปนตน ในการจับลูกพันธุปลามีการใชเครื่องมือตาง ๆ อาทิเชน การใชสวิง อวนตาถ่ี และ
เครอื่ งมอื จบั แบบพื้นเมอื งท่ัว ๆ ไป วิธีรวบรวมพันธุดังกลาว ไมเหมาะสมกับสถานการณในปจ จุบนั คือ

1) ไมสามารถท่ีจะกําหนดเวลา และไมสามารถท่ีจะขยายกิจการเลี้ยงใหเปนอุตสาหกรรมได
เพราะปริมาณปลาท่ีรวบรวมไดมีจํานวนไมแนนอน และเวลาที่จับไดไมแนนอน หรือคลาดเคลื่อนจากการ
กําหนดเวลา

2) ลูกสัตวนํา้ ท่ีรวบรวมไดจ ากธรรมชาตนิ นั้ อาจจะมีลูกสัตวนํ้าชนิดอ่ืนปะปนเขามาดวยทําใหมี
ปญ หา คอื อาจเปนศตั รโู ดยตรง คอื กนิ สตั วน ํ้าทเี่ ราเล้ยี งหรือแยงอาหาร ทําใหส ตั วนาํ้ ที่เลี้ยงมีอัตราการรอดตาย
ต่าํ หรือเตบิ โตชา

3) สัตวน้ําทีร่ วบรวมจากธรรมชาตินั้น อาจโตชาหรือโตเร็วไมแนนอน เพราะอาจมาจากพอแม
พันธทุ ี่สมบรู ณแตกตา งกนั

4) ทําใหต น ทนุ ในการผลิตสงู เพราะความไมแ นน อนในการจดั หาพันธุ
1.3 ประโยชนของการเพาะพนั ธุปลา

1) สามารถผลติ ลกู ปลาไดเปน จํานวนมากตอการเพาะพันธุในแตละครั้ง เชน ปลาตะเพียนขาว
ปลาดุก ปลาย่ีสกเทศ ปลาเฉา ปลาสวาย เปนตน

2) ไดลูกปลาท่มี ีขนาดสม่ําเสมอ
3) สามารถผสมขามพันธุ เพื่อใหไดพ นั ธใุ หม เชน การผสมขา มพนั ธุระหวางปลาดกุ อยุ กับปลา
ดุกเทศ หรือปลาดุกรัสเซีย ไดปลาดุกลูกผสม ทเี่ รยี กวา ”บิก๊ อุย”
4) สามารถเพาะพนั ธุปลาทไ่ี มผ สมพันธุกนั เองในบอเลย้ี งได เชน ปลาสวาย ปลาเทพา ปลา
เฉา ปลาลน่ิ ปลาย่ีสกเทศ เปน ตน
5) ไดลูกปลาทแี่ ข็งแรงปราศจากโรค
6) ประหยดั พอ แมพ นั ธุ หรือใชพอแมพ ันธุจาํ นวนนอ ย
7) ประหยดั เวลาและคาใชจายมากกวาการเพาะพันธุปลาโดยวิธีอื่น เชน การเพาะพันธุโดยวิธี
ธรรมชาติเสียเวลามาก ไดลูกปลาไมแ นน อน
8) สามารถเพาะพนั ธปุ ลาทใ่ี กลจะสญู พันธใุ หมปี รมิ าณเพิม่ ขึ้น เชน ปลาตะพัด ปลามา ปลา
บึก เปน ตน
รายวชิ าเทคนคิ การเพาะพนั ธปุ ลา รหัสวชิ า 3601-2004

หนา |2

1.4 ประวตั กิ ารเพาะพันธปุ ลา
ประวตั ิความเปนมาของการเพาะขยายพันธุปลา มีความเกี่ยวเนื่องตอกันมากับประวัติความเปนมา

ของการเพาะเล้ียงสัตวนํ้า โดยในระยะแรกจะมีการเลี้ยงปลาในพื้นท่ีลุมจากการท่ีน้ําทวม ตอมามีการรวบรวม
พันธุสัตวน้ําจากฤดูน้ําหลากมาเล้ียงในบอ พัฒนาตอเนื่องมาจนถึงปจจุบันมีการเพาะขยายพันธุสัตวหลายชนิด
โดยวธิ ีการใชวิทยาการสมัยใหมและผลจากการวิจัยท่ีเกิดข้ึนอยางตอเนื่อง กอใหเกิดอุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยง
สตั วนํ้ามากมายหลายชนิด ดังนัน้ ประวัตคิ วามเปน มาเร่มิ แรกจงึ มีความเกี่ยวเนอื่ งกบั การเพาะเลยี้ งสัตวน ้ํา

ปลาจัดไดวาเปนสัตวน้ําท่ีไดมีการเพาะเล้ียงมาตั้งแตโบราณ มีรายงานท้ังในทวีปยุโรปและเอเชีย
โดยจากหลักฐานทางประวัติศาสตร พบวา การเล้ียงปลาเริ่มมีท่ีอียิปตเปนเวลาประมาณ 4,000 ปมาแลว
(2000 B.C.) โดยในสมัยของกษัตริย Maeris ไดพบภาพแกะสลักโบราณในสุสานแสดงถึงการปลอยปลานิล
(tilapia) รวมกับปลาชนิดอื่น ๆ 22 ชนิด ในทะเลสาบ และนอกจากนี้ภาพวาดยังแสดงถึงการสรางบอเลี้ยง
ปลาในบรเิ วณสวน โดยมชี อ งทางระบายน้ําออกตรงกลางบอ เพอ่ื จับปลาท้งั หมด (Hickling, 1971)

สําหรับทวีปเอเชีย เริ่มมีการเล้ียงปลาเปนคร้ังแรกเม่ือประมาณ 4,600 ปมาแลว (2698 B.C.)
โดยปลาชนิดแรกท่เี ล้ยี งคอื ปลาไน (common carp) และคาดวา การเล้ียงปลาเร่มิ ในเวลาใกลเคยี งกับการเลี้ยง
และการผลิตไหม (silkworm production) เนื่องจากตัวออนหนอนสามารถนํามาเปนอาหารสมทบใหปลาใน
บอ ได (Hickling, 1971) สวนประเทศตาง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใตมีการพัฒนาการเพาะเล้ียงสัตวน้ําชา
กวาจีน โดยมีการพัฒนาการไมก่ีรอยปนี้เอง โดยสวนใหญพัฒนามาจากการจับปลา (simple – trapping)
มาเปนการจับแลวพักปลา (trapping – holding) แลวเปนการจับแลวเล้ียงปลา (trapping – holding –
growing) และในท่ีสุดก็เปนที่สมบูรณแบบ (complete husbandry practices) (Ling, 1977) ประเทศตาง
ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในระยะแรกจะมีชาวจีนเขาไปอาศัยอยูซ่ึงพวกเขาไดนําปลาไนไปเลี้ยงดวย
เน่ืองจากปลาไนมคี วามทนทานตอ การขนสงระยะไกล ๆ แมจะถูกกักขังในภาชนะขนาดเล็กและชาวจีนเหลานี้ก็
แนะนําวธิ ีการเลีย้ งปลาใหช าวทองถ่ิน ทาํ ใหเทคนิคการเลีย้ งปลาไดร ับการถา ยทอด และปลาไนก็มีการเล้ียงอยาง
แพรห ลายท่ัวเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในที่สุดประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต จึงคอยมีการปรับปรุงพัฒนา
วธิ ีการเลย้ี งปลาทอ งถ่นิ แตละชนิดของตนเอง โดยอาศัยจุดเร่ิมตนจากการเล้ียงปลาไน เชน ญี่ปุน อินโดนีเซีย
เวียดนาม ไทย เขมร ฟลปิ ปนส ไดเปลยี่ นวิธีการเลี้ยงแบบดั้งเดิม (traditional system) มาเปนวิธีการเลี้ยง
แบบพฒั นา (intensive system)

1.5 การเพาะพันธปุ ลาในตางประเทศ
1.5.1 การเพาะเลีย้ งปลาของจนี
Fan Lee (473 B.C.) นกั เพาะเลี้ยงปลาชาวจีนไดแตงหนังสือ “Treatise on Pisiculture”

ซึ่งเปนหนังสือเลมแรกของจนี เก่ียวกับการเพาะเลยี้ งปลา โดยเขยี นจากประสบการณการเล้ียงปลาไนของเขา ซ่ึง
เน้อื หาประกอบดวยลักษณะบอปลา วิธีการรวบรวมปลาไน และการเจริญเติบโตของลูกปลาไน โดยไดอธิบาย
การเล้ียงปลาแบบงา ย ๆ แตก็เปน ที่ยอมรับทางหลักชวี วิทยา เชน เขาอธิบายการสรางบอปลาวาควรมีการสราง
เกาะเล็ก ๆ ไวตรงกลางบอเพ่ือปลาจะไดวายน้ํารอบเกาะ เพ่ือใหปลารูสึกเหมือนกับวายน้ําในแมน้ําหรือ
ทะเลสาบ และกย็ ังไดอ ธิบายเทคนิคการคัดเลือกพอแมพ นั ธุปลาไน เพื่อผสมพนั ธวุ างไข ซงึ่ ขณะนั้นประชาชนยัง
เช่อื วาปลาเกิดจากเศษใบไมที่เนาเปอย นอกจากน้ีไดอธิบายวา ปลาไนมีความเหมาะสมในการเล้ียงเนื่องจากมี
รสชาติอรอย ไมกินกันเอง เติบโตเร็ว สามารถจับไดงาย ซึ่งหลักเกณฑน้ีก็ยังคงใชในการเพาะเล้ียงสัตวน้ําใน
ปจ จบุ ัน
รายวชิ าเทคนิคการเพาะพนั ธปุ ลา รหัสวิชา 3601-2004

หนา |3

ในสมัย 500 B.C. ถึง 500 A.D. จัดไดวาเปนยุคทองของการเลี้ยงปลาไนของจีน โดยในสมัย
ราชวงศฮ ่นั (Han Dynasty : 206 B.C. - 7 A.D.) มีการเล้ียงปลาไนอยางกวางขวางแพรห ลายมีการขยายการ
เลีย้ งในบอ ไปสแู หลงนํา้ ขนาดใหญข ้นึ ในสมัยราชวงศถัง (Tang Dynasty : 618 - 906 A.D.) ประชาชนถูกหาม
จับขาย และซื้อปลา เนื่องจากปลาไนในภาษาจีนออกเสียงวา หลี (Li) ซ่ึงใกลเคียงกับนามของกษัตริยองคหนึ่ง
ของจีน มผี ลทาํ ใหร ะงับการเลยี้ งปลาไน ฉะน้ันการเล้ียงปลาไนที่พัฒนามาเกือบ 1,000 ป จึงหยุดชะงักอยาง
ส้ินเชิง และจึงมีการเลี้ยงปลา 4 ชนิดขึ้นมาแทนท่ี ไดแก ปลาเฉา (grass carp) ปลาซง (bighead carp)
ปลาเลง (silver carp) และปลามัดคารพ (mud carp) นับไดวาเปนจุดเปล่ียนระบบการเล้ียงปลาชนิดเดียว
มาเปนระบบการเลี้ยงปลาหลายชนดิ รวมกนั

ในสมัยราชวงศซุง (Sung Dynasty : 906 - 1120 A.D.) มีการพัฒนาเทคนิคการรวบรวมและ
การขนสงลกู ปลามากขน้ึ โดยมีการรวบรวมลูกปลาจีนจากแมน้ําแยงซี และแมนํ้าเพิรดไปขายยังเมืองที่อยูไกล ๆ
ท่เี จยี งซี (Jiansi) ฟูเจียง (Fujian) และซเี จยี ง (Zhejiang) ลกู ปลาทร่ี วบรวมไดจากแมน้ําก็ไดนํามาเล้ียงในบอ
อยางแพรหลาย นอกจากน้ี Chow Mit ไดอธิบายการขนสงลําเลียงลูกปลาดวยครุไมไผไวในหนังสือ “Kwei
Sin Cha Shik” โดยไดแตง ในปครสิ ตศ กั ราช 1243

ในสมัยราชวงศมิ๋ง (Ming Dynasty : 1368 - 1644 A.D.) เร่ิมมีการพัฒนาเปล่ียนการเล้ียงปลา
จากแบบก่ึงพัฒนามาเปนแบบพัฒนา และมีเทคนิคปลีกยอยพัฒนามากขึ้นต้ังแตโครงสรางบอปลา ความ
หนาแนนปลาที่ปลอย การเล้ียงแบบผสมผสาน การใหอาหารและปุย และการควบคุมโรคปลา เปนตน Heu
Kwang Chi ไดแตงหนังสือ “A Complete Book of Agriculture” โดยเน้ือหาอธิบายถึงการรวบรวมลูก
ปลาจากแมน ํ้า และการเลี้ยงลูกปลาในบอ เปนสวนใหญ

ในสมัยราชวงศชิง (Ching Dynasty : 1644 - 1911 A.D.) ก็มีการพัฒนาการเล้ียงปลาคลาย
ราชวงศม ิง๋ และมกี ารขนสงและลาํ เลยี งลูกปลาแตละชนิดไประยะทางไกล ๆ ไดม ากขึ้น

การเลีย้ งปลาของจนี มกี ารพัฒนาการเลีย้ งปลา โดยอาศัยความชํานาญที่อาศัยการถายทอดมาหลายช่ัว
อายคุ น โดยไมไดใชว ิทยาการสมยั ใหมจ วบจนครสิ ตศักราช 1920 จึงเริ่มมีการนําวิทยาการสมัยใหมเขามา โดย
รัฐบาลไดสนับสนนุ ใหม ผี ูไปศึกษาตางประเทศ และมีนักวิชาการเพาะเล้ียงปลามาใชหลักเกณฑทางวิทยาศาสตร
มากข้ึนในการเพาะเลย้ี งปลา ชาวประมงจนี นบั วามปี ระสบการณและทักษะอยางมากในการเลี้ยงปลา เน่ืองจาก
ความรทู ่ไี ดร บั การถายทอดในเรอ่ื ง สภาพภูมอิ ากาศ สีนํา้ ในบอ ปลา พฤติกรรมปลา คณุ ภาพน้ําและสุขภาพปลา
และทําใหนักวิทยาศาสตรของปลายประเทศในทวีปเอเชีย นําความรูการเพาะเลี้ยงปลาทางดานชีวภาพ และ
กายภาพจากประเทศจีนไปประยกุ ตใ ช

1.5.2 การเพาะเลีย้ งปลาของยุโรปและอเมริกา
ในทวีปยโุ รปคาดวา เริม่ มีการเล้ยี งปลาต้ังแตส มัยโรมัน โดยผทู ี่มฐี านะดเี ทา น้ันจะทําการเล้ยี งปลา
เพอ่ื บริโภคเปน อาหารโดยตรง และยังไมมีการเลยี้ งปลาอยา งจริงจงั มากนัก บอ ปลาที่ปรากฏในสมัยกลาง มักจะ
อยใู นบริเวณวัดเปนสวนใหญ โดยจะมีบอขนาดเล็กและมีจํานวนนอยเมื่อเปรียบเทียบกับจํานวนพระที่อยูในวัด
ซึ่งเปนหลักฐานแสดงใหเห็นวาบอเหลาน้ันจะใชฟกปลาเพ่ือบริโภคเทาน้ัน (store pond) ปลาจะถูกนํามา
บริโภคสว นใหญใ นชว งฤดหู นาวในขณะท่ีอาหารประเภทเนื้อชนิดอื่น ๆ ขาดแคลน และเชื่อไดวาในสมัยกลางนั้น
ปลาจะมีราคาแพง โดยเฉพาะปลาท่ีมีความสด เน่ืองจากความตองการบริโภคปลาของประชาชนมีมากแต
ปริมาณปลาทหี่ าไดม ีนอ ย ทาํ ใหมีราคาแพง สาเหตุท่ีหาปลาไดนอย เน่ืองจากยังไมมีการพัฒนาเครื่องมือประมง
จับปลา ทําใหจบั ปลาไดยาก และอีกท้ังการขนสงลําเลียงปลาก็มีความยากลําบากทําใหปลามีราคาแพง ฉะนั้น
มผี ลทาํ ใหม ีการจบั ปลากนั อยางมาก โดยเฉพาะฤดูใบไมร วงและฤดูหนาวเพอื่ การบรโิ ภค (Hickling, 1971)
รายวชิ าเทคนิคการเพาะพนั ธปุ ลา รหัสวชิ า 3601-2004

หนา |4

การเลยี้ งปลาสมัยใหมของยุโรป คาดวา เรม่ิ เปน ครงั้ แรกในประเทศอังกฤษในชวงคริสตศักราช 1400 –
1500 โดยชาวอังกฤษนําปลาตระกูลปลาจีนมาเล้ียงโดยมีการสรางบอเพาะพันธุ (breeding pond) และบอ
อนุบาล (rearing pond) ขนาดเล็กขึ้นมาหลังจากการสังเกตพบวาในฤดูใบไมผลิ ปลาจะผสมพันธุวางไขในบอ
จงึ มผี ลทําใหม ีการสรางบอ เพาะพนั ธปุ ลาในเวลาตอ มาและการเลี้ยงปลาของประเทศอังกฤษจึงเริ่มรูจักแพรหลาย
มากขึ้นตามลาํ ดับ (Hickling, 1971)

ในคริสตศักราชที่ 14 พระชาวฝรั่งเศส ช่ือ Dom Pichon สามารถผสมเทียมปลาเทรา แลวนําไป
ฟกในลําธาร แตปรากฏวาไขปลาไมฟกออกเปนตัว สาเหตุที่มีสวนท่ีทําใหเขาผสมเทียมปลา ก็เนื่องจากวาใน
บริเวณวัดมีบอปลา และในสมัยนั้น พระไมสามารถกินเนื้อสัตวบกในวันศุกรจึงกินเน้ือปลาแทน และก็เกิด
ความคดิ ในการเพาะพันธุปลา

ในครสิ ตศักราชที่ 17 ทหารบกชาวออสเตรเลีย ช่อื Stephen Ludwig Jacobi สามารถผสมเทียม
ปลาเทรา จนฟก เปนตัวไดส ําเรจ็ ในป ค.ศ. 1757 และไดเขียนลง Hannoverschen magazine ในป ค.ศ.1763

ในคริสตศักราชที่ 18 ประสบผลสําเร็จในการผสมเทียมปลาหลายชนิดมากขึ้น เน่ืองจากการเล้ียง
ปลาแพรหลายประกอบกับความรูใหม ๆ มีมากข้ึน โดยชนิดปลาและปที่ประสบผลสําเร็จ เชน ปลาแซลมอน
(1835) ปราบรคุ เทรา (1851) ปลาแอตแลนตคิ แซลมอน (1864) ปลาคอด (1865) และปลาสเตอเจียน (1868)
เปนตน

ในคริสตศักราชท่ี 19 จัดไดวาเปนทศวรรษของความรุงเรืองของการเพาะเลี้ยงสัตวนํ้ามีการพัฒนา
เทคนคิ การเพาะเลย้ี งสัตวน ้ําเปนลาํ ดับ โดยในป ค.ศ. 1930 ชาวอารเจนตินา ช่ือ B.A. Houssay ริเร่ิมนําตอ
ใตสมองมาใชในการฉีดกระตุนปลาใหผสมพันธุวางไขเปนครั้งแรก แตยังไมประสบผลสําเร็จ และ ค.ศ. 1934
ชาวบราซิล ชื่อ R. Von. Ihering จัดไดวาเปนคนแรกประสบผลสําเร็จในการกระตุนปลาใหผสมพันธุวางไขดวย
การใชต อ มใตส มอง ปจจุบันน้อี าจกลาวไดว าการพัฒนาเทคนิคการเพาะเล้ียง การอนุบาล และการเล้ียงสัตวน้ํา
หลายชนิดของยุโรป และอเมริกามีการพัฒนาคอนขางมาก มีเทคโนโลยีชั้นสูงมาพัฒนาการเพาะเล้ียงสัตวน้ํา
หลายอยาง เชน การตัดตอยีนส เพื่อผลิตพันธุปลาที่ตองการ การผลิตลูกปลาท่ีโตเร็วมีความทนทานโรงสูงขึ้น
เปน ตน

1.5.3 การเพาะพันธุป ลาในประเทศไทย
การพฒั นาการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําของไทย ไดเริ่มในสมัยรัชการที่ 5 แหงกรุงรัตนโกสินทร โดยในป
พ.ศ.2445 ไดม ีประกาศพระราชบญั ญตั อิ ากรคา น้ํา ทาํ ใหก ารใชแหลงนาํ้ จับปลาตอ งเสียเงิน ฉะนั้น การบริหาร
การประมงในชว ง พ.ศ. 2444 – 2464 จงึ มุงเนน เก็บภาษีอากรมากกวาการบํารุงพันธุสัตวนํ้า ทําใหปริมาณสัตว
น้าํ ในธรรมชาติมีจาํ นวนลดลงจนปรมิ าณปลาทจี่ บั ไดไ มเ พยี งพอ และปลาก็มขี นาดเล็กลง
พ.ศ.2464 ไดเริม่ มีการบํารุงพันธุสัตวนํ้าข้ึน โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ไดทรงมี
ประกาศกระแสพระบรมราชโองการจดั ปนหนาทร่ี าชการในเร่อื งการเพาะพนั ธุสัตวน้ํา เมื่อ 22 กันยายน 2464
โดยกําหนดใหกระทรวงเกษตราธกิ ารมีหนา ทีเ่ กีย่ วกับเพาะเลี้ยงสตั วน ํา้ การดูแลรักษาสัตวนาํ้ การกําหนดฤดูกาล
งดจับสตั วน ้ํา รวมท้งั การกาํ หนดเคร่อื งมือจับสัตวน้ํา ซ่งึ นับไวเปนการเร่มิ ตน การอนรุ ักษสัตวน้ําของประเทศและ
ในชวงน้ีเจาพระยาพลเทพ (เฉลิม โกมารกุล ณ นคร) ซ่ึงเปนเสนาบดีกระทรวงเกษตราธิการ ไดมีดําริใหมี
หนวยงานเพาะพันธุปลาหรือเรียกอีกช่ือหน่ึงวา หนวยงานบํารุงรักษาพันธุสัตวน้ํา รัฐบาลจึงไดติดตอไปยัง
ประเทศสหรัฐอเมรกิ าขอใหช ว ยหาผชู ํานาญการเร่ืองปลามาชว ยวางแผนพฒั นาการประมงของประเทศสยาม
และได ดร.ฮิว แมคคอรมคิ สมิท (H.M. Smith) มาเปนท่ีปรึกษาแผนกสัตวน้ําของรัฐบาลสยามในป
รายวชิ าเทคนคิ การเพาะพันธปุ ลา รหัสวิชา 3601-2004

หนา |5

พ.ศ. 2466 เพ่ือทําการสํารวจชนิดและปริมาณสัตวนํ้า วามีมากนอยเพียงไร รวมทั้งวิธีการเพาะพันธุสัตวน้ํา
เพ่อื ไมใหสตั วนา้ํ มปี ริมารณลดนอ ยลงไป

ดร.สมิท ไดสํารวจพันธุสัตวน้ําทั้งในน้ําจืดและนํ้าเค็มเกือบทั่วราชอาณาจักร และไดรายงานการ
สํารวจพชื พนั ธสุ ัตวนา้ํ และการอุตสาหกรรมสตั วน าํ้ รวมท้ังขอ แนะนําในการบงั คับบญั ชา การอนุรักษ และการ
พัฒนา เชน มาตรการปอ งกนั จาํ นวนปลา ไมใหมีจํานวนลดลง โดยการหามจับสัตวนํ้าในบางชวง และกําหนด
ขนาดเครือ่ งมอื ทจี่ ับสัตวน าํ้ ขอ วิจารณเหลานี้ไดเขียนลงในหนังสือ “A Review of the Aquatic Resources
and Fisheries of Siam, with Plans and Recommendations for their Administration,
Conservation and Development”

พ.ศ. 2473 ดร.สมทิ ไดแ นะนาํ รฐั บาลสยามในการแกไขปญหาดังกลาว และเสนอใหกําหนดเขตบึง
บอระเพด็ เปนที่รักษาพชื พันธุสัตวนํา้ และสรางสถานปี ระมงบงึ บอระเพ็ด จ.นครสวรรค เปนสถานีประมงแหงแรก
ของประเทศไทย

พ.ศ. 2484 มีการสรางสถานีประมงกวานพะเยา จ.เชียงราย เปนสถานีประมงแหงที่สองของ
ประเทศ นอกจากน้ีรฐั บาลกย็ งั สรา งเขื่อนระบายน้าํ ท่ีหนองหาน จ.สกลนคร เพื่อเก็บกักน้ํา และเปนท่ีรักษาพืช
พันธุในป พ.ศ. 2484 แตการกอสรางแลวเสร็จในป 2496 อันเนื่องมากจากมหาสงครามเอเชียบูรพาทําใหการ
กอ สรา งลาชา

พ.ศ. 2485 มีการสรางสถานีประมงหนองหาน จ.สกลนคร เปนสถานีแหงท่ีสามของประเทศ
หลังจากการบูรณะปรับปรุงบึงบอระเพ็ด กวานพะเยา และหนองหานเปนที่รักษาพืชพันธุสัตวน้ําในภาคกลาง
ภาคเหนอื และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามลําดับ งานบรู ณะแหลงนาํ้ กล็ ดนอยลง ทําใหงานสวนใหญมุงเนน
การเพาะพันธุสัตวนํ้า การกําหนดเขตรักษาพืชพันธุสัตวน้ํา ฤดูกาลจับสัตวน้ํา และชนิดเครื่องมือประมง เพื่อ
รกั ษาสตั วนาํ้ ใหมีตลอดไป

ในชวงทกี่ ระทรวงเกษตราธิการเริ่มงานบาํ รุงรักษาสัตวนํ้าน้ัน กรมรักษาสัตวน้ําไดจัดสงขาราชการไป
ศึกษาวิชาการเพาะพนั ธปุ ลาท่สี หรฐั อเมรกิ า ตัง้ แต พ.ศ. 2473 โดยมีผไู ดร ับคัดเลือกรับทุนมหิดล 3 ทาน ไดแก
หลวงจุลชีพพิชชาธร นายบุญ อินทรัมพรรย และนายโชติ สุวัตถิ และทานเหลานี้ก็ไดนําวิชาความรูดาน
วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีดานการเพาะเล้ียงสัตวนํ้ามาพัฒนาการประมงของประเทศ ในเวลาตอมาโดยอาศัย
ความรทู างดา นวทิ ยาศาสตรเขา มาประยุกต เพอื่ ผลิตลูกปลา จนประสบผลสําเร็จเปนคร้ังแรกในการผลิตลูกปลา
ไน ในป พ.ศ. 2486 โดยวธิ ีการเลยี นแบบธรรมชาติ

พ.ศ. 2493 กรมประมงไดรับความชวยเหลอื จากองคการอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ (FAO)
ไดสง ดร.เชา เวน ลงิ (Dr. Shao Wen Ling) ผูเช่ียวชายการเพาะพนั ธปุ ลามาชว ยพฒั นาการเพาะเล้ียงสัตวน้ํา
ของไทย ซ่ึงก็ยังชวยหาทุนใหนักวิชาการประมงไทยไปอบรมหลักสูตรการเพาะเลี้ยงปลาท่ีอินโดนีเซียและ
นกั วิชาการไทย กน็ ําเทคนิคการเพาะพนั ธุปลาหมอเทศของอนิ โดนีเซียมาผลิตลูกปลาหมอเทศ และทําใหปลานิล
มกี ารเลยี้ งอยางแพรห ลาย

พ.ศ. 2509 สามารถเพาะปลาสวายดวยวิธีการผสมเทียมสําเร็จเปนครั้งแรก และการเพาะพันธุปลา
สวายดว ยวิธีการผสมเทยี มครัง้ นเ้ี ปนจดุ เร่ิมตนการพัฒนาการเพาะพนั ธปุ ลาชนดิ อน่ื ๆ ที่ไมว างไขในบอ ใหวางไขได
ในชวงเวลาตอมาร (ตารางท่ี 1.) เทคนิคการเพาะเล้ียงปลาน้ําจืดจึงไดคอย ๆ ประยุกตข้ึนมาเพาะพันธุปลานํ้า
กรอ ย ปลาทะเลรวมทั้งสตั วนาํ้ ชนดิ อ่ืน ๆ ใหประสบผลสําเร็จจนกระท่ังปจจุบัน เชน ประสบความสําเร็จในการ
เพาะฟกกุงแชบวย ซ่ึงจัดวาเปนกุงทะเลชนิดแรกท่ีสามารถเพาะพันธุไดในป พ.ศ.2514 และในชวงตอมาก็
สามารถประสบผลสําเรจ็ ในการเพาะฟก และอนบุ าลกงุ กุลาลาย กุง กลุ าดํา หอยแครง หอยนางนม หอยแมลงภู
รายวิชาเทคนิคการเพาะพันธปุ ลา รหสั วชิ า 3601-2004

หนา |6

รวมทั้งสัตวน้ําที่มีคุณคาทางเศรษฐกิจอีกหลายชนิด ก็เนื่องมาจากการประยุกตใชความรูทางดานวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยีมาพัฒนาการเพาะเลย้ี งสตั วน้าํ
ตารางที่ 1. ชนิดปลานํา้ จืดทปี่ ระสบผลสําเรจ็ ในการเพาะพนั ธุ

ชนิดของปลา ปทป่ี ระสบความสําเร็จ วิธีการเพาะพนั ธุ ผวู จิ ยั
ไน 2486 เลียนแบบธรรมชาติ แผนกการทดลองและเพาะเลย้ี ง
ดกุ ดาน 2500 เลยี นแบบธรรมชาติ ปราโมทย วานิชการ
ตะเพียนขาว 2503 เลียนแบบธรรมชาติ อารีย สทิ ธิมงั ค และคณะ
ดุกอยุ 2503 ฉดี ฮอรโมน สนิท ทองสงา
สวาย 2509 ฉีดฮอรโมน อารีย สทิ ธมิ ังค และคณะ
เลง 2509 ฉดี ฮอรโมน มนู โพธารส และวนิช วารกี ุล
เฉา 2510 ฉีดฮอรโ มน มนู โพธารส และคณะ
ซง 2510 ฉีดฮอรโมน คณะประมง
ทรงเครอื่ ง 2512 ฉีดฮอรโ มน เมฆ บญุ พราหมณ และคณะ
ยส่ี กเทศ 2514 ฉดี ฮอรโมน ประสิทธิ์ เกษสัญชัย และวิโรจนส ุขสชุ ีพ
ยส่ี ก 2517 ฉดี ฮอรโมน
กระโห 2517 ฉีดฮอรโ มน ชนินทร ศรีทองสุข และเทยี นทอง อยเู วชวัฒนา
เน้อื ออ น 2520 ฉีดฮอรโ มน ลิขิต นกุ ลู รักษ และมานพ ตง้ั ตรงไพโรจน
บทู ราย 2521 ฉีดฮอรโ มน
กาดาํ 2523 ฉดี ฮอรโ มน กจิ จา ใจเยน็ และคณะ
กดเหลือง 2525 ฉดี ฮอรโมน ชยั ศรริ ิ ศรริ ิกุล และอมร บัวผนั
ตะพาก 2525 ฉดี ฮอรโ มน
บึก 2526 ฉีดฮอรโ มน กําพล อดุ มคณานาท และอํานวย แทนทอง
คางเบือน 2526 ฉีดฮอรโ มน
สรอยขาว 2528 ฉดี ฮอรโมน อาํ นวย แทน ทอง และวสนั ต ศรีวฒั นะ
ที่มา : วรี พงศ 2536 อาํ นวย แทน ทอง และวสันต ศรวี ฒั นะ
เสนห  ผลประสิทธิ์
อํานวย แทน ทอง และคณะ
ครรชติ วฒั นดิลกกุล

รายวิชาเทคนิคการเพาะพันธปุ ลา รหสั วชิ า 3601-2004

หนา |7
2. ความสาํ คญั ของการอนุบาลลกู ปลา

การอนุบาลลูกปลาถอื วาเปนปจจัยที่มีความสําคัญอยางมากในการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา เน่ืองจากลูก
ปลาท่ีไดจากการเพาะพันธยุ ังมีขนาดเลก็ และมคี วามออนแอตอ สภาพแวดลอม ยังไมสามารถปลอยลงสูบอเล้ียงได
จงึ มีความจําเปน ตองอนบุ าลเพ่ือใหล ุกปลามีความแข็งแรงและเจริญเตบิ โตพรอ มทีจ่ ะนาํ ไปลงเลีย้ งตอไป

ไขปลาจะฟกเปน ตัวหลังจากไดรับการผสมนํ้าเชื้อประมาณ 36 ช่ัวโมง 2-3 วัน ไขก็ฟกออกเปนตัว
โดยในชวงแรกจะมีถุงอาหาร ตดิ ตัวมาดวย ดงั น้นั ชวง3-4 วนั แรกจงึ ยังไมตองใหอาหาร หลังจากถุงอาหารยุบหมด
ควรใหใขแ ดงตมสุกกรองผา นกระชอนตาถใ่ี หอาหารวันละ 1 คร้ังเปนเวลา 3-5 วัน แลวจีงเปลี่ยนเปนตัวออนของ
ไรแดง ตอมาจงี เปลี่ยนเปนไรแดงตัวเต็มวัย แลวคอย ๆ เพิ่มระดับนํ้าเล็กนอย ตามความเจริญเติบโตของลูกปลา
นํา้ ทใ่ี ชเลีย้ งและอนบุ าลลูกปลาเปน น้ําบาดาล 1 เดือน ลกู ปลาโตจนเตม็ พ้นื ท่ี

การอนุบาลลูกปลาดกุ

การฟก และอนุบาลลูกปลานิล
รายวิชาเทคนิคการเพาะพันธปุ ลา รหสั วชิ า 3601-2004

หนา |8
อา งอิง
http://xn--12car6c8a2bgqd8jg5a9bzg6f.blogspot.com/2012/11/blog-post_8.html#.WxUA3UiFPIU

รายวชิ าเทคนคิ การเพาะพันธปุ ลา รหัสวชิ า 3601-2004


Click to View FlipBook Version