The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by guide11301, 2021-10-12 09:38:01

รายงานกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์

รายงาน

เรื่อง กจิ กรรมศิลปะสร้างสรรค์

จดั ทาโดย

น.ส.ป่นิ มณี ผิวขา รหัส 6281107029 หมู่เรยี น D2

น.ส.ธีรดา สุวรรณพันธ์ รหสั 6281107033 หมู่เรียน D2

น.ส.ปสตุ รา สขุ จุ้ย รหัส 6281107050 หมู่เรียน D2

น.ส.ปรียานชุ จ่างแสง รหัส 6281107051 หมู่เรยี น D2

เสนอ

ผชู้ ว่ ยศาตราจาย์วมิ ลกั สรรคพงค์

รายงานฉบบั นีเ้ ปน็ สว่ นหนึ่งของรายวิชา การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้แบบบรู ณาการสาหรับเด็กปฐมวยั

มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บา้ นสมเด็จเจ้าพระยา

คานา

รายงานเล่มนจี้ ัดทาขน้ึ เพื่อเปน็ สว่ นหนึ่งของวิชาการการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้แบบบรู ณาการ
สาหรับเด็กปฐมวยั ชนั้ ปีท่ี 3 เพอ่ื ให้ไดศ้ ึกษาหาความรูใ้ นเรอื่ ง ความหมายของศลิ ปะสรา้ งสรรค์ แนวคดิ และ
ทฤษฎที ีเ่ กยี่ วกบั กิจกรรมศิลปะสรา้ งสรรค์ ความสาคญั ของกิจกรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์ ประโยชน์ของกิจกรรม
ศลิ ปะสรา้ งสรรค์สาหรบั เดก็ ปฐมวยั ประเภทของกจิ กรรมศลิ ปะสร้างสรรคเ์ ปน็ กลุม่ บทบาทและหน้าทคี่ รูใน
การจัดกิจกรรมศลิ ปะสร้างสรรค์สาหรบั เด็กปฐมวัย การจัดกจิ กรรมศิลปะสรา้ งสรรค์ และไดศ้ กึ ษาอย่างเขา้ ใจ
เพอื่ เป็นประโยชน์กับการเรียน

ผู้จัดทาหวังวา่ รายงานเล่มนจี้ ะเปน็ ประโยชน์กบั ผู้อา่ น หรือนักเรยี น นกั ศกึ ษา ท่กี าลังหาขอ้ มลู เร่อื งนี้
อยู่ หากมีขอ้ แนะนาหรือขอ้ ผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาขอนอ้ มรบั ไวแ้ ละขออภัยมา ณ ทน่ี ี้ด้วย

คณะผ้จู ัดทา

สารบัญ หนา้
1
เรอ่ื ง 2-4
1.ความหมายของศิลปะสร้างสรรค์
2.แนวคดิ และทฤษฎที ่ีเกย่ี วกบั กจิ กรรมศิลปะสรา้ งสรรค์ 4-5
3.ความสาคญั ของกจิ กรรมศลิ ปะสร้างสรรค์ 5-6
4.ประโยชน์ของกิจกรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์สาหรับเดก็ ปฐมวัย 6-7
5.ประเภทของกิจกรรมศิลปะสรา้ งสรรค์เป็นกลมุ่ 7-8
6.บทบาทและหน้าท่ีครูในการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สาหรบั เด็กปฐมวัย 8-9
7.การจัดกิจกรรมศิลปะสรา้ งสรรค์ 10
8.อา้ งองิ 11
9.สไลดน์ าเสนอ

1

กจิ กรรมศลิ ปะสร้างสรรค์

1.ความหมายของศิลปะสร้างสรรค์

กรมวิชาการ (2545 : 2) กล่าววา่ ลักษณะธรรมชาติของศลิ ปะเป็นการเรียนรู้เทคนคิ วิธกี ารทางาน
ตลอดจนการเปิดโอกาสใหแ้ สดงออกอย่างอิสระ ทาให้ผู้เรียนไดร้ ับการส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหค้ ิดริเรมิ่ สรา้ งสรรค์
ดัดแปลง จินตนาการ มีสุนทรยี ภาพ และเหน็ คุณค่าของศิลปวฒั นธรรมไทยและสากล

มานพ ถนอมศรี (2546:14) กล่าวว่า ศิลปะเปน็ ผลงานสร้างสรรคจ์ ากภมู ปิ ญั ญาของมนุษย์ท่ีถา่ ยทอด
ออกมาโดยผา่ นส่อื เทคนิควธิ กี ารต่างๆ มหี ลากหลายรูปแบบ และผลงานที่จะได้รับการยกยอ่ งว่าเป็นศิลปะนัน้
ต้องมีคณุ ค่าตอ่ จติ ใจ หรอื กอ่ ให้เกดิ การสะเทือนอารมณ์

ศรีแพร จันทราภริ มย์ (2550: 28) สรุปว่า ศลิ ปะสร้างสรรค์ เปน็ กิจกรรมท่เี ด็กได้ใช้ประสาทสมั ผัสทั้ง
ห้าในการรบั รู้ โดยอาศัยประสบการณ์ สิ่งแวดล้อม จนเกิดความเขา้ ใจทาให้เกิดความคิดจนิ ตนาการ และมกี าร
แสดงออก โดยใช้การถา่ ยทอดผลงานแสดงความรู้สกึ ตา่ ง ๆ ที่ตนเองไดเ้ รยี นรู้ ซง่ึ แสดงออกทงั้ ความคิด
ความรสู้ ึก ปญั ญา อารมณ์ และทาใหศ้ กั ยภาพทอ่ี ยู่ในตัวบคุ คลให้มีการพัฒนาสร้างสรรคส์ ่งิ แปลกใหม่ พรอ้ ม
ท้ังเป็นกิจกรรมท่ชี ว่ ยส่งเสริมพัฒนาการทุกดา้ นให้มีความพรอ้ มในการเรียนรู้สง่ิ ตา่ ง ๆ ให้มปี ระสิทธิภาพต่อไป

สมศรี เมฆไพบูลยว์ ฒั นา (2551: 8-9) กลา่ ววา่ กิจกรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์ หมายถงึ การถา่ ยทอด
ความคิดสรา้ งสรรค์ จนิ ตนาการ ธรรมชาติ ประสบการณ์ อารมณ์ ความรู้สึก เพอื่ ส่อื สารและแสดงออกผ่านสื่อ
วัสดุ ให้ผอู้ นื่ เขา้ ใจ เกิดเปน็ ผลงานออกมา ซงึ่ การจัดกิจกรรมจะไมม่ ีการบงั คบั ให้เดก็ ทาแต่เปน็ กจิ กรรมเสรที ี่
เดก็ ทุกคนสามารถจะทาได้ เม่ือตนเองเกดิ ความต้องการพอใจและสนใจ โดยใช้ศิลปะหรอื วิธีการต่าง ๆ เปน็
เครอ่ื งมอื ในการจดั กจิ กรรม เชน่ การวาดภาพ ระบายสี พิมพภ์ าพ ปั้น ฉีก ตดั ปะ การประดษิ ฐ์ ฯลฯ โดยเด็ก
จะใช้ประสาทสมั ผัสในการรับรู้ และการเคลื่อนไหวร่างกายในการควบคุมลาตัว แขน นิ้วมือ ให้ประสาน
สมั พนั ธก์ ันกับการใชเ้ คร่อื งมอื ต่าง ๆ และกจิ กรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์รอ้ ยดอกไม้ เป็นกิจกรรมที่มีความสาคัญ
กจิ กรรมหนึ่งในการสรา้ งงานศิลปะสรา้ งสรรค์

จากความหมายของกิจกรรมศิลปะสรา้ งสรรค์ สรุปไดว้ ่า กิจกรรมทใ่ี ช้ศลิ ปะซงึ่ ไดแ้ กก่ ารวาดภาพ
ระบายสี พมิ พภ์ าพ พบั ปนั้ ฉกี ตัดปะ การประดิษฐ์ ในการถา่ ยทอดความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการ
ธรรมชาติ ประสบการณ์ อารมณ์ ความรสู้ ึก และสะทอ้ นความคดิ ของตัวเองออกมาเปน็ ผลงานผา่ นประสาท
สัมผสั ทัง้ หา้ ซ่งึ ในระหว่างการทากจิ กรรม หรอื สร้างสรรคง์ านศลิ ปะนน้ั เดก็ จะมีปฏสิ ัมพนั ธก์ ับบุคคลรอบขา้ ง
และสิ่งแวดลอ้ มรอบตัว

2

2.แนวคดิ และทฤษฎีท่ีเกยี่ วกบั กิจกรรมศลิ ปะสร้างสรรค์

ทฤษฎพี ัฒนาการของ Erik Erikson (เพยี งจติ โรจน์ศุภรตั น์. 2531 : 3 ; อ้างถงึ ใน Richard and
Norman. 1977 : 199) กล่าววา่ เดก็ อายุ 3-6 ขวบ เป็นระยะทเ่ี ด็กมคี วามคิคริเริม่ สรา้ งสรรค์ (Originality)
ถา้ เด็กไดร้ ับการสนบั สนนุ ให้มีส่วนรว่ มในการคดิ และทากจิ กรรมตา่ งๆอย่างเสรจี ะทาให้เดก็ พฒั นาความคดิ
รเิ ริ่มสร้างสรรค์ในทางตรงกนั ขา้ มถ้าหากเดก็ ถกู จากัดควบคมุ การคิดและกระทาโดยการหา้ มปรามหรอื ถูก
ตาหนเิ มอื่ ทาไมถ่ กู ใจผู้ใหญเ่ ดก็ จะรู้สึกผิดและไมก่ ล้าที่จะคิดทาส่ิงต่าง ๆ ด้วยตนเองซ่ึงจะมีผลเสยี ต่อ
พฒั นาการในขั้นต่อ ๆ ไป

Peterson (1958 ; อา้ งถึงใน ควงพร พิทกั ษว์ งศ์. 2546 : 25) กลา่ วว่า เด็กทกุ คนมขี ดี ขน้ั ของ
ความสามารถของความคิดสร้างสรรคใ์ นด้านศลิ ปะแตกต่างกัน เด็กแตล่ ะคนกส็ ามารถที่จะปรับปรงุ และ
พฒั นาข้ึนไดภ้ ายในขอบเขตและความสามารถของตนเชน่ เดียวกัน นอกจากนเี้ ขายังได้กล่าวอกี ตอนหน่งึ วา่ เดก็
อนบุ าลมคี วามคดิ สร้างสรรค์และต้องการที่จะแสดงออกท้งั ด้านความคิดและความรสู้ กึ ต่างๆ ศิลปะเป็น
แนวทางหนึง่ ในการแสดงออกของเด็ก ซง่ึ เดก็ ตอ้ งการโอกาสท่ีจะได้แสดงออกอีกทงั้ ยังสามารถถา่ ยทอดความรู้
ความรสู้ ึกและความเขา้ ใจรวมทง้ั บุคลิกภาพและความเป็นอสิ ระของเดก็ ออกมาได้ ซ่ึงสิ่งเหลา่ น้มี าจาก
ประสบการณแ์ ละจินตนาการ การสอนศลิ ปะตามแนวคิดใหม่ที่ส่งเสริมการแสดงออกทางความคิดและ
จนิ ตนาการเพ่ือส่งเสริมให้เดก็ พัฒนาทงั้ สติปัญญา ร่างกาย อารมณแ์ ละสงั คม ครูจาเปน็ ตอ้ งสง่ เสริมให้เดก็ ทุก
คนแสดงออกอย่างเสรี มโี อกาสค้นคว้ากับวัสดุนานาชนิดอยา่ งกว้างขวางมากที่สดุ โดยไมม่ กี ารใช้อานาจใดๆ
บงั คบั มิฉะนน้ั แล้วความคดิ ริเร่ิมสร้างสรรคย์ ่อมไม่เกิดขน้ึ

เลศิ อานันทนะ (2535 : 44) กลา่ ววา่ กจิ กรรมศิลปะสร้างสรรค์เป็นกิจกรรมทเ่ี หมาะสมกับความ
สนใจ ความสามารถและสอดคล้องกับหลักพฒั นาการของเด็กเป็นอย่างยง่ิ กจิ กรรมศิลปะสร้างสรรค์ไม่เพียง
ส่งเสรมิ การประสานสมั พนั ธ์ระหว่างมือกบั ตาและการผ่อนคลายความเครยี ดทางอารมณ์เท่าน้นั แต่ยังส่งเสรมิ
ความคดิ อิสระ คิดจินตนาการฝกึ รู้จกั ทางานดว้ ยตนเองและฝกึ การแสดงออกอย่างสรา้ งสรรค์ ทง้ั ความคดิ และ
การกระทาซ่ึงถ่ายทอดออกมาเปน็ งานศลิ ปะที่นาไปสู่การเรยี นอา่ นเขยี นอย่าสร้างสรรค์ตอ่ ไป กจิ กรรมศิลปะ
สรา้ งสรรค์ ไดแ้ ก่ การวาดภาพ การพมิ พ์ การฉกี ปะ การตดั ปะ การปัน้ และการประดิษฐ์เศษวัสดุ

ทฤษฎีของทอร์แรนซ์ (Torrance)

Torrance อา้ งถงึ ใน ทวีศักด์ิ แกว้ ทอน, 2546 : 22-24 ) เปน็ ผู้ท่ีมีชื่อเสยี งโด่งดงั ทา่ นหน่ึงทางด้าน
ความคดิ สร้างสรรค์ ได้สร้างทฤษฎีและแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ท่ีใช้กนั ในหลายประเทศทวั่ โลก เขา
กลา่ ววา่ ความคดิ สร้างสรรค์จะแสดงออกตลอดกระบวนการของความรู้สึกหรือการเห็นปัญหาการรวบรวม
ความคิดเพอ่ื ตัง้ สมมติฐาน การทดสอบ และดดั แปลงสมมติฐานตลอดจนวิธีการเผยแพรผ่ ลสรุปทไี่ ด้
ความคิดสร้างสรรค์จึงเปน็ กระบวนการแกป้ ัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์ หรอื “The creative problem solving
process”ดงั ภาพประกอบข้างล่างนี้

3

จากแผนภูมกิ ระบวนการแก้ปญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์แบ่งออกได้ ขนั้ ตอนดงั น้ี
ข้ันที่ 1 การพบความจริง (Fac-inding) ในขั้นน้เี กิดความรสู้ ึกกงั วลใจ มคี วามสบั สนวนุ่ วาย (Mess)
เกิดในจติ ใจตามมา สามารถบอกไดว้ ่าเป็นอะไร จากจดุ นี้พยายามต้งั สติ และพจิ ารณาดคู วามยุง่ ยาก วุ่นวาย
สับสน หรอื สงิ่ ที่ทาใหก้ งั วลใจเหล่านน้ั คอื อะไร
ข้ันที่ 2 การค้นพบปญั หา (Problem-inding) ขนั้ น้ีเกดิ ตอ่ จากขั้นที่ 1 เมอื่ ได้พจิ ารณาจนรอบคอบ
แล้วจึงสรุปว่า ความกงั วลใจ ความสันสนวุ่นวายในใจนน้ั กค็ อื การมปี ัญหาเกดิ ขึน้ นนั่ เอง
ขน้ั ที่ 3 การต้งั สมมติฐาน (Idea-inding) ข้ันนีก้ ต็ อ่ จากขัน้ ท่ี 2 เมอื่ รูว้ า่ ปญั หาเกดิ ขึ้นก็จะพยายามคิด
และต้ังสมมตฐิ านขนึ้ และรวบรวมข้อมลู ต่างๆเพื่อนาไปใช้ในการทดสอบสมมติฐานในขนั้ ตอ่ ไป
ข้นั ท่ี 4 การค้นพบคาตอบ (Solution-finding ในขัน้ นีก้ จ็ ะพบคาตอบจากการทคสอบสมมติฐานใน
ขน้ั ท่ี 3
ขั้นท่ี 5 ยอมรับผลจากการค้นพบ (Acceptance-inding) ข้ันนจ้ี ะเปน็ การยอมรับคาตอบท่ไี ด้จากการ
พสิ ูจน์เรยี บร้อยแล้ววา่ จะแกป้ ัญหาให้สาเร็จได้อย่างไรและตอ่ จากจดุ น้ีการแกป้ ญั หาหรือการค้นพบยงั ไมจ่ บ
ตรงนี้ แตท่ ไี่ ด้จากการคน้ พบจะนาไปสู่หนทางทจ่ี ะทาใหเ้ กิดแนวคดิ หรือสง่ิ ใหม่ต่อไป เรยี กว่า new
challengcs
สรุปได้ว่ากระบวนการคิดสรา้ งสรรค์ของทอร์แรนซ์จะให้ความสาคญั ในการทาปญั หาให้กระจา่ ง และผู้
คดิ จะต้องทาปญั หาให้กระจา่ ง ผูค้ ิดจะต้องมีสติสัมปชัญญะทีส่ มบูรณ์ จึงจะทาการเขา้ ใจปัญหาไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง
และความสาเรจ็ ท่ีเกิดขึ้นนัน้ จะเป็นแรงกระตุ้นใหม้ ีการคิดแก้ปัญหาต่างๆท่ีท้าทายต่อไป

4

Toranee ได้กาหนดข้ันตอนของความคิดสร้างสรรค์ ออกเปน็ 4 ขน้ั ดงั นี้

1. ขนั้ เร่ิมคดิ คอื ข้นั พยายามรวบรวมขอ้ เท็จจรงิ เรอ่ื งราวและแนวคดิ ตา่ ง ๆ ที่มีอยเู่ ขา้ ด้วยกนั เพ่ือหา
ความกระจา่ งในปญั หา ซึ่งยังไมท่ ราบว่า ผลที่จะเกดิ ขนึ้ นนั้ จะเป็นไปในรปู ใดและอาจใชเ้ วลานานจนบางคร้ังจะ
เกิดขน้ึ โดยไมร่ ู้สึกตัว

2. ข้นั ครุน่ คิด คือ ขัน้ ทีผ่ ู้คิดต้องใช้ความคิดอย่างหนกั แตบ่ างคร้งั ความคิดอนั นอ้ี าจหยดุ ชะงักไปเฉยๆ
เป็นเวลานาน บางครง้ั กจ็ ะกลับเกิดขน้ึ ใหม่อีก

3. ขนั้ เกดิ ความคิด คอื ขน้ั ที่ผู้คดิ จะมองเห็นความสัมพันธข์ องความคดิ ใหม่ท่ซี ้ากัน ความคิดเก่า ๆ ซึง่
มผี คู้ ดิ มาแลว้ การมองเหน็ ความสัมพันธ์ในแนวความคดิ ใหม่น้ี จะเกิดขน้ึ ในทนั ทที ันใด ผู้คดิ ไม่ไดน้ ึกฝันวา่ จะ
เกิดขน้ึ เลย

4. ข้นั ปรับปรงุ คอื ขัน้ การขัดเกลาความคดิ น้ันให้หมดจดเพื่อใหผ้ ู้อ่นื เขา้ ใจได้งา่ ยหรือตอ่ เดิมเสรมิ แต่ง
ความคดิ ทเ่ี กดิ ข้ึนใหม่นั้นใหร้ ดั กมุ และววิ ฒั นาการกา้ วหนา้ ตอ่ ไป ในบางกรณีอาจมกี ารทดลองเพอ่ื ประเมินการ
แก้ปญั หาสาหรบั เลอื กความคิดสมบูรณ์ที่สุด ซง่ึ ความคดิ เหล่าน้กี ่อให้เกดิ การประดิษฐ์ผลงานใหม่ ๆ ทาง
วทิ ยาศาสตร์ นวนยิ าย บทเพลง จิตรกรรมและการออกแบบอืน่ ๆ เปน็ ต้น (Torrance, 1964 : 47)

3. ความสาคญั ของกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์

เบญจา แสงมลิ (2545:62 – 63) ศิลปะเปน็ สอ่ื การแสดงออกของเด็กในสิ่งที่เด็กทาเห็น รู้สกึ และคิด
กจิ กรรมศิลปะให้โอกาสเดก็ สารวจ ทดลอง แสดงความคดิ ความรสู้ กึ เก่ียวกบั ตัวเดก็ สง่ิ แวดลอ้ มรอบ ๆ ตวั
ความสามารถในการจนิ ตนาการสังเกต และความรู้สกึ ท่มี ีตอ่ ตนและผอู้ ่นื มากข้ึน เพราะขณะที่เดก็ ทางานกับ
วัสดตุ า่ ง ๆ เดก็ มคี วามรบั ผิดชอบในการเลอื กและกาหนดรปู ร่าง ใช้การตดั สนิ การควบคมุ ประสบการณ์ทเ่ี ปน็
ผลสาเร็จจะสร้างความเช่ือมั่นในตนเอง และรคู้ ณุ คา่ ของความเปน็ มนุษย์

ประสบการณด์ า้ นศิลปะ ให้คุณคา่ แกเ่ ดก็ เดก็ อาจแสดงความรทู้ ไี่ ม่เป็นท่ยี อมรับออกมาทางศิลปะ
เด็กสามารถเรยี นรทู้ ค่ี วบคมุ อารมณ์ ความรู้สึก และกริ ยิ ามารยาทได้ถ้าเด็กมีปญั หาด้านการพูด ความรู้สึก
รนุ แรงสามารถระบายออกไดใ้ นกจิ กรรมศลิ ปะ การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมศิลปะท่ีเปน็ ผลทางด้านจติ ใจ เช่น การเลน่
ดิน การฉกี กระดาษ กิจกรรมเหลา่ น้ใี ห้โอกาสเดก็ ได้ทบุ ปัน้ คลึงตบ ฉกี ซึง่ เปน็ การแสดงความรสู้ ึกท่ีไมด่ ี
ออกมาทางการกระทาทไ่ี ม่กระทบกระเทือนผ้อู ืน่

การช่วยเหลอื เดก็ ใหเ้ ปลย่ี นแปลงความรู้สึกทางลบเปน็ แบบสรา้ งสรรค์ เป็นทางออกของเดก็ ทน่ี ามาใช้
ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ตอ่ ชวี ิตได้ การเสนอแบบแผนหรือตวั อย่างให้เด็กลอกเลียนเปน็ การชะงักการแสดงออกและ
การเจริญเตบิ โตในภายหน้าของเด็ก ในทางตรงข้าม ถ้าครูใหโ้ อกาสเดก็ แสดงออกทางศิลปะอย่างอิสระ จะช่วย
ใหค้ รูเห็นสภาพและปัญหาของเดก็ อยา่ งกระจา่ งแจง้ ซ่งึ จะช่วยในการแก้ปญั หาเดก็ อารมณไ์ ดเ้ ปน็ อยา่ งดี

กิจกรรมศลิ ปะสามารถส่งเสริมการเจรญิ เตมิ โตทางดา้ นสังคม ขณะเด็กเลอื กกิจกรรมทีพ่ อใจรวมกลมุ่
กนั เปน็ กลุ่มย่อย ๆ ตามความสนใจทีค่ ลา้ ยคลึงกนั ในการร่วมกิจกระทากจิ กรรมศิลปะเป็นกลุ่มเด็กจะรู้จักการ
แบ่งปันเครื่องมอื เครอื่ งใช้ ความคดิ เห็น การตัดสินใจ และการใหก้ ารยอมรบั นอกจากนัน้ ยังเรียนรสู้ ทิ ธิ ความ
เป็นเจ้าของ ข้อคิดเห็นและความร้สู ึกของผูอ้ ่ืนเดก็ จะมกี ริ ิยาสมั พนั ธ์ตอ่ กนั เรยี นรู้การเปน็ ผู้นา ผตู้ าม และ

5

เรยี นรคู้ วามสาคัญของการร่วมมือกันและการควบคุมตนเอง เด็กจะได้รบั คุณคา่ เหล่านเ้ี มอื่ เด็กมอี ิสระในการ
เลอื กวัสดแุ ละการใช้สง่ิ เหลา่ นีด้ ว้ ยตนเองตามถนัด กิจกรรมศลิ ปะนอกจากจะสง่ เสริมด้านจติ ใจและสังคมแล้ว
ยังสร้างเสรมิ ความเจริญเติบโตดา้ นสติปัญญา เด็กจะคดิ ประดษิ ฐ์ส่งิ ของและปรบั ปรงุ วธิ ีทเ่ี คยใช้ให้ใหมข่ ึ้นโดย
เรม่ิ จากการทางานจนซึมซบั ในวธิ ีการทา เดก็ เรียนรคู้ าพดู ท่เี หมาะสมเพื่อพดู อธิบายเกยี่ วกบั สง่ิ ทีเ่ ด็กทาให้ผู้อ่นื
เขา้ ใจ

จากความสาคญั ของกจิ กรรมศิลปะ สรปุ ได้ว่า ศิลปะเป็นสอ่ื การแสดงออกของเดก็ ในสิ่งทเ่ี ดก็ ทา
เห็น ร้สู กึ และคิดผา่ นงานศิลปะ กิจกรรมศลิ ปะใหโ้ อกาสเด็กสารวจ ทดลองแสดงความคดิ ความรูส้ ึก
ประสบการณด์ ้านศิลปะ ให้คุณคา่ กบั เดก็ ทั้งด้านรา่ งกาย อารมณ-์ จิตใจ สงั คม และสติปญั ญา เช่น เดก็
สามารถเรียนรู้การควบคมุ อารมณ์ มารยาท การพูดสื่อความหมายให้ผ้อู ่ืนเขา้ ใจ ในการทากิจกรรมกลุ่มเรียนรู้
การแบ่งปัน การเป็นผู้นาผตู้ าม

4.ประโยชนข์ องกิจกรรมศลิ ปะสร้างสรรคส์ าหรับเดก็ ปฐมวัย

ผจงจิตต์ ชา้ งมงคล (2553: 29 –31) ศิลปะเปน็ สิ่งจาเป็นในการปพู ้ืนฐานและเปน็ สิ่งสาคัญทาง
การศึกษา ได้กล่าววา่ ศิลปศกึ ษาไมใ่ ช่กิจกรรมการใชเ้ วลาพักผอ่ นของการศกึ ษาศิลปศกึ ษาเปน็ การเพิ่มเติมมติ ิ
ทีแ่ ตกต่างออกไป ส่กู ารเสรมิ สร้างความคิดสรา้ งสรรคศ์ ิลปศกึ ษาไมใ่ ช่สว่ นประกอบของการศึกษา แต่
ศลิ ปศึกษาเปน็ องค์ประกอบสาคญั ของกระบวนการทางการศึกษาอบั ราฮมั มาสโลว์ ศาสตราจารยท์ างจิตวทิ ยา
ของมหาวิทยาลัยแบรนดิสได้ใหท้ ัศนะวา่ “ศิลปะมีความสมั พันธค์ อ่ นข้างแนบแน่นกบั จิตวิทยา และชวี วทิ ยา
ของเอกตั บุคคล” น่ันคือ ศลิ ปะเปน็ ปัจจัยสร้างประสบการณ์พนื้ ฐานของการศึกษา ดังน้ัน ครจู งึ ใช้ประโยชน์
และความสาคญั จากศิลปะช่วยเสริมสรา้ งบคุ ลิกภาพที่เหมาะสมและพึงปรารถนาใหแ้ ก่เด็ก เพราะศิลปะ
สามารถชว่ ยพัฒนาเดก็ ไดห้ ลายด้าน เชน่

ศลิ ปะช่วยพฒั นาการทางดา้ นอารมณ์ การวาดเขียนชว่ ยใหเ้ ด็กมพี ฒั นาการทางอารมณด์ ขี นึ้ ระดบั
ของพัฒนาการจะขน้ึ อยกู่ บั การแสดงออกมาจากภาพซึง่ เป็นงานของเด็กเองระดับของการแสดงตัวตนจะมี
ต้งั แตก่ ารพฒั นาการขั้นต่าซ่ึงเด็กวาดรปู ซา้ ๆ ออกมาเป็นพมิ พเ์ ดียวกนั หมด จนกระท่ังถงึ พฒั นาการขนั้ สูงซงึ่
เด็กจะวาดภาพอยา่ งมคี วามหมาย และมีความสาคญั ต่อตวั เขาเอง โดยเฉพาะเด็กเลก็ เริ่มวาดรปู ตวั เองได้สาเรจ็
จุดนเ้ี องท่เี ด็กปล่อยอารมณไ์ ดด้ ีที่สดุ เขาแสดงออกจากสิ่งท่เี ขาอยากทา

ศิลปะช่วยพฒั นาการทางสติปัญญา พัฒนาการทางสตปิ ัญญาของเด็กเราสามารถสังเกตเหน็ ได้จาก
พฒั นาการของการรจู้ ักตนเอง และสภาพแวดลอ้ ม ความรตู้ ่างๆ ทเ่ี ดก็ นามาใช้ในขณะท่ีวาดรูป จะช้ีให้เหน็
ระดับของสติปัญญาของเดก็ ดังนั้นวาดภาพของเด็กจึงเปน็ เครอ่ื งช้รี ะดับของความสามารถทางสมอง หรือ
สตปิ ญั ญาของเดก็

ศิลปะช่วยพัฒนาการทางด้านกาย พฒั นาการทางกายภาพในงานของนกั เรียนจะสงั เกตไดจ้ าก
ความสัมพันธข์ องการมองเหน็ และการใช้กลา้ มเนื้อมอื การควบคมุ การเคลอ่ื นไหวของรา่ งกาย เช่น การ
ควบคุมกล้ามเนอื้ มือ และตาในการลากเส้นตลอดจนการฝกึ ทักษะตา่ งๆ ในกิจกรรมทางศิลปะ เชน่ การพมิ พ์
การตัด ปะ ตดิ ความเปลย่ี นแปลงทางกายสามารถเหน็ ได้ง่ายในเด็กวัยเร่มิ ขีดเขยี น

6

ศลิ ปะชว่ ยพัฒนาการทางการรับรู้ ความเจรญิ เติบโต และการเรียนรู้ทางประสาทสมั ผัสเปน็ ส่วน
สาคญั ของประสบการณ์วชิ าศลิ ปะ โดยครเู ปน็ ผสู้ ่งเสรมิ การรบั รู้ สร้างประสบการณ์ทางการเหน็ ฝึกการสงั เกต
ฝึกความละเอยี ดอ่อน มีความประณีตในการจัด ควรจดั กจิ กรรมเชิงสร้างสรรค์ เพือ่ พฒั นาการทางการเรยี นรูท้ ่ี
เพม่ิ ข้นึ สามารถสงั เกตได้ในการที่เดก็ ไดร้ บั ประสบการณท์ ่เี กยี่ วเนอ่ื งกบั การเรยี นรเู้ พิม่ ข้ึนอย่างหลากหลาย

ศลิ ปะช่วยพัฒนาการทางดา้ นสงั คม พัฒนาการทางสงั คมของเดก็ จะเหน็ ได้จากความพยายามในการ
สร้างสรรค์ของเด็กภาพเขยี นและภาพวาดตา่ งๆจะเป็นตวั สะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงความรสู้ กึ นึกคดิ ของเดก็ ที่มตี ่อ
ประสบการณข์ องตนเองและของผู้อ่ืนเด็กเล็กๆ จะเร่ิมวาดรปู คนไว้ในภาพทนั ทีทพี่ น้ ระยะขดี เขียนแบบ
สะเปะสะปะและสิ่งแรกท่ีเดก็ วาดแลว้ มีผู้ดูออกว่าเดก็ วาดอะไรนน้ั ก็คือ รูปคน เม่ือเด็กเตบิ โตข้นึ งานศิลปะจะ
สะท้อนให้เหน็ ถงึ ความเข้าใจความรู้สกึ ที่เด็กมตี ่อส่ิงแวดลอ้ มทางสังคมของเขา เมือ่ เด็กมพี ัฒนาการทางดา้ น
ความเข้าใจผู้คนรอบขา้ งมากขึน้ และเขา้ ใจถงึ อิทธิพลของคนทม่ี ีต่อชวี ติ ของเขาเรอื่ งราวท่ีเดก็ จะวาดรปู ไวใ้ น
งานศลิ ปะก็คอื ส่งิ เหล่านีน้ ่นั เอง

ศิลปะช่วยพัฒนาการทางด้านสุนทรียะ พัฒนาการทางสนุ ทรียะ คอื ส่วนประกอบพน้ื ฐานของความรู้
ความชานาญทางศิลปะสุนทรยี ะอาจกล่าวไดว้ ่าเป็นวธิ กี ารวัดความคิด ความรู้สกึ และการรับรู้ให้เป็นการ
แสดงออกซ่ึงสอื่ ความคิด และความรู้สกึ ใหผ้ ู้อ่ืนได้รับรู้ เชน่ การจัดเรียงคาเราเรียกวา่ บทกวี การจดั เสยี งเรา
เรยี กว่า ดนตรี และการจดั เส้น รปู รา่ ง สี และรปู ทรงเราเรยี กว่า ศิลปะ การจัดการเคล่อื นไหวของรา่ งกายเรา
เรยี กว่าการเต้นรา สุนทรยี ะไม่มกี ฎเกณฑต์ ายตัว เกณฑ์ของความงามขึน้ อยกู่ บั บคุ คลแต่ละคนขึน้ อยู่กบั งานแต่
ละประเภท หรือขน้ึ อยู่กับวฒั นธรรมนน้ั ๆ ตลอดจนความต้ังใจ หรือเป้าหมายของการผลติ งานศลิ ปะ เราพบวา่
รปู แบบของความงามไมไ่ ด้เกดิ จากการรับกฎเกณฑจ์ ากภายนอกเท่านนั้

สรปุ ไดว้ า่ ประโยชน์ของการจัดกิจกรรมศิลปะ ช่วยเสริมสร้างพฒั นาการดา้ นตา่ งๆ เช่น ดา้ นร่างกาย
ช่วยพัฒนากลา้ มเน้อื มอื ใหแ้ ข็งแรง ฝกึ ประสานสมั พันธร์ ะหวา่ งมอื กบั ตา อารมณ-์ จิตใจ เช่น ความพอใจ
สนุกสนานในขณะทเี่ ดก็ ทากจิ กรรม ลดความตึงเครยี ดทางอารมณ์รู้จกั ชนื่ ชม และมีทัศนคติทด่ี ีต่อสิง่ ตา่ ง ๆ
ด้านสังคม เชน่ ฝกึ นสิ ยั การทางาน ร้จู กั รบั ผดิ ชอบการทางานเปน็ กลมุ่ ชว่ ยใหเ้ รยี นรู้ความร่วมมือ มีความ
เออ้ื เฟอ้ื เผื่อแผ่ มีน้าใจช่วยเหลอื การแบง่ ปนั การไม่เห็นแก่ตัว และด้านสติปัญญา เชน่ เด็กรู้จกั สารวจ คน้ ควา้
ทดลอง มคี วามคิดรเิ รมิ่ ที่จะสรา้ งสรรค์ส่ิงใหม่ ๆ ผลสะท้อนจากการทางานศิลปะทาให้ทราบถึงการ
เจรญิ เตบิ โตของเดก็ ได้

5.ประเภทของกจิ กรรมศลิ ปะสร้างสรรคเ์ ป็นกลมุ่

บศุ รินทร์ สิรปิ ญั ญาธร (2545 :17 – 19) กลา่ วว่า การเรยี นการสอนศิลปะสาหรบั เดก็ ลักษณะของ
การจดั กจิ กรรมตอ้ งมีความหลากหลาย ดงั นี้

1. การวาดภาพ และระบายสี

1.1 การวาดภาพด้วยสเี ทียนหรือสีไม้

1.2 การวาดภาพด้วยสนี ้า เชน่ พกู่ นั ฟองนา้

1.3 การละเลงสดี ้วยนิ้วมอื

7

2. การเล่นกบั สนี ้า

2.1 การเป่าสี

2.2 การหยดสี

2.3 การเทสี

3. การพิมพภ์ าพ

3.1 การพิมพภ์ าพด้วยส่วนต่างๆ ของรา่ งกาย

3.2 การพมิ พภ์ าพด้วยวัสดุ พืช ผัก ต่างๆ

4. การปัน้ เช่น ดนิ เหนยี ว ดนิ น้ามนั แปง้ โด ฯลฯ

5. การพับ ฉีก ตัด ปะ

5.1 การพบั อย่างงา่ ย

5.2 การฉกี ปะ

5.3 การตัดปะ

6. การประดิษฐ์

6.1 ประดิษฐ์เศษวัสดุต่างๆ

6.2 การรอ้ ย เช่น ลกู ปัด หลอดกาแฟ หลอดด้าย ฯลฯ

จากข้อความข้างต้นสามารถสรปุ ไดว้ ่า การจดั กิจกรรมศลิ ปะสร้างสรรค์สาหรับเด็กปฐมวยั นน้ั ตอ้ ง
เปน็ การจัดกจิ กรรมทห่ี ลากหลาย ใหเ้ ดก็ ได้เรียนรู้จากวสั ดอุ ปุ กรณ์และเน้นใหเ้ ดก็ ได้ลงมือปฏิบัติด้วยตวั เอง
และลงมอื ปฏบิ ัตจิ รงิ อีกทงั้ ยงั เป็นการกระตุ้นให้เกิดจนิ ตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์ตอ่ ชนิ้ งาน ซงึ่ กิจกรรม
หนง่ึ ท่สี ามารถสง่ เสรมิ พัฒนาการทางสงั คมของเด็กพรอ้ มยังสง่ เสรมิ พฒั นาการในทกุ ด้านอีกด้วย

6.บทบาทและหนา้ ทีค่ รูในการจัดกจิ กรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์สาหรบั เดก็ ปฐมวยั

เนอื่ งจากกจิ กรรมศลิ ปะสร้างสรรคท์ ี่เดก็ แสดงออกมาในผลงานศลิ ปะเปรียบเทียบเสมือนกระจกเงา
โลกของเด็กการจดั กจิ กรรมเพอื่ พฒั นาเดก็ จงึ ควรสง่ เสริมใหเ้ ด็กแสดงความคดิ ตามจนิ ตนาการ และการทางาน
อย่างอสิ ระ ครูจะต้องคานงึ ถึงความสนใจ และวิธกี ารแสดงออกของเดก็ เปน็ สาคัญ เปน็ ผจู้ ัดเตรยี มส่อื หรือ
เลือกประสบการณ์ใหเ้ หมาะสมสอดคล้องกับพัฒนาการของเด็กทกุ ระดบั ความสามารถ คอยสนบั สนุนและให้
กาลงั ยวั่ ยใุ หเ้ ดก็ แสดงออกอยา่ งอสิ ระตามความคิด และจนิ ตนาการของตนเอง และพฒั นาความสามารถใน
ทกุ ๆ ด้านอย่างเต็มที่ตามความถนดั ความสนใจ

- ครคู วรดูแลเดก็ ใหส้ ร้างสรรคง์ านดว้ ยความพยายามของตนเอง กล้าคิด และกล้าตัดสินใจไมใ่ ช้วธิ ี
เผด็จการสง่ั งานใหเ้ ด็กทา

8

- ไม่ควรสอนกฎเกณฑ์ ทฤษฎี รายละเอยี ด และสัดส่วนตา่ งๆ ควรเปิดโอกาสใหเ้ ด็กได้คน้ คว้าทดลอง
และทาจรงิ ด้วยตนเองมาก ๆ จะมีผลใหเ้ ด็กเรยี นรูอ้ ย่างลึกซง้ึ

- จดั ประสบการณ์อันก่อให้เกดิ ผลงาน และเข้าใจในทางศิลปะแกเ่ ด็ก การเล่านิทานฟังเพลง สนทนา
ดภู าพ ดูวดี ีทัศน์ หรอื การศึกษานอกสถานท่ี

- ครคู วรเปดิ โอกาส และจัดกิจกรรมศิลปะหลายๆ รปู แบบให้เด็กอยา่ งกว้างขวางในการจดั กจิ กรรม
แต่ละครง้ั ควรจัดลาดบั ก่อน - หลงั และต่อเนอ่ื งกนั หรืออาจจะจัดให้สลับกนั ไป เพอ่ื ให้เด็กได้มีประสบการณ์
อยา่ งกวา้ งๆ และรกั ษาระดับเน้อื หาวชิ าความรใู้ ห้เหมาะสมกับวุฒิภาวะและความคิดสร้างสรรค์

7.การจัดกิจกรรมศิลปะสรา้ งสรรค์

เสาวนยี ์ ร่ืนสขุ (2552 : 32– 33) ได้กล่าวถึง ลกั ษณะของกจิ กรรมศลิ ปะสร้างสรรค์เป็นกล่มุ สาหรับ
เดก็ ปฐมวยั มดี ังนี้

1. กิจกรรมวาดภาพระบายสเี ปน็ กิจกรรมการสร้างภาพทเ่ี ด็กเขียนลงไปดว้ ยความร้ใู นตัวเองให้เป็น
สัญลักษณ์แบบสวยงาม จงั หวะ และสีสันต่างๆ แทนการใชค้ าพูด เชน่ การวาดภาพด้วยสนี ้า พูก่ นั การวาดรูป
ระบายสีดว้ ยสเี ทยี น หรือ ดินสอสี การเลน่ กบั สีและในแบบต่างๆ

2. กิจกรรมการฉีก ปะ และตดิ กระดาษ เป็นกิจกรรมที่ใช้กระดาษตา่ งๆ มาฉีก ตดั และนามาติดบน
กระดาษทาให้เปน็ ภาพ กระดาษทน่ี ามาใช้ ไดแ้ ก่ กระดาษหนังสือพมิ พ์ กระดาษ วารสาร กระดาษห่อของขวัญ
และกระดาษสีมนั

3. การป้นั เปน็ กิจกรรมที่เด็กชอบมากวสั ดทุ ่ีปนั้ ไดแ้ ก่ ดนิ เหนยี ว ดนิ นา้ มัน แป้งโด การปนั้ ควรมวี สั ดุ
รองทมี่ ีผิวมัน เช่น พลาสติก โลหะ โฟเมกา้ เพื่อไม่ให้โตะ๊ เปอ้ื นและง่ายตอ่ การทาความสะอาด

4. ารพิมพ์ทาไดห้ ลายวิธไี ด้แก่ พิมพภ์ าพดว้ ยนว้ิ มือ พิมพภ์ าพจากวัสดุธรรมชาตติ ่างๆ เชน่ ใบไม้
ดอกไม้กา้ นกล้วย กา้ นบวั พิมพ์ภาพจากวสั ดเุ หลอื ใช้ตา่ งๆ เช่น เชอื ก ฝาจุกขวด หลอดด้าย พิมพภ์ าพ ด้วย
ตรายาง การพมิ พ์ภาพดว้ ยการขยุ้มกระดาษ

5. การพบั กระดาษ เปน็ การประดษิ ฐ์กระดาษให้มีลักษณะเปน็ ภาพสามมิติท่ตี อ้ งอาศยั การทางาน
ประสานสมั พันธร์ ะหว่างกลา้ มเน้อื ตา มือ น้ิวมือพบั กระดาษให้เปน็ ภาพสญั ลักษณล์ าดับและขน้ั ตอนการ
ประดษิ ฐ์เศษวสั ดเุ ป็นของเลน่ ของใชเ้ ปน็ การรวบรวมเศษวสั ดุจากกระดาษมาประดิษฐ์เปน็ ของเล่นต่าง ๆ ตาม
แบบอย่างหรอื ความคิดอสิ ระ และวัสดอุ ื่นๆ ในการประกอบ หรอื ตกแต่งเพ่มิ เตมิ ให้งานสมบรู ณ์เช่น กาว
กรรไกร เศษไหมพรม ไมไ้ อศกรีม หลอดกาแฟ ฯลฯ รวมถงึ งานกระดาษเส้นทใ่ี ชก้ าวประกอบเป็นรูปตา่ ง ๆ

ในการจดั กิจกรรมศลิ ปะให้เดก็ จะตอ้ งใชเ้ วลาใหเ้ หมาะสม ซ่ึงในการจดั กจิ กรรมประจาวัน ตอ้ งคานึงถึงหลัก
จิตวทิ ยาและพฒั นาการและจิตวทิ ยาเด็กโดยใช้ระยะเวลาในการทากจิ กรรมที่เหมาะสม ดังน้ี

เด็กอาย3 – 4 ปี ใช้เวลาในการท ากิจกรรม 10 – 20 นาที

เดก็ อายุ5 – 6 ปี ใช้เวลาในการท ากิจกรรม 20 – 30 นาที

9

สาหรับวิชาศิลปะจะใช้ระยะเวลานานข้ึน ตั้งแต่ 40 – 60 นาทหี รอื มากกวา่ นน้ั n

สรุปได้ว่าการจดั กจิ กรรมศลิ ปะสร้างสรรคต์ อ้ งคานึงถงึ ตัวเดก็ เปน็ สาคญั โดยจัดให้สอดคลอ้ งกับ
พัฒนาการทางศิลปะของเดก็ ต้องใชเ้ วลาให้เหมาะสม จดั อุปกรณ์ท่หี ลากหลายเด็กจะได้สามารถสร้างสรรคิ์
ผลงานของตนไดเ้ ตม็ ท่ี

10

อา้ งอิง

1.http://www.ska2.go.th/reis/data/research/25640702_211346_7602.pdf?fbclid=IwAR1
BVPYSF-0X3y8RzJv2Qq6AgdHmiJwQu1gJP6vvKzYfNw2Uc6n0Gld5F_8

2.http://fulltext.rmu.ac.th/fulltext/2560/122511/Puthawong%20Maneerat.pdf?fbclid=I
wAR3JmPU4FeHokNLPP-XScEDhZY8kRwlvsqNku7Ulvb7t0RIh5vIst7phE40

3.https://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6425/10/Chapter2_33-66_.pdf

รายชื่อสม

มาชกิ กล่มุ

รายชือ่ สมาช

029 033

นางสาวปิ่นมณี ผิวขำ นางสาวธรี ดา สุวรรณพัน

รหัส 6281107029 รหสั 6281107033

ชิกกลมุ่ D2

050 051

นธ์ นางสาวปสตุ รา สขุ จ้ยุ นางสาวปรียานุช จา่ งแสง
รหัส 6281107050 รหัส 6281107051

กจิ กรรมศลิ
creative ar

Early Childho

D2 #BSRU

ลปะสร้างสรรค์
rts activities

ood Education

01

ความห

ของกิจกรรมศ

1

หมาย

ศิลปะสรา้ งสรรค์

ความหมายของศ

กรมวชิ าการ (2545 : 2) กล่าวว่า ลกั
เรยี นรู้เทคนิควิธีการทำงาน ตลอดจนกา
ทำใหผ้ ้เู รยี นไดร้ ับการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ
จนิ ตนาการ มสี ุนทรยี ภาพ และเห็นคุณค

มานพ ถนอมศรี (2546:14) กลา่ วว
จากภูมปิ ัญญาของมนุษยท์ ่ีถา่ ยทอดออก
มีหลากหลายรปู แบบ และผลงานที่จะได
ตอ้ งมคี ณุ คา่ ต่อจติ ใจ หรอื กอ่ ให้เกดิ กา

ศลิ ปะสร้างสรรค์

กษณะธรรมชาติของศิลปะเปน็ การ
ารเปดิ โอกาสให้แสดงออกอย่างอสิ ระ
นใหค้ ิดริเริ่มสรา้ งสรรค์ ดัดแปลง
ค่าของศิลปวฒั นธรรมไทยและสากล

ว่า ศลิ ปะเปน็ ผลงานสรา้ งสรรค์
กมาโดยผ่านสือ่ เทคนคิ วธิ กี ารต่างๆ
ดร้ บั การยกย่องวา่ เป็นศลิ ปะน้นั
ารสะเทอื นอารมณ์

ความหมาย


พิมพ
เพื่อใ
จนิ ต
และส
งานผ

ยของศลิ ปะสร้างสรรค์

สรุปไดว้ า่ เป็นกิจกรรมการวาดภาพระบายสี
พ์ภาพ พบั ป้ัน ฉีก ตดั ปะ การประดษิ ฐ์
ใหเ้ ด็กไดถ้ า่ ยทอดความคิดสรา้ งสรรค์
ตนาการ ประสบการณ์ อารมณ์ ความรสู้ ึก
สะท้อนความคิดของตวั เอง ออกมาเปน็ ผล
ผ่านประสาทสัมผัสทั้งหา้

02 แนว
ของก

วคิดและทฤษฎี

กิจกรรมศลิ ปะสร้างสรรค์

แนวคดิ และทฤษ

ทฤษฎพี ฒั นาการของ Erik Erik
2531 : 3 ; อ้างถึงใน Richard a
กล่าวว่าเด็กอายุ 3-6 ขวบ เป็นระ
สรา้ งสรรค์ (Originality) ถ้าเด็ก
รว่ มในการคดิ และทำกิจกรรมต่าง
ความคิดรเิ รมิ สรา้ งสรรค์ในทางตร
ควบคุมการคิดและกระทำโดยการ
เมื่อทำไม่ถูกใจผู้ใหญ่ เด็กจะรสู้ ึก
ต่าง ๆ ดว้ ยตนเองซึง่ จะมีผลเสยี ต

ษฎขี องกจิ กรรมศลิ ปะสร้างสรรค์

kson (เพยี งจติ โรจน์ศภุ รัตน.์
and Norman. 1977 : 199)
ะยะทีเ่ ดก็ มคี วามคิคริเริ่ม
กได้รับการสนับสนุนให้มีส่วน
งๆอย่างเสรีจะทำใหเ้ ด็กพัฒนา
รงกนั ขา้ มถ้าหากเดก็ ถกู จำกัด
รหา้ มปรามหรือถกู ตำหนิติเตยี น
กผดิ และไม่กล้า ทีจ่ ะคิดทำสิ่ง
ต่อพฒั นาการในขั้นตอ่ ๆ ไป

แนวคดิ และทฤษฎขี อง

ทฤษฎีของทอร์แรนซ์ (Torrance) กระบวนการคิดสร้างสรรค์ของทอรแ์ รน
การทำปญั หาใหก้ ระจ่าง ผคู้ ดิ จะตอ้ งมสี ติสัมปชัญญะทสี่ มบูรณ์ จงึ จะทำการเข้าใจ
และความสำเร็จทเ่ี กดิ ขน้ึ นั้นจะเปน็ แรงกระตุน้ ให้มีการคดิ แก้ปญั หาต่างๆที่ทา้ ท

Toranee ไดก้ ำหนดข้ันตอนของความคิดส
ออกเปน็ 4 ข้ันดงั นี้

1. ขนั้ เรม่ิ คิด
2. ขั้นครุน่ คดิ
3. ขนั้ เกดิ ความคดิ
4. ข้นั ปรับปรงุ

งกจิ กรรมศลิ ปะสร้างสรรค์

นซจ์ ะให้ความสำคัญใน
จปญั หาไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง
ทายตอ่ ไป

สร้างสรรค์

Toranee กำหนดขั้นตอ
แบง่ ออกเป็น

01 02

ขัน้ เร่มิ คิด ขนั้ ครุ่นคิด

รวบรวมข้อเท็จจริง ขนั้ ที่ผูค้ ดิ ตอ้ ง
ตา่ ง ๆ ท่ีมอี ย่เู ขา้ ดว้ ยกัน ใช้ความคดิ อยา่ งหนัก
เพ่อื หาความกระจ่างในปญั หา บางครั้งอาจใชเ้ วลานาน

อนของความคิดสร้างสรรค์
น 4 ขนั้ ดังน้ี

03 04

ขัน้ เกิดความคิด ขัน้ ปรับปรุง

ขั้นที่ผู้คดิ จะมองเหน็ ขั้นการขดั เกลาความคดิ
และเชื่อมโยงความสมั พันธ์ เพื่อให้ผูอ้ ่นื เข้าใจได้งา่ ย
หรอื เพมิ่ เสริม เตมิ แต่ง
ของความคิดท้งั ใหม่
และเก่าเขา้ ดว้ ยกนั ความคิดให้ดียิง่ ข้ึน

03

ความส

ของกจิ กรรมศ

3

สำคญั

ศลิ ปะสร้างสรรค์

ความสำคญั ของกิจกรรมศิลปะสรา้ งสร

กิจกรรมศลิ ปะสร้างสรรค์เปน็ กจิ กรรมที่ชว่ ยใหเ้ ด็กได้
แสดงออก ในสิ่งทีเ่ ด็กทำเห็น รสู้ ึก และคดิ ผ่านงานศิลปะ
และให้โอกาสเด็กสำรวจ ทดลอง แสดงความคดิ ความร้สู ึก
ประสบการณ์ด้านศิลปะ เปน็ การช่วยส่งเสรมิ พัฒนาการให้เดก็
ท้งั ดา้ นรา่ งกาย อารมณ-์ จติ ใจ สังคม และสติปญั ญา เชน่
เดก็ สามารถเรียนร้กู ารควบคุมอารมณ์ เรียนรู้การพูดส่อื ความ
หมายใหผ้ อู้ น่ื เขา้ ใจ เรยี นรู้ในการทำกจิ กรรมกลุ่มเรยี นรู้
การแบ่งปนั และการเป็นผู้นำผตู้ าม

รรค์

04

ประโ

ของกิจกรรมศ

4

โยชน์

ศิลปะสรา้ งสรรค์

ความสำคญั ของกจิ กรร

2. ด้านรา่ ง

1. ด้านสติปัญญา

4. ด้านสงั คม

รมศลิ ปะสร้างสรรค์

งกาย
3. ด้านการรบั รู้

5. ด้านสุนทรยี ะ

ประโยชน์ของกจิ กร

สรุปได้ว่า

ประโยชนข์ องการจัดกิจกรรมศลิ ปะ ช่วยเส
ดา้ นร่างกาย ชว่ ยพัฒนากลา้ มเนือ้ มือให้แข็งแรง
อารมณ์-จิตใจ ชว่ ยใหเ้ กิดความพอใจ สนกุ สน
ตงึ เครียดทางอารมณ์ รจู้ กั ชืน่ ชมและมีทัศนคตทิ
ดา้ นสงั คม ชว่ ยฝกึ นสิ ยั การทำงาน รจู้ กั รับผิดชอ
มือ มีความเอื้อเฟื้อเผอ่ื แผ่ มีนำ้ ใจชว่ ยเหลอื การ
ดา้ นสติปัญญา ชว่ ยให้เด็กร้จู กั สำรวจ ค้นควา้ ท
ผลสะทอ้ นจากการทำงานศิลปะทำใหท้ ราบถึงก

รรมศลิ ปะสร้างสรรค์

สริมสรา้ งพัฒนาการทัง้ 4 ด้าน ใหแ้ กเ่ ด็ก เช่น
ง ฝึกประสานสัมพันธ์ระหวา่ งมือกับตา
นานในขณะท่ีเดก็ ทำกิจกรรม ลดความ
ทีด่ ีต่อสง่ิ ต่าง ๆ
อบ การทำงานเปน็ กลมุ่ ชว่ ยให้เรยี นรคู้ วามรว่ ม
รแบ่งปัน การไม่เหน็ แกต่ วั
ทดลอง มีความคิดรเิ ริม่ ทีจ่ ะสรา้ งสรรคส์ ่ิงใหม่ ๆ
การเจริญเตบิ โตของเด็กได้

05 ป
ของก

ประเภท
กิจกรรมศลิ ปะสร้างสรรค์

ประเภทของกิจกรรม

บศุ รินทร์ สริ ปิ ัญญาธร (2545 :17
สำหรับเดก็ ลักษณะของการจัดกิจกรร

การวาดภาพ และระบายสี 01

1. การวาดภาพดว้ ยสีเทยี นหรอื สีไม้
2. การวาดภาพดว้ ยสีน้ำ เชน่ พูก่ ัน ฟองนำ้
3. การละเลงสดี ้วยนิ้วมอื

การพิมพ์ภาพ 03

1. การพิมพ์ภาพดว้ ยส่วนต่างๆ ของร่างกาย
2. การพิมพ์ภาพด้วยวัสดุ พชื ผกั ตา่ งๆ

มศิลปะสรา้ งสรรค์

7 – 19) กล่าววา่ การเรยี นการสอนศลิ ปะ
รมตอ้ งมคี วามหลากหลาย ดังนี้

การการเล่นกบั สนี ำ้

02 1. การเป่าสี
2. การหยดสี
3. การเทสี

การปัน้

04 เชน่ ดนิ เหนยี ว ดนิ น้ำมนั
แป้งโด ฯลฯ

ประเภทของกจิ กรร

การพับ ฉีก ตดั ปะ

1. การพับอย่างงา่ ย 05
2. การฉีกปะ
3. การตัดปะ

รมศลิ ปะสร้างสรรค์

การประดษิ ฐ์

06 1. ประดิษฐจ์ ากเศษวสั ดตุ า่ งๆ

2. การรอ้ ย เช่น ลกู ปัด
หลอดกาแฟ หลอดดา้ ย ฯลฯ

0

บทบาท

ในการจดั กิจกรรม


Click to View FlipBook Version