ประวัติศาสตร์ยุคกลางใหม่ ❖สมัยอะซุจิโมะโมะยะมะ (安土桃山:あづちももやま) ❖สมัยเอะโดะ (江戸:えど)
สมัยอะซุจิ-โมะโมะยะมะ (安土桃山:あづちももやま) ค.ศ. 1573 – ค.ศ. 1603 ที่มา: https://www.saengdao.com/product-category/biography/ หนังสือชีวประวัติ (ภาษาไทย) มีจา หน่ายทางเวบ ็ไซต ์ 3 ขุนพลสามารถปราบปรามไดเมียวในแคว้นต่าง ๆ ได้ และรวบรวมญี่ปุ่นเป็นปึกแผ่นได้ส าเร็จ
สมัยอะซุจิ-โมะโมะยะมะ (安土桃山:あづちももやま) ค.ศ. 1573 – ค.ศ. 1603 Oda Nobunaga (織田信長:おだのぶなが) แม้โอดะ โนบุนางะ ถูกกล่าวถึงว่าเป็นซามูไรที่โหดเหี้ยมบ้าสงคราม แต่ปฏิเสธไม่ได้ว่าเขา คือ ผู้น าหัวก้าวหน้าที่สุดใน ยุคสมัยเซ็นโกคุ จากนิสัยชอบคิดนอกคอกนอกกรอบจนเคยถูกดูแคลนเป็น เจ้าโง่แห่งแคว้นโอวาริ(จุดศูนย์กลางอยู่ที่ปราสาทนาโงยะ ท าให้ในบางครั้ง แคว้นโอวาริมักจะถูกเรียกว่า แคว้นนาโงยะ=เพี้ยนเจ้านาโง่ยะ) แต่นั่นกลับเป็นหนทางให้เขาพร้อมเปิดใจรับสิ่งใหม่จากโลก ภายนอกซึ่งเป็นปัจจัยส าคัญหนึ่งส าหรับก้าวสู่ความเป็นใหญ่เหนือแคว้น ใด ๆ
สมัยอะซุจิ-โมะโมะยะมะ (安土桃山:あづちももやま) ค.ศ. 1573 – ค.ศ. 1603 Toyotomi Hideyoshi (豊臣秀吉:とよとみひでよし) รับช่วงอ านาจต่อจาก Oda Nobunaga โทโยโทมิ ฮิเดโยชิ แม้ว่าเขาจะมีพื้นเพมาจากชาวนายากไร้ แต่ก็อาศัยความมุ่งมั่นและไหวพริบ จนผงาดเป็นหนึ่งในสาม จอมคนแห่งยุคเซ็นโกคุ ที่สามารถแสนยานุภาพออกไปไกลถึง จีนและเกาหลี แม้แต่โอดะ โนบุนางะ ก็ยังท าไม่ส าเร็จ
สมัยอะซุจิ-โมะโมะยะมะ (安土桃山:あづちももやま) ค.ศ. 1573 – ค.ศ. 1603 Tokugawa Ieyasu (徳川家康:とくがわいえやす) รวบรวมญี่ปุ่นให้เป็นปึกแผ่นมากขึ้นอีกต่อจากยุคของ Toyotomi Hideyoshi โทคุกะวะ อิเอยาสึ เป็นทายาทเจ้าเมืองเล็ก เดิมต้องใช้ชีวิตใน ฐานะตัวประกัน ไม่สามารถมีอิสระของตนเอง แม้ขึ้นเป็นไดเมียว แต่ก็ถูกรายรอบ ไปด้วยแคว้นใหญ่ เค้าจ าเป็นต้องพึ่งอ านาจของผู้ยิ่งใหญ่เพื่อให้อยู่รอด แล้วค่อยๆ เรียนรู้ พัฒนา ด้านการทหารและการเมือง พัฒนาตนเองและเหล่าบริวาร ท าให้ คนของอิเอยาสึมีความสามารถสูงขึ้นเรื่อย ๆ ในทุกรุ่น แล้วร่วมมือกันสร้างความ ยิ่งใหญ่ จนขึ้นปกครองประเทศได้ในที่สุด ชื่อยุคอะซึจิ-โมะโมะยามะ มาจากชื่อบริเวณที่ตั้งของปราสาท 2 แห่งที่เป็นศูนย์กลางการปกครอง คือ ปราสาทในอะซึจิของโอดะ โนบุนางะ (織田信長=おだのぶなが) ปราสาทฟุชิมิ ในโมะโมะยามะของ โทโยโทมิ ฮิเดะโยชิ(豊臣秀吉=とよとみひでよし)
โอดะ โนบุนางะเป็นขุนศึกซามูไรที่มีชื่อเสียง ซึ่งครั้งหนึ่งเคยใช้จังหวัดกิฟุเป็นฐานที่มั่นของเขาในระหว่างการ รณรงค์เพื่อรวมญี่ปุ่นในยุคสงครามระหว่างรัฐ (ค.ศ. 1232-1603) ในช่วงเวลาที่เขาอยู่ที่นี่ เขาได้ให้ชื่อ ปัจจุบันแก่จังหวัดกิฟุ และมีส่วนอย่างมากในการพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่นและความเจริญรุ่งเรืองด้วยการน า นโยบายการค้าเสรีชาวกิฟุนับถือเขามากจนสร้างรูปปั้นของเขาไว้นอกสถานี JR กิฟุ และจัดเทศกาลเพื่อเป็น เกียรติแก่เขาทุกฤดูใบไม้ร่วง (เทศกาลมิโนะทะเคฮะนะและเทศกาลฟุจิจัดขึ้นทุกเดือนพฤษภาคมใน อ าเภอฮะชิมะ จังหวัดกิฟุ)
สมัยเอะโดะ (江戸:えど) ค.ศ. 1603 – ค.ศ. 1868 Tokugawa Ieyasu ขึ้นเป็นโชกุน ตั้งรัฐบาลทหารขึ้นที่เมืองเอะโดะ (กรุงโตเกียวในปัจจุบัน) ยุคนี้ญี่ปุ่นปิดประเทศโดยสิ้นเชิง เป็นเวลากว่า 200 ปีเนื่องจากรัฐบาลเกรงว่าศาสนาคริสต์จะท าให้ประชาชนแข็งข้อกับรัฐบาล เพราะ ศาสนาคริสต์มีแนวคิด ขัดแย้งกับระบบชนชั้น เป็นยุคที่สร้างแบบแผนแทบจะทุกแง่มุมของวิถีชีวิตของญี่ปุ่น โดยเฉพาะโครงสร้างสังคมและการเมืองให้เป็นแบบอย่างตลอดกว่า 200 ปี พัฒนาคมนาคม กระตุ้นเศรษฐกิจและการค้า เกิดวัฒนธรรมพ่อค้า
10 สมัยเอะโดะ (江戸:えど) ค.ศ. 1603 – ค.ศ. 1868 ที่มา: https://www.ac-illust.com/main/detail.php?id=, https://www.irasutoya.com/2017/08/blog-post_16.html, https://publicdomainq.net/merchant-money-rich-0012396/, https://www.library.metro.tokyo.jp/portals/0/edo/tokyo_library/kabuki/index.html, https://jp.japanese-finearts.com/item/list2/A1-92-499/Yoshiiku/Yakusha-e
มีการแบ่งชนชั้นทางสังคม แบ่งออกเป็น ชิ โน โค โช (士 農 工 商 = し のう こう しょう) ได้แก่ ชนชั้นนักรบ ชาวนา ช่างฝีมือ (ช่างไม้ ) พ่อค้า นอกจากนี้ยังมีกลุ่มคนชั้นต่ า คือ เอตะ (ผู้ที่ท าอาชีพที่เกี่ยวข้องกับความตาย เช่น คนท า เครื่องหนัง เพชฌฆาต คนก าจัดศพ) และฮินิน (เช่น ขอทาน นักโทษ) สถานภาพของพ่อค้าต่ าที่สุดในสังคม แต่เนื่องจากอ านาจทางเศรษฐกิจ ท าให้พ่อค้าเป็นผู้มี อิทธิพลในสังคมไม่น้อยกว่าซามูไร ระหว่างปิดประเทศ แม้จะปิดประเทศ แต่ก็มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจภายในประเทศ โดยมีศูนย์กลางอยู่ 3 เมืองใหญ่ ได้แก่ เอโดะ โอซาก้า (ครัวของประเทศ) และเกียวโต (เมืองที่จักรพรรดิประทับ) เป็นยุคที่การศึกษาและวิชาการเจริญรุ่งเรืองมาก ด้านวัฒนธรรม เน้นบทบาทของชาวเมือง ตัวอย่างเช่น 1.ละครคาบุกิและละครหุ่นโจรุริ 2.ไฮคุ (俳句=はいく) 3.วรรณกรรมอุกิโยะโซชิ(浮世草子=うきよぞうし) 4.ภาพอุกิโยะ (浮世絵=うきよえ) 5.การพิมพ์
เปิดประเทศ ด้วยแสนยานุภาพของกองเรือด าสหรัฐอเมริกา น าโดยนายพลเพอร์รี่เข้ามาที่อ่าวเอโดะ ท าให้ในค.ศ.1853 รัฐบาลจึงต้องเปิดประเทศและท าสนธิสัญญาคานากะวะ ต่อมาก็ท าสนธิสัญญาทางการค้า เช่นเดียวกับประเทศอื่น ๆ ท าให้เกิดการวิพากษ์วิจารณ์ เรื่องความอ่อนแอของรัฐบาลโดยกลุ่มนักรบและขุนนางที่ต่อต้านรัฐบาล จนรัฐบาล ต้องปราบปราม ท าให้มีการต่อต้านรัฐบาลมากขึ้น อีกทั้งการเปิดประเทศยังท าให้ต้องส่งออกสินค้า มากท าให้สินค้าภายในประเทศขาดแคลนและราคาแพงขึ้น สินค้าน าเข้าถูกกว่า ส่งผล กระทบต่อผู้ผลิต เกิดความรู้สึกต่อต้านรัฐบาลในหมู่ประชาชน น าไปสู่ขบวนการต่อต้าน รัฐบาลภายใต้แนวคิด “เทิดทูนจักรพรรดิ ขับไล่ต่างชาติ” จน โทคุกาวะ โยชิโนบุ (徳 川慶喜=とよがわよしのぶ) ต้องยอมคืนอ านาจให้จักรพรรดิ สิ้นสุดรัฐบาลโทคุกาวะ
สมัยใหม่ ❖สมัยเมจิ (明治:めいじ) ❖สมัยไทโช (大正:たいしょう) ❖สมัยโชวะ (昭和:しょうわ)
ยุคสมัยใหม่ (近代:きんだい:kindai) เป็นยุคที่ญี่ปุ่นมีการเปลี่ยนแปลงประเทศให้ทันสมัยทัดเทียมกับ ชาติตะวันตก แบ่งเป็น สมัยเมจิ (ค.ศ.1868-1912) สมัยไทโช (ค.ศ.1912-1926) และ สมัยโชวะ (ก่อนสิ้นสุดสงครามโลก ครั้งที่ 2 / ค.ศ.1926- 1945=พ.ศ.2469-2488)
สมัยเมจิ (明治:めいじ) ค.ศ. 1868 – ค.ศ. 1912 (พ.ศ.2411-2455) ตั้งแต่สมัยเมจิเป็นต้นมา มีการตั้งชื่อสมัยโดยคัดเลือกค าที่สื่อความหมายมงคล จากวรรณกรรมโบราณ หมายถึง การรู้แจ้ง ตื่นรู้ อ านาจอธิปไตยทั้งปวงกลับคืนสู่พระจักรพรรดิเมจิ เน้นนโยบาย 3 ประการ ร่ ารวยเข้มแข็ง / สร้างเสริมอุตสาหกรรม / อารย ธรรมสมัยใหม่ (ตะวันตก) เกิดการปฏิรูปเมจิ (明治維新=めいじいしん) ซึ่งเป็นการปฏิรูปสังคมวัฒนธรรม เพื่อเข้าสู่สังคมสมัยใหม่ ให้ทัดเทียมกับ ชาติตะวันตก พัฒนาสถาบันทางการเมืองและการปกครองแบบใหม่ เปลี่ยนชื่อเมืองเอะโดะ เป็นโตเกียว ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ ตั้งคณะรัฐมนตรี และสถาบันนิติบัญญัติ ระบบสองสภา ออกพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ “คนญี่ปุ่นทุกคนต้อง อ่านออกเขียนได้” ก าหนดการศึกษาภาคบังคับไว้ 4 ปี และเพิ่มเป็น 6 และ 9 ปีภายหลัง
สมัยเมจิ (明治:めいじ) ค.ศ. 1868 – ค.ศ. 1912 มีการส่งนักศึกษาไปศึกษาที่ประเทศต่าง ๆ จ้างครูและผู้เชี่ยวชาญชาวต่างประเทศ เข้ามาสอนในญี่ปุ่น ตั้งหน่วยงานแปลหนังสือวิชาการภาษาต่าง ๆ เป็นภาษาญี่ปุ่น ยกเลิกการแบ่งชนชั้นแบบศักดินา รับวัฒนธรรมแต่งกายแบบตะวันตก บริโภค อาหารตะวันตก เช่น เนื้อวัว นม ขนมปัง เบียร์ เกิดค่านิยมว่า วัฒนธรรมชั้นสูงของ ผู้ดีญี่ปุ่น คือ รู้จักมารยาทต่าง ๆ แบบตะวันตก และเข้าสังคมกับชาวตะวันตกได้ เกิดการพัฒนาด้านต่าง ๆ เกษตรกรรม อุตสาหกรรมเบาและอุตสาหกรรมหนัก ระบบไปรษณีย์ ระบบหน่วยเงิน ใหม่ ระบบรถไฟ ระบบขนส่งทางเรือ โทรเลข ระบบเก็บภาษีที่ดินใหม่ ตั้งธนาคาร เอกชนทั่วประเทศ ตั้งธนาคารเเห่งชาติ เกิดศิลปะ 2 กระแส คือ ศิลปะแบบญี่ปุ่น และศิลปะแบบตะวันตก
สมัยไทโช (大正:たいしょう) ค.ศ. 1912 – ค.ศ. 1926 (พ.ศ.2455 - 2469) ชื่อสมัย “ไทโช” มาจากการตั้งชื่อสมัยโดยคัดเลือกค าที่สื่อความหมายมงคลจากวรรณกรรมโบราณ เช่นเดียวกับสมัยเมจิ หมายถึง ความถูกต้องเที่ยงธรรมอันยิ่งใหญ่ ความกลมเกลียวและรุ่งเรือง ญี่ปุ่นได้เข้าร่วมสงครามโลก ครั้งที่ 1 (1914-1918) เนื่องจากได้ท าสัญญาเป็นพันธมิตรกับอังกฤษไว้เมื่อปี 1902 หลังสงครามโลก ครั้งที่ 1 สิ้นสุดลงในปี 1918 ญี่ปุ่นก็ได้รับการยอมรับว่าเป็นหนึ่งในประเทศมหาอ านาจของโลก
สมัยโชวะ (昭和:しょうわ) ค.ศ. 1926 – ค.ศ. 1989 (ก่อนสิ้นสุดสงครามโลก ครั้งที่ 2) (พ.ศ.2469 – 2532) ที่มา: https://ja.wikipedia.org/wiki/, https://jp.123rf.com/photo, http://gahag.net/002539-hiroshima-atomic-bomb/
ชื่อสมัย “โชวะ” มาจากการตั้งชื่อสมัยโดยคัดเลือกค าที่สื่อความหมายมงคลจากวรรณกรรมโบราณ เมจิ หมายถึง การรู้แจ้ง ตื่นรู้ ความส าเร็จในการปฏิรูปประเทศในด้านต่าง ๆ ท าให้ญี่ปุ่นกลายเป็นประเทศจักรวรรดินิยมที่มีความรู้สึก ชาตินิยมสูงมาก ความเจริญก้าวหน้าทางอุตสาหกรรม เศรษฐกิจ และการทหาร ประกอบกับความ เชื่อมั่นในพรรคการเมืองของประชาชนลดลงเนื่องจากเรื่องอื้อฉาวของนักการเมือง และภาวะเศรษฐกิจตกต่ าทั่วโลก ท าให้ญี่ปุ่นตัดสินใจเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) เหตุการณ์ส าคัญ ตั้งแต่ ค.ศ.1929 เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ าทั่วโลก (The Great Depression) ค.ศ.1931 ญี่ปุ่นยึดครองแมนจูเรีย ค.ศ.1939 เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 (第二次世界大戦=だいにじせかいせん) ญี่ปุ่นก็ได้เข้า ร่วมกับฝ่ายอักษะ ค.ศ.1941 เกิดสงครามมหาเอเชียบูรพา 6 สิงหาคม ค.ศ.1945 สหรัฐอเมริกาทิ้งระเบิดปรมาณูที่ฮิโรชิม่า 9 สิงหาคม ค.ศ.1945 สหรัฐอเมริกาทิ้งระเบิดปรมาณูที่นางาซากิ 15 สิงหาคม ค.ศ.1945 ญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้
ฝ่ายอักษะ (อังกฤษ : เยอรมัน : อิตาลี: ญี่ปุ่น) เดิมมีชื่อว่า อักษะ โรม–เบอร์ลิน (Rome–Berlin Axis) เป็นพันธมิตรทางทหารที่ริเริ่ม สงครามโลกครั้งที่สองและสู้รบกับฝ่ายสัมพันธมิตร สมาชิกหลักคือ นาซีเยอรมนีราชอาณาจักรอิตาลีและจักรวรรดิญี่ปุ่น ฝ่ายอักษะเป็นการ ร่วมมือกันเพื่อต่อต้านฝ่ายสัมพันธมิตร แต่กลับขาดการประสานงานและความสอดคล้องทางอุดมการณ์ที่พอเทียบกันได้ ฝ่ายอักษะเติบโตจากความพยายามทางการทูตอย่างต่อเนื่องของเยอรมนี อิตาลี และญี่ปุ่น เพื่อรักษาผลประโยชน์ของตนเองโดยเฉพาะในช่วง กลางปี ค.ศ. 1930 ขั้นตอนแรกคือ พิธีสารที่ลงนามโดยเยอรมนีและอิตาลีในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1936 ภายหลังจากผู้น าอิตาลีเบนิโต มุสโสลินี ได้ประกาศว่า ประเทศอื่น ๆ ในยุโรปทั้งหมดจะถูกหมุนเวียนกันบนอักษะ โรม-เบอร์ลิน ดังนั้นจึงสร้างค าว่า "อักษะ" ขึ้นมาต่อมาในเดือน พฤศจิกายนได้แสดงให้เห็นถึงการให้สัตยาบันต่อกติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์น ซึ่งเป็นสนธิสัญญาต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ระหว่างเยอรมนีและ ญี่ปุ่น อิตาลีได้เข้าร่วมกติสัญญาใน ค.ศ. 1937 ตามมาด้วยฮังการีและสเปนใน ค.ศ. 1939 "อักษะ โรม-เบอร์ลิน" กลายเป็นพันธมิตรทางทหารใน ค.ศ. 1939 ภายใต้สิ่งที่เรียกกันว่า "กติกาสัญญาเหล็ก" พร้อมด้วยกติกาสัญญาไตรภาคีค.ศ. 1940 ได้รวมเป้าหมายทางการทหารของเยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น และประเทศอื่น ๆ ที่ตามมาในภายหลัง กติกาสัญญาทั้งสามถือเป็นรากฐานของพันธมิตรฝ่ายอักษะ ณ จุดสูงสุดใน ค.ศ. 1942 ฝ่ายอักษะมีอ านาจเหนือพื้นที่ส่วนใหญ่ของยุโรป แอฟริกาเหนือ เอเชียตะวันออก ไม่ว่าจะด้วยการยึดครอง การผนวกรวม หรือรัฐหุ่นเชิด ในทาง ตรงกันข้ามกับฝ่ายสัมพันธมิตร[6] ไม่มีการจัดงานประชุมสุดยอดสามทาง และความร่วมมือและประสานงานนั้นมีน้อย ในบางโอกาส ผลประโยชน์ ของฝ่ายอักษะที่ส าคัญยังคงแตกต่างกันอีกด้วย สงครามได้สิ้นสุดลงใน ค.ศ. 1945 ด้วยความปราชัยของฝ่ายอักษะและการล่มสลายของพันธมิตร ของพวกเขา ในกรณีของพันธมิตร สมาชิกในฝ่ายอักษะนั้นสามารถที่จะแปรเปลี่ยนได้โดยง่าย โดยบางประเทศได้ท าการเปลี่ยนข้างฝ่ายหรือ เปลี่ยนระดับของการมีส่วนร่วมทางทหารตลอดในช่วงสงคราม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุโรป การใช้ค าว่า "ฝ่ายอักษะ" จะกล่าวถึงพันธมิตรระหว่าง อิตาลีและเยอรมนีเป็นหลัก แม้ว่าภายนอกยุโรปจะเข้าใจโดยทั่วไปว่าได้รวมถึงญี่ปุ่นด้วย
สมัยปัจจุบัน ❖สมัยโชวะ (หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2) ❖สมัยเฮเซ (平成:へいせい) ❖สมัยเรวะ (令和:れいわ)
สมัยโชวะ (หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2) (ค.ศ.1945-1989=พ.ศ.2488-2532) ที่มา: https://www.pinterest.com/pin/410320216041419511/, https://www.pinterest.dk/pin/550142910723050145/ สมัยโชวะ (หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2) ญี่ปุ่นถูกยึดครองโดยฝ่ายสัมพันธมิตร GHQ ตั้งแต่ปี ค.ศ.1945-1951 ภายใต้การน าของนายพลดักลาส แม็กอาเธอร์ มีการปฏิรูปการเมือง เป็นประชาธิปไตยแบบตะวันตก สังคมและเศรษฐกิจ
ด้านการเมือง 1.ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ 3 พฤศจิกายน 1946 โดยยึดหลัก 3 ประการ 1. อ านาจอธิปไตยเป็นของประชาชน 2. ญี่ปุ่นจะไม่ก่อสงครามอีก (มีแต่กองก าลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น) 3. เคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน จักรพรรดิจะเป็นเพียงสัญลักษณ์ของประเทศ ไม่ยุ่งเกี่ยวกับการเมือง ด้านเศรษฐกิจ สหรัฐอเมริกาได้ให้เงินช่วยเหลือญี่ปุ่นในการฟื้นฟูเศรษฐกิจในระยะแรก ด าเนินการ ปฏิรูปที่ดินเพื่อให้ชาวนามีที่ดินท ากินของตัวเองและจัดตั้งสหภาพแรงงาน ระหว่างที่ถูกยึดครอง เกิดสงครามเกาหลีขึ้น (25 มิถุนายน 1950 – 27 กรกฎาคม 1953) สหรัฐอเมริกาได้ใช้ญี่ปุ่นเป็นฐานทัพ ท าให้มีความต้องการสินค้ามาก ญี่ปุ่น จึงสามารถส่งออกและพัฒนาอุตสาหกรรม ท าให้ญี่ปุ่นสามารถฟื้นตัวได้อีกครั้ง ช่วงทศวรรษ 1960 เป็นยุคเศรษฐกิจเติบโตอย่างรวดเร็ว ค.ศ.1964 จัดโอลิมปิกและสร้างชินคังเซน ค.ศ.1970 จัดงานเอ็กซ์โปร์ ที่โอซาก้า ในที่สุดญี่ปุ่นก็ได้ก้าวขึ้นมาเป็นหนึ่งในมหาอ านาจทางเศรษฐกิจ
สมัยเฮเซ (平成:へいせい) (ค.ศ.1989-2019 =พ.ศ.2532-2562) ที่มา: https://www.hitachi-systems-ns.co.jp/column/115.htm, https://pixta.jp/illustration/13525572l 白黒テレビ しろくろテレビ 洗濯機 せんたくき 冷蔵庫 れいぞうこ カラーテレビ カー じかようしゃ クーラー デジカメ 薄型テレビ うすがたデレビ DVD レコーダー 平成「へいせい」 新・三種の神器 しん・さんしゅのじんぎ 1960年代 商度成長期 しょうどせいちょうき 1950年代
สมัยเฮเซ (平成:へいせい) (ค.ศ.1989-2019) ค าว่า “เฮเซ” หมายถึง สันติภาพทั้งในโลกและบนสวรรค์ ทั้งในประเทศญี่ปุ่นและต่างประเทศ (จากบันทึก ประวัติศาสตร์โบราณ) เจ้าชายอะกิฮิโตะได้ขึ้นครองเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 125 ของประเทศญี่ปุ่น ค.ศ. 1990 ทรงเป็นสัญลักษณ์ของจักรพรรดิสมัยใหม่ ด้านสังคม ชีวิตของคนญี่ปุ่นสะดวกสบายมากขึ้น เพราะมีเครื่องใช้ไฟฟ้า เรียกได้ว่าเป็น ซังชุโนะจินกิ (三種の神 器:さんしゅのじんぎ: Sanshunoshinki) หรือศักดิ์สิทธิ์ 3 อย่างของเทพเจ้า ได้แก่ เครื่องซักผ้า ตู้เย็น โทรทัศน์ขาวด า ได้แพร่หลายออกไป ในทศวรรษ1970 ได้มีสิ่งที่เรียกว่า 3C ได้แก่ รถยนต์ เครื่องปรับอากาศ โทรทัศน์สี มีใช้กันอย่างแพร่หลาย ทุกครัวเรือน ในทศวรรษ 1980 เตาไมโครเวฟ มีใช้อย่างแพร่หลาย ทศวรรษ 1990 คอมพิวเตอร์และโทรศัพท์ กลายเป็นสิ่งจ าเป็น แต่ใน ค.ศ.1991 ญี่ปุ่นประสบสภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ ส่งผลต่อเศรษฐกิจของญี่ปุ่นเป็นอย่างมาก
ที่มา: https://thematter.co/q uick-bite/heisei-japantimeline/76200
❖สมัยเรวะ (令和:れいわ) (ค.ศ.2019-ปัจจุบัน =พ.ศ.2562-ปัจจุบัน) ที่มา: https://www.pinterest.com/pin/73887250123842337/ หลังจากที่สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะทรงสละราชสมบัติ ในวันที่ 30 เมษายน 2019 ถือเป็นการสิ้นสุดศักราชเฮ เซที่ 31 อย่างเป็นทางการ และก้าวสู่ยุคเรวะ (เรวะที่ 1) ในวันที่ 1 พฤษภาคม 2019 เมื่อเจ้าชายนารุฮิโตะ มกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่น ทรงขึ้นครองราชย์ เป็น จักรพรรดิองค์ที่ 126 ของญี่ปุ่น เรวะ เป็นค าที่คัดเลือกค ามาจากหนังสือรวมบทกวีที่เก่าแก่ที่สุดของญี่ปุ่น นั่นคือ มันโยชู ในบทกวีดอกบ๊วย โฆษิต ทิพย์เทียมพงษ์ https://mgronline.com/japan/detail/9620000033195 ศาสตราจารย์ ดร.อรรถยา สุวรรณระดา อาจารย์ผู้เชี่ยวชาญด้านวรรณคดีและประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้อธิบายความหมายของค าว่าเรวะไว้ว่า ค าว่า ‘เร’ (令) โดยทั่วไปแล้วหมายถึง ‘ดีงาม เลิศล้ า’ ส่วนค าว่า วะ (和) โดยทั่วไปจะใช้สื่อความหมาย ‘ความปรองดอง’ และยังอาจสื่อถึงชื่อประเทศญี่ปุ่นในสมัยโบราณ หรือ ‘ยามาโตะ’ อีกด้วย https://thestandard.co/reiwa-era/
นักเรียนน าเสนอผลงาน • จับกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน • หาเหตุการณ์ส าคัญในยุคสมัยเฮเซ (ยุคสมัยที่นักเรียนเกิด) • น าเสนอหน้าชั้นเรียน 5-7 นาที