The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นวัตกรรมนิทานภาษามหาสนุก(ภาษาถิ่น)"การมาของนิดา" ผู้แต่ง นางสาวชนิดา กรรมโชติ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chanidadreammii, 2023-08-15 11:23:33

คู่มือการใช้สื่อนวัตกรรม

นวัตกรรมนิทานภาษามหาสนุก(ภาษาถิ่น)"การมาของนิดา" ผู้แต่ง นางสาวชนิดา กรรมโชติ

นิท นิ านภาษามหาสนุก นุ คู่มือการใช้สื่อ/นวัตกรรม นางสาวชนิดา กรรมโชติ (ภาษาถิ่นถิ่ ) "การมาของจิ๊บจิ๊ "


คำ นำ คู่มือการใช้นวัตกรรมเล่มนี้ จัดทำ ขึ้นเพื่อเป็น แนวทาง การใช้หนังสือนิทาน ได้อย่างถูกวิธีและสร้างสรรค์ อีกทั้ง ยังส่งเสริมและฝึกทักษะภาษา การฝัง การพูด อ่าน เขียน สนทนาโด้ตอบ เล่าเป็นเรื่องราว พูดแสดงความคิด เห์น และส่งเสริมพัฒนาการทางต้านอารมณ์ คุณธรรม จริยธรรม ให้แก่เด็กในช่วงอายุ 9-11 ปี โดยภายใน คู่มือ ประกอบไปถ้วย ชื่อนวัตกรรม วิธีการใช้นวัตกรรม ประโยซน์ในการใช้นวัตกรรม และวิธีเก็บรักษานวัตกรรม ทางผู้จัดทำ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือการใช้นวัตกรรม เล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่าน นักเรียน หรือผู้ที่สนใจ เกี่ยวกับนวัตกรรมนิทานเรื่อง "การมาของจิ๊บ" เพื่อนำ ไปจัด กิจกรรมช่วยส่งเสริมฝึกทักษะทางภาษาถิ่น หากมีข้อผิลพลาด ประการใค ผู้จัดทำ ขอน้อมรับและขออภัยมา ณ ที่นี้ตัวย ผู้จัดทำ ก


ข สารบัญ เรื่อง หน้า คำ นำ ก สารบัญ ข ที่มาและความสำ คัญของนวัตกรรม 1 ชื่อนวัตกรรม 2 รายละเอียดนวัตกรรม 3 วัตถุประสงค์ 4 วิธีการใช้นวัตกรรม 5 วิธีการเก็บรักษานวัตกรรม 9 ประโยชน์ของนวัตกรรม 10


1 ที่มาและความสำ คัญ พัฒนาการที่สำ คัญด้านหนึ่งของเด็กที่ควรได้รับการ ส่งเสริม คือ ภาษา เพราะ เป็นเครื่องมือที่สำ คัญ ในการ ติดต่อสื่อสารระหว่างมนุษย์ การอยู่ร่วมกันในสังคนจำ เป็น ต้องใช้ภาษาในการสื่อสาร เพื่อถ่ายทอดความคิดเห็น ความรู้สึก เจตคคิ ตลอดจนประสบการณ์ให้ผู้อื่นเข้าใจ ซึ่งจะทำ ให้ มนุษย์ สามารถดำ รงชีวิตในสังคมได้อย่าง ราบรื่น นอกเหนือจากพัฒนาการทางภาษาที่จะทำ ให้เด็กได้ เรียนรู้การดำ รงชีวิตในสังคมแล้ว อีกพัฒนาการหนึ่งที่ สำ คัญนั้นก็คือ พัฒนาการทางด้านอารมณ์ คุณธรรม จริยธรรม ช่วงอายุ 9-11 ปี เป็นช่วงเป็นเวลาที่สำ คัญต่อ การเรียนรู้ด้านภาษา เด็กจะสามารถมาซึมซับประสบการณ์ มากมายผ่านสิ่งที่เป็นรูปธรรมไปสู่นามรรรม นวัตกรรมเป็นสิ่งที่จะช่วยให้เด็กได้รับประสบการณ์ ตรงที่เป็นรูปธรรมมากที่สุด นวัตกรรมจะช่วยทำ ให้สิ่งที่ เป็นนามธรรมที่เด็กเข้าใจยากมาสู่รูปธรรมที่เข้าใจได้ง่าย ขึ้น นวัตกรรมจะช่วยให้เรียนได้อย่างสนุกสนาน เพลิดเพลิน รวดเร็วและจำ ได้แม่นยำ ดังนั้น จึงมีการจัดทำ นวัตกรรมนิทาน เรื่อง การมา ของจิ๊บ เพื่อให้เด็กได้มีสื่อ/นวัตกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการ ทางด้านภาษาที่ควบคู่ไปกับพัฒนาการด้านอารมณ์ คุณธรรม จริยธรรมได้เหมาะสมกับพัฒนาการ เพื่อนำ ไป ใช้ประโยชน์ในการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้เกิด ทักษะ ความเข้าใจ และแรงจูงใจในการเรียนของเด็ก


2 ชื่อนวัตกรรม ภาษามหาสนุก(ภาษาถิ่น)


3 รายละเอียดนวัตกรรม นวัตกรรมเล่มนี้สร้างขึ้นเพื่อใช้ประกอบการ จัดการเรียนรู้ วิชา ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ใน เรื่อง ภาษาถิ่น โดยในเล่มจะประกอบด้วยภาษาถิ่น ทั้ง 4 ภาษา คือ ภาษาถิ่นกลาง ภาษาถิ่นเหนือ ภาษาถิ่นอีสาน และภาษาถิ่นใต้ เรื่องย่อ จิ๊บเทวดาตัวน้อยที่อยู่ภายในใจด้านดี ของนิดาสาวน้อยวัย 9 ปี ออกมาคอยดูพฤติกรรมของนิดา เกิดเหตุการณ์ เรื่องราวต่าง ๆ ทำ ให้นิดาได้พิสูจตัวเองว่า เธอเป็นเด็กดี แม้ว่าทำ ผิดไปก็รู้จักที่จะขอโทษ กลับตัว กลับใจ เพราะไม่อยากให้เพื่อนสนิทอย่างจิ๊บ ต้องเป็น อันตราย


4 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมทักษะทางด้านภาษา การพูด ฝัง อ่าน เขียน ของเด็กวัย 9-11 ปี 2. ส่งเสริมพัฒนาการค้านอารมณ์ คุณธรรม จริยธรรม เรียนรู้อารมณ์ของตนเองและผู้อื่น 3. เพื่อให้เด็กเกิดความคิดสร้างสรรค์จินตนาการ และกล้าแสดงออก 4. เพื่อให้ครูและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการใช้ นวัตกรรม เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเค็ก


5 วิธีการใช้นวัตกรรม การใช้หนังสือนิทาน เรื่อง การมาของจิ๊บ เพื่อฝึก ทักษะ การอ่าน การฟัง การพูด สนทนาโต้ตอบ การพูด แสดงความคิดเห็น และส่งเสริมพัฒนาการทางด้านอารมณ์ คุณธรรมจริยธรรม สำ หรับครูและผู้ปกครอง ใช้กระบวนการ ขั้นตอนดังนี้ 1.ให้ผู้อ่านเริ่มจากซักชวนอภิปรายก่อนอ่าน พูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นที่เกี่ยวข้อง หรือสัมพันธ์กับเรื่องที่ จะให้เด็กอ่าน คือเรื่อง อารมณ์ เช่น ความหมายของ ภาษาถิ่น ความสำ คัญของภาษาถิ่น - เพื่อดึงประสบการณ์เดิมเกี่ยวกับภาษาที่มีอยู่ใน ตัวเด็กมาสนทนา - เพื่อให้เล็กได้เข้าใจความหมาย และนำ สู่การ แนะนำ หนังสือที่จะอ่าน 2. เริ่มสนทนากี่ยวกับภาพ เรื่องที่จะให้เด็กอ่านเริ่ม สนทนาจากปกและเนื้อเรื่องแต่ละหน้า - คุณครูหรือพ่อแม่ปีดหน้านิทานไปแต่ละหนัาตั้ง แต่หนัาปกจบถึงเนื้อเรื่อง เพื่อให้เด็กมีส่วนร่วมในการ สนทนาและคาดเดาเหตุการณ์ในเรื่องตั้งแต่ต้นจนจบ โดยสนทนาโต้ตอบเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเป็นการฝึก สนทนาโต้ตอบระหว่างผู้อ่านและครู


6 วิธีการใช้นวัตกรรม (ต่อ) -ในภาพประกอบ ตัวสะครนิดาและจิ๊บจะมีการ แสดงท่าทางตามอารมณ์ของตัวละครในสถานการณ์ต่างๆ ครูควรจะกระตุ้นให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการสังเกตุท่างทาง ต่างๆ และร่วมตอบคำ ถาม 4. ในเล่มนี้จะมี รู้จักคำ นำ เรื่องเพื่อแนะนำ คำ ภาษา ถิ่นก่อนอ่านนิทานเพื่อให้ผู้อ่านมีอารมณ์ร่วมด้วย โดยใน เนื้อเรื่องจะสอดแทรกภาษาถิ่นต่าง ๆ ซึ่งจะใช้ตัวอักษรสี แดง และมีคำ แปลเป็นอักษรตัวสีเขียวประกอบด้วย 5. หลังจากที่อ่านจบ ร่วมกันแสดงความคิดเห็นจาก เรื่องที่อ่าน เป็นการฝึกการแสดงความคิดเห็นของเด็ก - หลังจากที่เด็กสามารถ อ่านภาพและตัวหนังสือ จน เข้าใจพฤติกรรมของอารมณ์ต่าง ๆ ได้แล้ว ครูควรกระตุ้น ให้เด็กได้แสดงความคิดเห็นต่ออารมณ์ต่าง ๆ ที่ตัวละครมี ว่ามีสาเหตุมาจากอะไร แล้วเด็กเคยรู้สึกแบบ นี้ไหม ถ้าเจอเพื่อนที่รู้สึกแบบนี้มีอารมณ์เช่นนี้ เด็กจะทำ อย่างไร เพื่อเป็นการกระตุ้นให้เด็กนำ อารมณ์ความรู้สึก ของตัวเองออกมาใช้ 6.ในช่วงท้ายของเล่มนิทานจะมี อ่านเพิ่มเติมความรู้ เกี่ยวกับภาษาถิ่น เพื่อให้เด็กเข้าใจมากยิ่งขึ้น พร้อมทั้ง ยกตัวอย่างคำ ไว้บางส่วน อีกทั้งยังมีกิจกรรม 2 กิจกรรม เพื่อวัดผล ประเมินผลตามตัวชี้วัดในเรื่องภาษาถิ่น และ สุดท้ายคือการนำ เสนอหน้าชั้นเรียนร่วมกัน และนำ ไปเผย แพร่ต่อนักเรียนชั้นอื่น ๆ อีกด้วย


7 วิธีการใช้นวัตกรรม (ต่อ) -ในภาพประกอบ ตัวสะครนิดาและจิ๊บจะมีการ แสดงท่าทางตามอารมณ์ของตัวละครในสถานการณ์ต่างๆ ครูควรจะกระตุ้นให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการสังเกตุท่างทาง ต่างๆ และร่วมตอบคำ ถาม 4. ในเล่มนี้จะมี รู้จักคำ นำ เรื่องเพื่อแนะนำ คำ ภาษา ถิ่นก่อนอ่านนิทานเพื่อให้ผู้อ่านมีอารมณ์ร่วมด้วย โดยใน เนื้อเรื่องจะสอดแทรกภาษาถิ่นต่าง ๆ ซึ่งจะใช้ตัวอักษรสี แดง และมีคำ แปลเป็นอักษรตัวสีเขียวประกอบด้วย 5. หลังจากที่อ่านจบ ร่วมกันแสดงความคิดเห็นจาก เรื่องที่อ่าน เป็นการฝึกการแสดงความคิดเห็นของเด็ก - หลังจากที่เด็กสามารถ อ่านภาพและตัวหนังสือ จน เข้าใจพฤติกรรมของอารมณ์ต่าง ๆ ได้แล้ว ครูควรกระตุ้น ให้เด็กได้แสดงความคิดเห็นต่ออารมณ์ต่าง ๆ ที่ตัวละครมี ว่ามีสาเหตุมาจากอะไร แล้วเด็กเคยรู้สึกแบบ นี้ไหม ถ้าเจอเพื่อนที่รู้สึกแบบนี้มีอารมณ์เช่นนี้ เด็กจะทำ อย่างไร เพื่อเป็นการกระตุ้นให้เด็กนำ อารมณ์ความรู้สึก ของตัวเองออกมาใช้ 6.ในช่วงท้ายของเล่มนิทานจะมี อ่านเพิ่มเติมความรู้ เกี่ยวกับภาษาถิ่น เพื่อให้เด็กเข้าใจมากยิ่งขึ้น พร้อมทั้ง ยกตัวอย่างคำ ไว้บางส่วน อีกทั้งยังมีกิจกรรม 2 กิจกรรม เพื่อวัดผล ประเมินผลตามตัวชี้วัดในเรื่องภาษาถิ่น และ สุดท้ายคือการนำ เสนอหน้าชั้นเรียนร่วมกัน และนำ ไปเผย แพร่ต่อนักเรียนชั้นอื่น ๆ อีกด้วย


8 วิธีการใช้นวัตกรรม (ต่อ) สำ หรับเด็กปฐมวัย 1. เด็กสามารถนำ นวัตกรรมหนังสือนิทาน ไปใช้ การฝึกอ่านคำ ฝึกการสะกดออกเสียง ฝึกภาษาถิ่น และการ ฝึกอ่านจากภาพ 2. เด็กสามารถนำ นวัตกรรมหนังสือนิทาน ไปเล่น เป็นกลุ่มร่วมกัน โดยให้เพื่อนช่วยกันจับหนังสือ ช่วยกัน พลิกหน้ากระดาษหนังสือ ช่วยกันอ่านออกเสียง แสดง ความคิดเห็นจากภาพและสถานการณ์ต่าง ๆ วิธีการเก็บรักษาสื่อ .ท์บไว้ในที่ไม่จับชื้น และห้ามตากเดด นราะจะทำ ให้กิด เชื้อราและ สีซีดจางได้ 2.หลีกเลี่ยงการเก็บไว้ที่ใกล้น้ำ เนื่องจากสื่อชุลนี้ทำ จาก กระดาษจะ ทำ ให้ชุดสื่อชำ รุดเสียหายได้ ร.ตรวจสอบสภาพสื่อทุกครั้งหลังใช้เสร็จ * .ซ่อมแซมสื่อที่ชำ รุด และเติมส่วนที่ขาดหายไป


9 วิธีการเก็บรักษาสื่อ 1. เก็บ ก็ ไว้ในที่ไม่ชื้น และห้ามตากเดด เพราะจะทำ ให้ เกิดเชื้อราและสีซีดจางได้ 2. หลีกเลี่ยงการเก็บไว้ที่ใกล้น้ำ เนื่องจากนวัตกรรม ชุดนี้ทำ จากกระดาษจะทำ ให้ชุดสื่อชำ รุดเสียหายได้ 3. ตรวจสอบสภาพนวัตกรรมทุกครั้งหลังใช้เสร็จ * .ซ่อมแซมส่วนที่ชำ รุด และเติมส่วนที่ขาดหายไป


10 ประโยชน์ของนวัตกรรม - การอ่านนิทาน นิทานช่วยให้เด็กมีความเพลิดเพลิน เกิดความสุขมากเมื่อได้อ่านหรือฟังนิทานเข้าใจเกี่ยวกับ อารมณ์ และการควบคุมอารมณ์หรือจัดการกับตัวเองกับ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น -ให้เด็กมีการกล้าแสดงออกกล้าที่จะพูดและเข้าใจสื่อสาร อารมณ์ของตัวเองออกมาได้สอดคล้องกับความรู้สึกของตัว เองผ่านการะเล่าเรื่อง และสนทนา - เด็กได้ฝึกการอ่าน - ฝึกการฟัง เพื่อจับใจความสำ คัญของเรื่องที่ฟัง เพื่อจะ นำ ไปสู่การโต้ตอบพูดคุยเกี่ยวกับนิทาน - เด็กจะได้มีส่วนร่วมพูดคุยแสดงความความคิดเห็นจาก ฟังนิทาน - เด็กเรียนู้วิธีการอ่านที่ถูกต้องจากตัวอย่าง และเรียนรู้ ความหมายเพื่อนำ ไปใช้ในชีวิตประจำ วันได้ -


นิท นิ านภาษามหาสนุก นุ (ภาษาถิ่นถิ่ )


Click to View FlipBook Version